ปัจจัยและวิวัฒนาการ-1 PDF

Summary

เอกสารประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาบัญชี และวิวัฒนาการของบัญชีในต่างประเทศและประเทศไทย รวมถึงสถาบันทางวิชาชีพบัญชี

Full Transcript

1 1. ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อพัฒนาการบัญชี 2. พัฒนาการของการบัญชีในต่างประเทศและสถาบันทางวิชาชีพบัญชีใน ต่างประเทศ 3. พัฒนาการของการบัญชีในประเทศไทยและสถาบันทางวิชาชีพบัญชีใน ประเทศไทย 2  การบัญชีมวี วิ ฒั นาการอย...

1 1. ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อพัฒนาการบัญชี 2. พัฒนาการของการบัญชีในต่างประเทศและสถาบันทางวิชาชีพบัญชีใน ต่างประเทศ 3. พัฒนาการของการบัญชีในประเทศไทยและสถาบันทางวิชาชีพบัญชีใน ประเทศไทย 2  การบัญชีมวี วิ ฒั นาการอย่างต่อเนื่องและยาวนาน โดยมีทศิ ทางที่เข้าใจดีข้นึ ทัง้ ในด้านวิธปี ฏิบตั แิ ละนโยบายการบัญชี 3 1. ระบบเศรษฐกิจ 2. ระบบการเมือง 3. ระบบกฎหมาย 4. ระบบการศึกษา 5. วัฒนธรรม 4  ความสัมพันธ์ระหว่างกิจการกับเจ้าของเงินทุน = เปลีย่ นจากลงทุนคนเดียวมาเป็ นรวมลงทุน ➔ ข้อมูลทางการบัญชีลดความไม่เท่าเทียบระหว่างตัวแทนและตัวการ และแหล่งเงินทุนเป็ น ตัวกาหนดข้อมูลทางการบัญชี  ความผูกพันด้านเศรษฐกิจ = ความใกล้ชดิ ทางด้านภูมศิ าสตร์และด้านเศรษฐกิจ เช่น อาณาเขต ติดกันลักษณะของการบัญชีคล้ายคลึงกันหรือประเทศทีเ่ ป็ นคู่คา้ กันมีการบัญชีทค่ี ล้ายคลึงกัน  ระดับภาวะเงินเฟ้ อ = เสถียรภาพของเศรษฐกิจแต่ละประเทศ ➔ หลักราคาทุนเดิมไม่แสดง ข้อมูลทีต่ รงกับความเป็ นจริง (ใช้ในช่วงทีม่ ภี าวะเงินเฟ้ อรุนแรง)  ขนาดและความซับซ้อนของหน่วยธุรกิจ = ความละเอียดและความซับซ้อนทางการบัญชีของแต่ละ ประเทศ ➔ ระบบการบัญชีถูกกาหนดด้วยความซับซ้อนของหน่วยธุรกิจของประเทศนัน้ 5  ระบบประชาธิปไตย = รัฐบาลมาจากการเลือกตัง้ และสภาผูแ้ ทนออกกฎหมายประชาชนสามารถ ตรวจสอบและแสดงความเห็นเกี่ยวกับการทางานของรัฐบาลได้อย่างอิสระ  ระบบกึ่งประชาธิปไตย = รัฐบาลมาจากการเลือกตัง้ โดยมีหน้าทีบ่ ริหารประเทศและออกกฎหมาย ประชาชนถูกจากัดการแสดงความคิดเห็นในบางเรื่อง  ระบบคณาธิปไตย = บางกลุม่ บริหารประเทศและออกกฎหมาย สภาผูแ้ ทนเป็ นทีป่ รึกษาและออก ความเห็นทีจ่ ากัด รัฐบาลต้องมีผลงาน ประชาชนสามารถล้มล้างรัฐบาลได้  ระบบเผด็จการ = มีเพียงกลุม่ เดียวทีม่ อี านาจ ประชาชนถูกจากัดและกแสดงความเห็นอย่างมาก  ระบบพระมหากษัตริย ์ = พระมหากษัตริยเ์ ป็ นผูบ้ ริหารประเทศและออกกฎหมาย ** ระบบการเมืองเป็ นตัวกาหนดต่อผูท้ ต่ี อ้ งการใช้ขอ้ มูล เช่น ประเทศทีใ่ ช้ระบบประชาธิปไตยจะให้ ข้อมูลต่อผูล้ งทุนเป็ นหลัก 6 ระบบ พระมหากษัตริย ์ ระบบเผด็จการ ระบบคณาธิปไตย ระบบกึ่งประชาธิปไตย ระบบประชาธิปไตย 7  กลุม่ ประเทศทีม่ กี ารบัญชีทเ่ี น้นข้อกาหนดกฎหมาย = กฎหมายแบบประมวลกฎหมายและ กฎหมายแพ่ง ➔ กฎหมายกาหนดจากพฤติกรรมขัน้ ตา่ ของพฤติกรรมทีต่ อ้ งปฏิบตั ิ หลักการบัญชีจะถูกกาหนดเป็ นกฎหมาย การเปลีย่ นแปลงทางการบัญชีตอ้ งใช้เวลาในการ แก้ไข และยุ่งยาก ➔การบัญชีเข้ามามีบทบาทในการกาหนดภาษี  กลุม่ ประเทศทีม่ กี ารบัญชีทไ่ี ม่เน้นข้อกาหนดกฎหมาย = กฎหมายแบบ Common Law (Case Law) ใช้คดีความทีผ่ ่านมาเป็ นบรรทัดฐาน หลักการบัญชีถกู กาหนด โดยผูป้ ระกอบวิชาชีพ การบัญชีสามารถปรับตัวได้งา่ ย ยืดหยุ่น 8  ระบบการศึกษาทางการบัญชีสามารถสร้างนักบัญชีทม่ี คี วามเชี่ยวชาญ โดยระบบการศึกษา ทางการบัญชีแบ่งออกเป็ น 3 ด้าน คือ 1. วิชาการบัญชีทส่ี อนในสถาบันการศึกษา = ตัวกาหนดระดับคุณภาพของนักบัญชี 2. ความรูค้ วามสามารถของอาจารย์ผูส้ อนทางการบัญชี = พัฒนาความสามารถของนักบัญชี 3. สถาบันวิชาชีพทางการบัญชี = ความมังคงของการบั ่ ญชี 9 รูปแบบวัฒนธรรม ลักษณะ - ปัจเจกบุคคล - สมาชิกไม่สมั พันธ์กนั - คณะบุคคล - สมาชิกสัมพันธ์กนั อย่างแนบ แน่น - ยอมรับอานาจทีอ่ ยู่สูงกว่าใน - ใช้การปกครองแบบระดับชัน้ ระดับมาก - ยอมรับอานาจทีอ่ ยู่สูงกว่าใน - ทุกคนเท่าเทียมกัน ระดับตา่ 10 รูปแบบวัฒนธรรม ลักษณะ - ทัศนคติต่อการหลีกเลีย่ ง - ต้องการความมังคงในอนาคต ่ มี เหตุการณ์ทไ่ี ม่แน่นอนในระดับสูง กฎระเบียบมาก - ทัศนคติต่อการหลีกเลีย่ ง - ยอมรับสิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึ้น มี เหตุการณ์ทไ่ี ม่แน่นอนในระดับตา่ กฎระเบียบน้อย - ให้ความสาคัญกับวัตถุ - วัดความสาเร็จจากวัตถุทแ่ี ต่ละ บุคคลมี - ให้ความสาคัญกับจิตใจ - วัดความสาเร็จจากความสัมพันธ์ ภายในสังคม 11 รูปแบบการบัญชี ลักษณะ - แบบควบคุมโดยวิชาชีพ - ให้ความสาคัญกับการใช้ วิจารณญาณของนักบัญชี - แบบควบคุมโดยกฎหมาย - ให้ความสาคัญกับกฎหมายและ ข้อบังคับทีต่ อ้ งปฏิบตั ิ - แบบเดียว - ไม่มที างเลือก นักบัญชีตอ้ งปฏิบตั ิ ตาม - แบบยืดหยุ่น - ให้ทางเลือก นักบัญชีสามารรถ เลือกปฏิบตั ไิ ด้ตามความเหมาะสม ของธุรกิจ 12 รูปแบบการบัญชี ลักษณะ - แบบระมัดระวัง - ใช้หลักความระมัดระวัง (สินทรัพย์ แสดงตา่ หนี้สนิ แสดงสูง) - แบบมองในแง่ดี - วัดมูลค่าด้วยมูลค่าปัจจุบนั - แบบลับ - เปิ ดเผยข้อมูลในวงจากัด เฉพาะ บุคคลใกล ้ชิด - แบบโปร่งใส - เปิ ดเผยข้อมูลในวงกว้าง 13 ลักษณะวัฒนธรรม ลักษณะการบัญชี การควบคุมโดย แบบเดียว ระมัดระวัง ลับ วิชาชีพ - ปัจเจกบุคคล  - คณะบุคคล    - การยอมรับอานาจในระดับมาก   - การยอมรับอานาจในระดับน้อย  - การหลี ก เลี่ ย งเหตุ ก ารณ์ ค วามไม่  แน่นอนสูง - การหลี ก เลี่ ย งเหตุ ก ารณ์ ค วามไม่    แน่นอนต่า - การให้ความสาคัญกับวัตถุ   - การให้ความสาคัญกับจิตใจ   14  3000 ปี ก่อนคริสตกาล ➔ เป็ นยุคทีม่ รี ูปแบบการปกครองโดยรัฐที่ เก่าสุดของโลก และมีการค้นพบการบันทึก ทางธุรกิจทีย่ งั หลงเหลืออยู่  1122-256 ปี ก่อนคริสตกาล ➔ เกิดอารยะธรรมจีน การบัญชีของรัฐมี บทบาทสาคัญและสลับซับซ้อนมากขึ้น  256 ปี ก่อนคริสตกาล ➔ เกิดอารยะธรรมกรีก มีหลักฐานว่า Zenon เป็ นผูน้ าเอาระบบบัญชีมาใช้ และ ในช่วงเวลานี้อารยะธรรมโรมันเข ้ามามีอทิ ธิพล ต่อการบัญชีโดยพบหลักฐานการออก กฎหมายให้ผูเ้ สียภาษีจดั เตรียมเอกสารทางการ เงินของตนเอง 15  ศตวรรษที่ 13 และ 14 ➔ค้นพบหลักฐานการนาระบบเดบิตและเครดิต (ค้นพบปี 1494) เรียกว่า Italian method (การบันทึกบัญชี ตามระบบบัญชีคู่มาใช้) ในหนังสือ Italian book-keeping ผูค้ น้ พบชื่อ Luca Pacioli ชาวอิตาลี  ศตวรรษที่ 16 ➔ มีการเปลีย่ นแปลงในการบันทึกบัญชีคือการเริ่มมีการ บันทึกรายวัน  ศตวรรษที่ 16 และ 17 ➔ มีการเปลีย่ นแปลงช่วงระยะเวลาของการนาเสนองบ การเงิน และมีการใช้ double-entry model มากขึ้น 16  ศตวรรษที่ 17 ➔การบัญชีได้รบ ั การพัฒนามากขึ้นเนื่องจากการ ขยายตัวของร้านค้าและอุตสาหกรรม  ก่อนศตวรรษที่ 19 ➔ มีหลักฐานของการคานวณค่าเสือ่ มราคาวิธตี ่าง ๆ เช่น วิธเี ส้นตรง วิธยี อดลดลง วิธกี องทุนจม วิธเี งินราย ปี เป็ นต้น  ศตวรรษที่ 19 ➔ การบัญชีตน้ ทุนกาหนดขึ้นอันเป็ นผลจากการ ปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม 17  ครึ่งหลังศตวรรษที่ 19 ➔มีการพัฒนาการบัญชีโดยนาหลักการบันทึกค่ าใช้จ่าย จ่ายล่วงหน้ามาใช้  ศตวรรษที่ 19 และ 20 ➔ มีการพัฒนาทางบัญชีโดยนาเรื่องของกองทุนมาใช้  ครึ่งหลังศตวรรษที่ 20 ➔ มีการพัฒนาของการบัญชีทส่ี ลับซับซ้อนยิ่งขึ้น เช่น การคานวณกาไรต่อหุน้ การบัญชีเงินสาหรับภาวะ เงินเฟ้ อ การรวมกิจการ สัญญาเช่า 18 ▪ ค.ศ.1917 ➔ ธนาคารกลางของอเมริกาออกวารสารซึง่ มีบทความทีจ่ ดั ทา โดยสมาคมนักบัญชีของอเมริกา ต่อมาเรียกว่า สมาคมผูส้ อบ บัญชีรบั อนุญาตแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ▪ ค.ศ.1973 ➔ ก่อตัง้ คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (International Accounting Standard Board : IASB) 19 ▪ ค.ศ.2001 ➔คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (International Accounting Standard Board : IASB) มีการปรับปรุงโครงสร้างครัง้ ใหญ่ ของ IASB ▪ ค.ศ.2003 ➔ เกิดมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (IFRS) ฉบับแรก หลังจากการปรับ โครงสร้างของ IASB 20  สถาบันวิชาชีพทางการบัญชีของประเทศสหรัฐอเมริ กา 1. The American Institute of Certified Public Accountants (AICPA) 2. The American Accounting Association (AAA) 3. The Institute of Certified Management Accountants (ICMA) 4. Institute of Management Accountants (IMA) 5. Securities and Exchange Commission (SEC) 6. The Cost Accounting Standards Board (CASB) 21  สถาบันวิชาชีพทางการบัญชีของประเทศอังกฤษ 1. The Institute of Chartered Accountants in England and Wales (ICAEW)  สถาบันวิชาชีพทางการบัญชีในแถบประเทศยุโรป 1. The Federation des Experts Compatibles Europeans (FEE) 2. สหภายยุโรป (European Union : EU) 22  สถาบันวิชาชีพทางการบัญชีในแถบภูมิภาคเอเชีย 1. ASEAN