🎧 New: AI-Generated Podcasts Turn your study notes into engaging audio conversations. Learn more

ความสำคัญ_กำเนิด.pdf

Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Document Details

OptimalObsidian

Uploaded by OptimalObsidian

2567

Tags

soil importance soil composition environmental science agriculture

Full Transcript

01009112 วิทยาศาสตร์ทางดิน รศ.ดร. กรรณิการ์ สัจจาพันธ์ 01009112 ภาคต้น 2567 E-book คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2544. ปฐพีวิทยาเบืองต้น. สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ. ความสําคัญของดิน ความสําคัญของดินต่อการดํารงชีวิตของมน ุษย์ อาหาร...

01009112 วิทยาศาสตร์ทางดิน รศ.ดร. กรรณิการ์ สัจจาพันธ์ 01009112 ภาคต้น 2567 E-book คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2544. ปฐพีวิทยาเบืองต้น. สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ. ความสําคัญของดิน ความสําคัญของดินต่อการดํารงชีวิตของมน ุษย์ อาหาร เครืองนงุ่ ห่ม ทีอยูอ่ าศัย ยารักษาโรค ความสําคัญของดินต่อวัฒนธรรมและสภาพ ทางการเมือง ความสําคัญของดินต่อสภาพแวดล้อม ดินซึงมีจลุ ินทรียช์ ่วยย่อยสลายสิงปฏิก ูลและ สารพิษต่าง ๆ ดินช่วยด ูดซับหรือจับธาต ุพิษไว้ ต้นไม้ ช่วยด ูดซับแก๊สพิษ และสร้างอากาศทีดี ดินเป็นทียึดเกาะ ความสําคัญของดินต่อพืช (anchorage) ของรากพืช ดินเป็นทีเก็บนํา (water storage) ดินให้อากาศโดยเฉพาะ แก๊สออกซิเจน (oxygen) แก่ รากพืชเพือการหายใจ ดินเป็นทีเก็บและให้ธาต ุ อาหาร (nutrient) แก่พืช ดิน..เกิดขึนมาได้อย่างไร oนับจากโลกเริมก่อตัวขึนและ ดิ น..เกิดขึนมาได้อย่างไร เย็นตัวลง มีพืนผิวภายนอก - เป็นหิ นแข็ง ต่อมามีการผ ุ → กร่อนตามธรรมชาติ _ o สาหร่ายทะเลทีถ ูกคลืนซัด น บ ขึนมาค้างอยูบ่ นหินและเติบโต d-น เป็นพื ชบก o รากพืชทีชอนไชไปตาม ร่องรอยแตกของหินและชัน ของหินผ ุเพือหาอาหารรวมทัง เกาะยึด o ก็จะช่วยเร่งให้หิน แร่ เกิด การสลายตัวเป็นชินเล็กชิน น้อย ยั ทั อิ oเมือพืชและสัตว์ตายลง ดิ น..เกิดขึนมาได้อย่างไร (ต่อ) ออน ← นายแสง ) าย น และทับถมกันอยูท่ งบนชั บ ั น ั น วัสด ุ หินและใต้ชนหิ เหล่านีเกิดการเน่าเปือย เรียกว่า ฮิวมัส o ฮิวมัสได้ผสม คล ุกเคล้าเข้ากับชินส่วน ของหิน แร่ ทีผ ุพังเป็นชิน เล็กชินน้อยจนเข้ากันเป็น เนือเดียว จึงกลายเป็นสิง ทีเรียกว่า “ดิน” สืบมา ฐํ๊ ด้ ทั ฐํ๊ ยู้ “ดิน” คือ วัตถ ุตาม ธรรมชาติทีเกิดขึนจากการผ ุ พังสลายตัวของหินและแร่ ต่างๆ ผสมคล ุกเคล้ารวมกับ อินทรียวัตถ ุหรืออินทรียสารที ดิน..คืออะไร? ได้มาจากการสลายตัวของเศษ ซากพืชและสัตว์จนเป็นเนือ เดียวกัน มีลกั ษณะร่วนไม่เกาะ กันแข็งเป็นหิน เกิดขึนปกคล ุม พืนผิวโลกอยูเ่ ป็นชันบางๆ และเป็นทียึดเหนียวในการ เจริญเติบโตของพืช วัสด ุประกอบดิน (Soil Forming Materials) วัสดุประกอบดินมีองค์ประกอบทีสําคัญ 2 ประเภทคือ o วัสด ุอนินทรีย ์ ได้แก่ หิน และ แร่ o วัสด ุอินทรีย ์ ได้แก่ ซากพืชซากสัตว์ทีทับถมอยูใ่ นดิน การผสมคลุกเคล้าขององค์ประกอบทังสองนี จะมี อัตราส่วนแตกต่างกันออกไปตามสภาวะและบริเวณทีเกิด 13 แร่ (Minerals) : ของแข็งทีเกิดขึนเองตามธรรมชาติ มีสมบัติทางเคมีทีแน่นอน และมีการเรียง → ตัวของอะตอมทีเป็นระเบียบ เป็นผลึก แร่สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ชนิดใหญ่ ๆ ก. แร่ปฐมภ ูมิ (primary minerals) s : เย็นตัวจากหินหนืด (Magma/Lava) โดยตรง เช่น ควอร์ตซ์ ไมกา และ เฟลด์สปาร์ ข. แร่ท ุติยภมู ิ (secondary minerals) อตกผลึก×ใหม่ของ : เกิดตกตะกอนหรื แร่ปฐมภมู ิทีสลายตัว เช่น แร่ดินเหนียว 14 แร่ทีพบในธรรมชาติ อาจอยูใ่ นลักษณะเป็นธาต ุเดียว ๆ เช่น เพชร (C) ทองคํา (Au) หรือเป็นสารประกอบ (ประกอบด้วย ธาต ุหลายๆธาต ุ) เมือสลายตัวจะปลดปล่อยธาต ุอาหารพืชออกมา แร่ทีพบมากในดิน ได้แก่ แร่ประกอบหิน 15 1) ควอร์ตซ์ (Quartz) SiO2 ทนทานต่อการสลายตัว  สลายตัวแล้วให้ขนาดอน ุภาค ทรายและทรายแป้ง ดินทีมีแร่ควอร์ตซ์มาก แสดง ว่าเป็นดินทรายจัด ดินจะระบาย ** นําได้ดี อ ุดมสมบูรณ์ตํา 16 2) เฟลด์สปาร์ (Feldspar group) XAlSi3O8  สีขาวขุน่ มีมากทีสุดในเปลือกโลก ในดินพบน้อย เพราะ สลายตัวง่าย สลายตัวให้แร่ดินเหนียว ธาตุโพแทสเซียม โซเดียม แคลเซียมแก่ดิน โพแทสเซียม เฟลด์สปาร์ (X=K ) โซดา-ไลม์ เฟลด์สปาร์ (X=Na, Ca) 17 Muscovite 3) ไมกา (Mica group) KAl2(AlSi3O10)  เป็ นแผ่นบาง ๆ ประกาย แบบไข่มกุ ไมกาสีขาว สลายตัวยาก Biotite ถ้าไมกาสีดาํ สลายตัวง่าย สลายตัวให้แร่ดินเหนียว และให้ธาตุโพแทสเซียม แมกนีเซียม และเหล็กแก่ดนิ K(MgFe)3(AlSi3O10)(OH)2 18 4) เฟอร์โรแมกนีเซียน Hornblende (Ferromagnesian group)  สลายตัวง่าย สลายตัวแล้วให้แร่ดินเหนียว แอมฟิ โบล ทีมีสีนําตาลถึงแดง Ca Mg  ให้ธาต ุแคลเซียม แมกนีเซียม Fe และเหล็กแก่ดิน Augite ไพรอกซีน 19 5) แคลไซต์และโดโลไมต์ (Calcite และ Dolomite) Calcite มีหลายสี แคลไซต์ทํา ปฏิกิริยากับกรดเกลือ CaCO3 พบในหิ00 นปูน หินอ่อน สลายตัวง่ายกับนําฝน ให้ Dolomite ดินทีมีเนือละเอียด มีธาต ุ แคลเซียมและแมกนีเซียมสูง CaMg(CO3)2 20 6) ไพไรต์ (Pyrite) เป็ นผลึกก้อนสีเหลียมเล็กๆ สีเหลืองทอง สลายตัวให้กรดซัลฟิ วริก Pyrite # # หรือกรดกํามะถัน ทําให้เกิดดิน กรดจัด หรือดินเปรียวจัด ** Apatite 7) อะพาไทต์ (Apatite) มีปริมาณน้อย สลายตัวแล้วให้ธาตุ ฟอสฟอรัส 21 8) เฮไลต์ (Halite)  มีหลายสี ถ้าบริส ุทธิไม่มีสี เกิดจากตะกอนนําเค็ม หรือในร ูปของหินเกลือ (rock salt) ดินเค็ม Halite NaCl 22 9) แร่ดินเหนียว (Clay minerals) ขนาดอน ุภาคเล็กมาก มีผลึกโครงสร้างเป็นแผ่นซ้อนกัน ไม่มีผลึกแร่แอลโลเฟน (allophane) พวกมีผลึก แบ่งเป็น 3 แบบ ที ภาพผลึกแร่เคโอลิไนต์ สําคัญ คือ 1) เคโอลิไนต์ (kaolinite) 2) สเมกไทต์ (smectite) มีแร่ที พบมากคือ มอนต์มอริลโลไนต์ (montmorillonite) 3) อิลไลต์ (illite) รูปผลึกแร่สเมกไทต์ 23 H-bond oxygen-oxygen linkage พันธะระหว่างผลึก 24 10) แร่เหล็กออกไซด์ (Iron oxides) ลง  เมืออยูใ่ นดินจะทําให้ดินมีสีนําตาล เหลืองหรือแดง พบมากในเขตร้อน ดินทีมีแร่กลุม่ ออกไซด์ของ Fe จัดเป็ นดินอายุ มาก เช่น ดินลูกรัง Hematite 25 หิน (Rocks) ☐ อนินทรียสารทีเกิดขึนตามธรรมชาติ ประกอบด้วยแร่ ตังแต่สองชนิดขึนไป แบ่งตามการกําเนิดได้ 3 ประเภท 26 เกิดจากการเย็00นตัวและตก ① ผลึ ก จากหิ นหนื ด (magma/lava) โดยตรง 27 การจําแนกหินอัคนี : ใช้ลกั ษณะการเย็นตัว, เนือหิน, สี และองค์ประกอบเชิงแร่ Light colored Dark colored Soil surface Rhyolite Basalt Fine Andesite Feldspar 50% Crystal size Feldspar 50% Feldspar 75% Quartz 30% Ferromagnesians 25% Ferromagnesians Ferromagnesians 50% 10% Deep Granite Diorite Gabbro Coarse Acid Intermediate Basic 28 แกรนิต (Granite) ไรโอไลต์ (Rhyolite) → เมือสลายตัวจะให้ดินทีมีเนื อหยาบและเป็นทรายจัด (โดยเฉพาะ _ แกรนิต) ให้ปฏิกิรยิ าเป็นกรด สีจาง ดินทีมีความอ ุดมสมบูรณ์ตํา ถึงปานกลาง แกรนิต พบทัวไปในภาคเหนือและภาคใต้ ไรโอไลต์ พบภาคกลางจนถึงภาคเหนือ (สระบุรี เพชรบูรณ์ ฯลฯ) หินแกรนิตมีความสําคัญต่อเศษฐกิจ เป็ นหินทีมีสินแร่ดีบุกผสมอยู่ 29 ไดโอไรต์ (Diorite) แอนดีไซด์ (Andesite) เมือสลายตัวจะให้ดินทีมีความอ ุดมสมบูรณ์มากกว่าพวกแกรนิต ไม่เป็นทรายจัดและมีสีนําตาลแดง ในประเทศไทยส่วนมากพบแอนดีไซด์ พบ อยูใ่ นเขตเทือกเขาตอนกลางของประเทศ เช่น สระบุรี นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ ฯลฯ 30 แกบโบร (Gabbro) บะซอลต์ (Basalt) เมือสลายตัวจะให้ดินความอ ุดมสมบูรณ์ไม่ตํานัก สมบัติทาง * ** ฟิสิกส์ดี (เหมาะแก่การทําสวนผลไม้) เนือละเอียด ดินมีสีแดง พบอยูบ่ ริเวณเดียวกับหินแอนดีไซด์และทีจันทบุรี บุรีรมั ย์ ลําปาง เป็ นต้น 31 หินตะกอน : เกิดจากการอัดตัว เชือมตัวของอน ุภาคทีเป็นชินส่วน ของแร่และหินดังเดิมหรือตกตะกอนทางเคมี 32 การเกิดหินตะกอน ผพุ งั กระบวนการ หินดังเดิม  ตะกอน  หินตะกอน ถ ูกพัดพา เกิดหินตะกอน  ตัวการพัดพา นําไหล ลม ธารนําแข็ง แรงโน้มถ่วงของโลก  มีการคัดขนาดของอนุภาคและการทับถมเป็ นชัน ๆ 33 การจําแนกหินตะกอน เกิดจากชินส่วนของหินและแร่ดงเดิ ั ม Small Shale (หินดินดาน) Clay and Silt particles Sandstone Sand (หินทราย) Conglomerate Rounded Sand and (หินกรวดมน) gravels Breccia Angular Sand, (หินกรวดเหลียม) gravels and broken rocks Large particles 34 หินดินดาน (Shale) : เกิดจากการทับถมของอนภุ าค silt ทีละเอียด คือ ขนาดทรายแป้ง crag และขนาดดิ น เหนียว ให้ดินมีความอ ุดมสมบูรณ์ปาน กลางถึงดี 35 หินทราย (Sandstone) : ประกอบด้วยอนุภาคขนาด ทราย ซึงส่วนมากเป็ นแร่ ควอร์ตซ์ พบทัวไปทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทําให้ดินเป็ นทรายจัดและมีความอุดม สมบูรณ์ตาํ 36 หินกรวด (Conglomerate, Breccia) : มีอนุภาคขนาดก้อนกรวดเล็ก ใหญ่ คละกันไป ดินทีเกิดจากหินกลุ่มนีส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีประโยชน์ เพราะมีกอ้ น กรวดผสมอยู่มาก หินกรวดมน หินกรวดเหลียม 37 หินปูน (Limestone) : มีสีและเนือหินทีแตกต่างกัน ส่วนประกอบที สําคัญ คือ แร่แคลไซด์ อิทธิพลของหินปูนหรือแคลเซียม คาร์บอเนตเมือสลายตัวแล้วมักจะให้ ดินทีมีความอุดมสมบูรณ์สงู เป็ น ด่าง สีดํา พบบริเวณสระบุรี ลพบุรี กาญจนบุรี 38 หินดินมาร์ล (Marl) : หินปูนทีสลายตัวแล้วมาทับถมกันอีก ให้ดนิ ทีมี #⊕* ความอุดมสมบูรณ์สงู ⇐* สีดํา เช่น ชุดดินลพบุรี 39 หินแปร : เกิดจากการแปรสภาพของหินดังเดิม ง โดยอิทธิพลของอ ุณหภ ูมิและความดัน 40 การจําแนกหินแปร Temperature 9ณ 4 Low High Slate (หินชนวน) → Pressure Phyllite Schist Marble(หินอ่อน) Quartzite Gneiss High 41 กูมี 1) หินชนวน (slate)  แปรสภาพจากหินดินดาน 2) หินฟิลไลต์ (phyllite)  แปรสภาพจากหินชนวน 3) หินชีสต์ (schist) ⑧  แปรสภาพจากหินสีคลํา โดยเฉพาะหินอัคนีสีเข้ม ด่าง 4) หินอ่อน (marble)  แปรสภาพจากหินปูน โดยการตกผลึกใหม่ 5) หินควอร์ตไซต์ (Quartzite)  แปรสภาพจากหินทราย 6) หินไนส์ (gneiss)  แปรสภาพจากหินหลายชนิด ส่วนใหญ่มาจากหินอัคนี