Federation of Accounting (AFA) 2. Confederation of Asian and Pacific (CAPA)  สถาบันวิชาชีพทางการบัญชีอื่น 1. คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (International Accounting Standards Committee : IASC) 2. สหพันธ์นกั บัญชีระหว่างประเทศ (International Federation of Accountants : IFAC) 3. องค์กรสหประชาชาติ (United Nations : UN) 23  ประเทศไทย ▪ รัชกาลที่ 5 = เกิดออฟฟิ ชหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง มีหน้าทีต่ รวจสอบบัญชีต่างๆ ▪ พ.ศ.2418 = บรรจุวชิ าการบัญชีในโรงเรียนหลวง ▪ พ.ศ.2428 = เปิ ดสอนวิชาการค้าขาย และเริ่มสอนวิชาบัญชีตามหลักบัญชีคู่โดย บาทหลวงชาวฝรัง่ เศส ▪ รัชกาลที่ 6 = ตัง้ โรงเรียนพาณิชยการเพือ่ ให้ความรูใ้ นวิชาการค้าขาย ▪ พ.ศ.2455 = เกิด พรบ.ลักษณะเข้าหุน้ ส่วนและบริษทั ฯ กาหนดให้บริษทั จากัดต้อง จัดทาบัญชีและมีผูส้ อบบัญชีตรวจสอบ 24  ประเทศไทย (ต่อ) ▪ พ.ศ.2467 = ยกเลิก พรบ.ลักษณะเข้าหุน้ ส่วนและบริษทั ฯ และประกาศใช้ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยหุน้ ส่วนและบริษทั ต้องมีการจัดทาบัญชีเงินรับจ่าย บัญชีกาไรขาดทุนอย่างน้อยปี ละครัง้ และงบดุลต้องมีผูส้ อบบัญชีตรวจสอบ ▪ พ.ศ.2475 = เปลีย่ นแปลงระบบการปกครอง และมีผูส้ าเร็จการศึกษาด้านบัญชีจาก ต่างประเทศร่วมกลุม่ เพือ่ จัดตัง้ สมาคมวิชาชีพ ▪ พ.ศ.2480 = เสนอร่างพระราชบัญญัตกิ ารบัญชีเพือ่ จัดตัง้ สภาการบัญชี แต่รฐั บาลไม่ เห็นด้วยเนื่องจาก จานวนของนักบัญชีมจี านวนน้อย ▪ พ.ศ.2481 = จักการศึกษาวิชาการบัญชีทม่ี หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง 25  ประเทศไทย (ต่อ) ▪ พ.ศ.2491 = จัดตัง้ สมาคมนักบัญชีแห่งประเทศไทย ต่อมาในปี พ.ศ.2518 ได้เปลีย่ น ชื่อเป็ นสมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตแห่งประเทศไทย (ส.บช.) และในปี พ.ศ.2548 ได้เลิก ส.บช. โอนสินทรัพย์สุทธิไปยังสภาวิชาชีพบัญชี ▪ พ.ศ.2522 สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตแห่งประเทศไทย ออก มาตรฐานการบัญชีฉบับแรก ▪ พ.ศ.2554 ประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับ NPAEs และกรม พัฒนาฯ ออกประกาศกรมฯ พ.ศ.2554 เรื่องกาหนดรายการย่อทีต่ อ้ งมีในงบการเงิน 26  สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Federation of Accounting Profession : FAP)  สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์  ธนาคารแห่งประเทศไทย  กรมสรรพากร  สมาคมการบัญชีไทย 27  พัฒนาการทางบัญชีในต่ างประเทศมีเหตุการณ์ ที่ เปลีย่ นแปลงอย่ างไร หลังจากปี ค.ศ.2003  สถาบันทางวิชาชีพบัญชีในต่ างประเทศแต่ ละหน่ วยงานมี หน้ าทีอ่ ย่ างไร  พัฒนาการทางบัญชีในประเทศมีเหตุการณ์ ทเี่ ปลีย่ นแปลง อย่ างไร หลังจากปี พ.ศ.2554  สถาบันทางวิชาชีพบัญชีในประเทศแต่ ละหน่ วยงานมี หน้ าทีอ่ ย่ างไร 28

Use Quizgecko on...
Browser
Browser