เช่น แกรนิต 42 หินอ่อน แปรสภาพจากหินปูน : แคลไซต์ ควอร์ตไซต์ แปรสภาพจากหินทราย : ควอร์ตซ์ 43 กระบวนการผ ุพัง (Weathering processes) เป็นทังกระบวนการทําลาย และกระบวนการสังเคราะห์ แบ่งเป็ น 2 แบบ Physical weathering : Chemical weathering : การแตกหักของหินและแร่เป็ น - การสลายตัวของหินและแร่โดย ชินส่วนขนาดเล็ก ด้วยวิธีทาง เกิดปฏิกิริยาทางเคมีขึน เช่น การ กลศาสตร์ เช่น แรงดัน ละลาย การรวมตัวกับนํา การทํา อุณหภู มิ ปฏิ กริ ิยากับกรด การเกิด ออกซิเดชัน-รีดักชัน 44 การแตกเป็นแผ่น เนืองจากการลด แรงดัน (Unloading) 45 การแตกเป็นแผ่นของหิน เนืองจากการลดแรงดัน (Unloading) 46 การแตกเนืองจากการโต ของผลึกนําแข็ง การแตกเนืองจาก การโตของผลึกเกลือ 47 o การแตกของหินเป็ นกาบเนืองจากความร้อน 48 การแตกจากกิจกรรมสิงมีชีวิต ต้นไม้ สัตว์ มนษุ ย์ การถูครูด 49 กระบวนการทางเคมี ° (การสลายตัว) ทีสําคัญ  ไฮโดรไลซีส (hydrolysis) หรือการแยกสลายด้วยนํา ns rg  ไฮเดรชัน (hydration)  กระบวนการเกิดกรด (acidication)  ออกซิเดชัน (oxidation)  การละลาย (dissolution) Hydrolysis 2KAISi3O8 + 2H+ + 9H20 H4Al2Si2O9 + 4H4SiO4 + 2K+ (orthoclase + water → kaolinite + silicic acid + potassium) Feldspar group l Clay minerals Hydration 2Fe2O3 + 3HOH 2Fe2O3.3H2O (Hematite) (Red) (Limonite) (Yellow) Oxidation 4FeO (Ferrous oxide) + O2 2Fe2O3 (Ferric oxide) 51 “การผ ุพังทังสองแบบเกิดร่วมกันและมักส่งเสริมซึงกันและกัน” ปัจจัยทีมีอิทธิ พลต่อการผุพงั ของหิน แร่ 1) สภาพภมู ิอากาศ  ความชืน อุณหภู มิ 2) สมบัติทางฟิสิกส์ของแร่ ขนาดผลึก ความแข็ง การยึดตัวของอนุภาค 3) สมบัติทางเคมีและโครงสร้างของแร่  องค์ประกอบของแร่โครงสร้างของแร่ 52 วัสด ุอินทรีย ์ ซากพืช ซากสัตว์ 53 กระบวนการย่อยสลายของอินทรียวัตถ ุ การสลายตัวต้องมีจลุ ินทรียย์ อ่ ยสลาย มี 2 สภาวะ คือ สภาพทีมีออกซิเจนพอเพียง (aerobic condition) Organic microorganism Humus + Element + CO2+H2O materials aerobe สภาพทีมีออกซิเจนไม่เพียงพอ (anaerobic condition) microorganism Organic Humus+Element+ H2O+ CO2+ materials anaerobe CH4 +Intermediate products อัตราการย่อยสลายจากง่าย  ยาก นําตาล  แป้งและโปรตีนอย่างง่าย  โปรตีนหยาบ เฮมิเซลล ูโลสเซลล ูโลสลิกนิน, ไขมัน และขีผึง 54 การสร้างตัวของดิน (Soil Formation)  กระบวนการทีเปลียนวัสด ุให้กําเนิดดินไปเป็นดิน ประกอบด้วย 1) การผ ุพังของหินและแร่ การสลายตัวของวัสด ุอินทรีย ์ 2) การผสมคล ุกเคล้าของอินทรียวัตถ ุทีผิวหน้า 3) การเคลือนย้ายสารภายในหน้าตัดดิน โดยมีนําไหลซึมผ่าน เป็นพาหนะทีสําคัญ 4) การสะสมของวัสด ุในชันดิน 55 อินทรียวัตถ ุ ผพุ งั สลายตัว กระบวนการทางดิน หิน วัตถ ุต้นกําเนิดดิน Soils อินทรียวัตถ ุ ผพุ งั สลายตัว กระบวนการทางดิน หิน วัตถ ุต้นกําเนิดดิน Soils นก เ ด นท R C A A A or A น R C B ← บ E E าง A = accumulation of organic matter R C B B E = eluvial horizon B = illuvial horizon R C C C = parent material R = bed rock R ชันดินแต่ละชันมีลกั ษณะแตกต่างกัน ชนิดชันดินก็แตกต่างกัน 57 ทําให้ดินแตกต่างกัน ต้ อิ ล่ ดิ หิ ำ ร์ นิ ปัจจัยทีควบค ุมการสร้างตัวของดิน (Factors of Soil Formation) ดินเป็ นผลลัพธ์จากการ กระทําของ 5 ปัจจัย สามารถแทนด้วย สมการ ดังนี S = (cl, p, o, r, t, …) ปัจจัยทัง 5 ปัจจัยกระทําต่อดินพร้อม ๆ กัน 59 และมีความสัมพันธ์ซึงกันและกัน วัตถ ุกําเนิดดิน เช่นเดียวกับเราได้รับการถ่ายทอดลักษณะจากพ่อแม่ของเรา ทุกลักษณะของดินทีสืบทอดมาจากวัตถุกาํ เนิดดิน How does parent material influence soil formation? influences colour, mineral content, texture. Granite: light coloured soil Rocks with iron: reddish soil Sandstone: has lots of silicon due to quartz Sandstone: will have a sandy, well-drained texture. ภมู ิอากาศ อุณหภูมิและความชืนมีผลต่อความเร็วของปฏิกิริยาเคมีซึงควบคุม การผุพงั ของหินและการย่อยสลายของสิงมีชีวิตทีตายแล้ว ภมู ิอากาศ Soils develop fastest in warm, moist climates, and slowest in cold and arid ones. สิงมีชีวิต การแผ่ของรากพืช การขุดหรือสร้างโพรงสัตว์และการย่อยสลายของแบคทีเรีย รวมทัง กิจกรรมของสิงมีชวี ิตอืนๆ ในดินจะเร่งการผุพงั ของอนุภาคดินขนาดใหญ่ให้เล็กลง ภ ูมิประเทศ ระดับความสูง-ตําและทิศทางของพืนทีส่งผลต่อปริมาณความร้อนทีได้รับ จากแสงอาทิตย์และปริมาณนําทีเก็บในดิน Names of Slope Locations SUMMIT (top of slope) SHOULDER DRAINAGE WAY BACK-SLOPE (Bottom of Slope) FOOT SLOPE TOE SLOPE Soil Color Change in Different Slope Locations DRAINGE WAY TOE-SLOPE FOOT-SLOPE SHOULDER SUMMIT Color can tell us about how a soil “behaves”. A soil that drains well is brightly colored. One that is wet and soggy has an uneven (mottled) pattern of grays, reds, and yellows. เวลา Time ดินทีมีอายุมากกว่ามีเวลาในการพัฒนาดินมากกว่าดินทีมีอายุนอ้ ยกว่า Time  Soils get better developed (thicker, with greater differences between layers) with more times  Tropical regions were not affected byTime the ice age and so have many thousands of years to develop  Tropical soil relatively old องค์ประกอบของดิน อนินทรียวัตถ ุ (mineral matter) เป็น 454. องค์ประกอบของดิน ส่วนประกอบทีมีปริมาณมากทีส ุด ในดินทัวไป ได้มาจากการผ ุพัง แบ่งองค์ประกอบตามความสําคัญที สลายตัวของหินและแร่ เกียวข้องกับการเจริญเติบโตของพืช ได้เป็น 4 ส่วนใหญ่ๆ คือ 5 % อินทรียวัตถ ุ (organic matter) ได้แก่ ส่วนทีมีการเน่าเปือยผ ุพังหรือ สลายตัวของซากพืชซากสัตว์ทีทับถม อนินทรียวัตถ ุ อยูบ่ นดิน อินทรียวัตถ ุ นํา นําในดินนันจะพบอยูใ่ นช่องว่าง นํา ระหว่างเม็ดดิน หรือระหว่างอน ุภาค 25! ดิน 25 % อากาศ อากาศ ช่องว่างระหว่างเม็ดดิน หรือ ระหว่างอน ุภาคดินจะมีอากาศอยู่ ส่วนประกอบของดินโดยปริมาตร ทีเหมาะสมต่อการปลูกพืช ส่วนช่อง 50% ส่วนของแข็ง 50% หน้าทีของแต่ละส่วนของดิน อนินทรียวัตถ ุ : - เป็นแหล่งกําเนิดธาต ุอาหารพืช และจ ุลินทรีย ์ - กําหนดเนือดิน - แหล่งทีเกิดปฏิกิรยิ าเคมี อินทรียวัตถ ุ : o - แหล่ งธาต ุอาหารพืช และ จ ุลินทรีย ์ - แหล่งอาหารของจลุ ินทรีย ์ - ควบค ุมสมบัติทางเคมี กายภาพ และชีวภาพของดิน หน้าทีของแต่ละส่วนของดิน (ต่อ) นํา : อากาศ : - ให้นําแก่พืช - ให้ออกซิเจนแก่พืชและจ ุลินทรีย ์ - ละลายธาต ุอาหารพืช สําหรับหายใจ - เคลือนย้ายธาต ุอาหารพืชจาก - เป็นอาหารและพลังงานของ รากไปสูส่ ว่ นต่างๆของพืช จ ุลินทรียบ์ างชนิด (CO2, N2) & $ สมบัตขิ องดินทีควรทราบเพือทีเราจะได้ใช้หรือ จัดการดินได้อย่างถูกต้องเหมาะสมในการปลูกพืชมีดงั นี สมบัติทางกายภาพ (physical properties) หมายถึง สมบัตขิ องดินทีเราสามารถสังเกตหรือตรวจสอบได้ เช่น ความลึกของดิน (soil depth) เนือดิน (soil texture) โครงสร้างดิน (soil structure) สีดิน (soil color) การมีหินกรวดปะปน ความสามารถในการอมุ้ นํา (water storage) สมบัติทางเคมี (chemical properties) หมายถึง สมบัตทิ ี เกียวข้องกับกระบวนการทางเคมีตา่ ง ๆ ในดิน สมบัตทิ างเคมี ทีสําคัญมีดงั นี การมีประจุไฟฟ้า (electric charge) ความเป็นกรด-ด่าง (acidity and alkalinity) ความเค็ม (salinity) สมบัติทางชีวภาพ (biological properties) เป็ นสมบัติ ของดินทีเกียวข้องกับสิงทีมีชวี ิตในดิน โดยเฉพาะสิงมีชีวิตทีมี ขนาดเล็กมากๆ ในดิน หรือทีเราเรียกว่า จุลินทรียด์ ิน

Use Quizgecko on...
Browser
Browser