Laplace Transforms PDF

Document Details

IdealEpic

Uploaded by IdealEpic

Vongchavalitkul University

Tags

Laplace transforms mathematics transformations control systems

Summary

This document introduces the concept of Laplace transforms, a mathematical method used to transform differential equations into algebraic equations. Understanding these transforms can simplify solving equations in control systems. The document also demonstrates how logarithms can be used similarly for transformations.

Full Transcript

4 ลาปลาสทรานฟอรม Laplace Transforms วัตถุประสงค 1. เพื่อใหเขาใจถึงหลักการเปลี่ยนรูปลาปลาส 2. เพื่อใหเขาใจถึงการใชการเปลี่ยนรูปลาปลาสและการเปลี่ยนรูปลาปลาสยอนกลับ เพื่อใชในการ แกสมการเชิงอนุพันธ 3. เพื่อใหเขาใจถึงการใชทฤษฏีคาเริ่มตน และทฤษฏีคาสุ...

4 ลาปลาสทรานฟอรม Laplace Transforms วัตถุประสงค 1. เพื่อใหเขาใจถึงหลักการเปลี่ยนรูปลาปลาส 2. เพื่อใหเขาใจถึงการใชการเปลี่ยนรูปลาปลาสและการเปลี่ยนรูปลาปลาสยอนกลับ เพื่อใชในการ แกสมการเชิงอนุพันธ 3. เพื่อใหเขาใจถึงการใชทฤษฏีคาเริ่มตน และทฤษฏีคาสุดทาย 4.1 บทนํา (Introduction) Laplace transforms หรือการเปลี่ยนรูปลาปลาส ซึ่งเปนวิธีการทางคณิตศาสตรที่ใชเปลี่ยนรูปจาก สมการอนุพันธเปนสมการพีชคณิต ทําใหการแกสมการของระบบควบคุมเพื่อหาคําตอบหรือการตอบสนอง เปนไปโดยสะดวกและคลองตัวขึ้น ดังนั้นเนื้อหาในบทนี้จะเปนการแนะนําเกี่ยวกับหลักการเปลี่ยนรูปลาปลาส รวมทั้งการแกสมการอนุพันธดวยการเปลี่ยนรูปลาปลาส เพื่อ ความเขา ใจในหลักการเปลี่ ยนรูป ลาปลาส จะขอยกตัวอยา งวิ ธีทางคณิ ตศาสตรซึ่ งมี ลักษณะ เชนเดียวกับการเปลี่ยนรูปลาปลาส ซึ่งไดแกการเปลี่ยนรูปโดยใชหลักการลอการิทึม หรือที่เรียกวา Logarithm transforms ไมวาจะเปนการใชลอการิทึมรวมกับการคูณ การหาร และการยกกําลัง ทั้งนี้ก็เพื่อเปนการ เปลี่ยนตัวเลขชุดเดิมใหเปนเลขยกกําลังฐาน 10 (หรือฐานอื่นๆ เชน e) ซึ่งจะไดตัวเลขชุดใหม และยังทําใหการ คูณเปลี่ยนไปเปนการบวก หรือการหารเปลี่ยนไปเปนการลบ จึงทําใหกระบวนการทางคณิตศาสตรงายขึ้น และเมื่อไดคําตอบแลวก็สามารถเปลี่ยนใหกลับมาเปนตัวเลขธรรมดาไดโดยการใช Inverse logarithm หรือ Antilogarithms ดังแสดงกระบวนการในรูปที่ 4.1 และในสมการดานลาง ถากําหนดให A มีคาดังแสดงในสมการดานลาง A = BC 4.1 130 ลาปลาสทรานฟอรม จากสมการดังกลาวสามารเปลี่ยนรูปโดยใชหลักการลอการิทึมไดคือ logA = logBC = logB + logC 4.2 เมื่อกําหนดให D = logB + logC ดังนั้นจะไดวา log A = D 4.3 จากสมการที่ 4.3 สามารถที่จะหาคา A โดยการ Inverse logarithm ซึ่งจะไดวา A = log-1 D 4.4 การคูณ Logarithm การบวก Inverse transformation หรือ การลบ transformation ผลลัพธ หรือ การหาร รูปที่ 4.1 แสดงการเปลี่ยนรูปลอการิทึม ที่มา: Bolton, W. (1998) สําหรับการเปลี่ยนรูปลาปลาส ก็มีลักษณะเชนเดียวกับการเปลี่ยนรูปลอการิทึม กลาวคือเปนการ เปลี่ยนรูปของตัวแปรหลักของสมการ ซึ่งไดแกเวลา (t) ใหอยูในรูปอื่นซึ่งไดแก s (Laplace transform operation) ซึ่งเปนตัวแปรที่ไมไดอยูในรูปของเวลา หรือสามารถกลาวไดวา การเปลี่ยนรูปลาปลาสคือ การ เปลี่ยนรูปสมการเชิงอนุพันธที่เปนฟงกชั่นของโดเมนเวลา (Time-domain) ใหเปนสมการพีชคณิตธรรมดาที่ เปนฟงกชั่นของโดเมน s (S-domain) ทําใหการหาคําตอบของสมการงายขึ้น และเมื่อไดคําตอบที่อยูในรูปของ โดเมน s แลวก็สามารถเปลี่ยนมาอยูในรูปของโดเมนเวลา โดยอาศัยการเปลี่ยนรูปยอนกลับ (Inverse transformation) หรือการเปลี่ยนรูปลาปลาสยอนกลับ (Inverse Laplace transform) ดังแสดงในรูปที่ 4.2 แบบจําลองของระบบที่อยูในรูป Laplace สมการพีชคณิต Inverse ผลลัพธ ของสมการอนุพันธ transformation (โดเมนของ s) transformation (โดเมนเวลา) (โดเมนเวลา) รูปที่ 4.2 แสดงการเปลี่ยนรูปลาปลาส ที่มา: Bolton, W. (1998) ลาปลาาสทรานฟออรม 1331 4 การรเปลี่ยนรูรูปลาปลลาส 4.2 (Thhe Laplaace traansform mation)) นักคณิณิตศาสตรชาวฝรั ช ่งเศศส ชื่อ P..S. de Laaplace (1749-18 ( 827) เปนผูคนพบกการเปลี่ยนรู น ปลาปลลาส เพื่อใชชเปนวิธีการหาผลเฉ า ฉลยของสสมการอนุนุพันธ โดยยหลักการรแลวจะเปปนการคูณ ณทุกพจนในสมการ ใ รอนุพันธดดว ย e-st หหลังจากนันั้นจะหาปริพันธของทุกพจนนจาก 0 ถึง ฅ โดยย s เปนคคาคงที่ที่มีมีหนวยเปปนความถีถี่ ผลที่ไดจาก จ จากกาารกระทําดัดงกลาวจจะเรียกวาการเปลี า ่ย ปลาปปลาส ดังแสดงในสม ยนรู แ มการดานนลาง ฅ Laplace transfo ๒ orms = ( term ) e - st dt o เนื่องจาากโดยปกกติแลวเทออมที่เปนฟฟงกชันขอองเวลานิยมเขี ย ยนในนรูป f (tt ) และเนืนื่องจากเมืมื่อเปลี่ยนรู นป ลาปลาาสไปแลวจะอยูในโโดเมน s จึงนิยมเขีขียนในรูป F (s ) ดังนั้นจะไไดวา F (s ) = Lf (t ) = ๒ f (t ) e - st dt ฅ 0 4 4.5 4.2.11 การเปลีลี่ยนรูปลาาปลาสสําาหรับฟงกกชันแบบบขั้นบันไดด (The Laplace L Transfoorm for a Step FFunctioon) สําหรับการพิ บ จารณาหลั า ก กการเบื ้องต อ นของงการเปลี่ยนรู ย ปลาปปลาส เพืพื่อการพัฒนาการเ ฒ เปลี่ยนรูปลา ป ปลาสใในลําดับตตอไป จะพพิจารณากการเปลี่ยนรูปของฟฟงกชันขัั้นบันไดทีี่อยูในรูปของโดเมน ข นเวลา มาาเปนฟงกชัน ในโดเมมน s สําหรั ห บอินพุทของระบ ท บบที่อยูในรู น ปของฟงกชันขั้นบับนไดที่สามารถเจอ า อไดบอยคครั้งในชีวิตตประจําวันก็ เชนกาารเปลี่ยนแแปลงแรงเคลื่อนไฟฟฟาอยางกกะทันหันนโดยการเปปดสวิทซไฟอย ไ างรรวดเร็ว เปปนตน f (tt) 1 เ (t) เวลา 0 รูปที ป ่ 4.3 แสดงฟ แ งกชชันขั้นบันไดขนาด น 1 หนวย ที่มา: Boltton, W. (1998) 1322 ลาปปลาสทรานฟฟอรม สําหรั ห บรูปที่ 44.3 แสดงงฟงกชันขัั้นบันไดขนนาด 1 หนวย ที่มีลลัักษณะฟฟงกชันดังนี้คือ ์0 ; t < 0 f (t ) = ํ ๎1 ; t ณ 0 จากสมการแสสดงการเปปลี่ยนรูปลาปลาสคื ล คือ ฅ F (s ) = ๒ f (t ) e - st dt 0 ดังนั้นจะไดวา ฅ F (s ) = ๒ 1 e - stt dt 0 =- s [ ] 1 -st e ฅ 0 ซึ่งจะะไดวา 1 F (s ) = 4.6 s สําหรั ห บฟงกชันขั้นบันไดดทั่วๆไปทีที่มีขนาด a ดังแสดดงในรูปที่ี 4.4 จะมีมีลักษณะฟฟงกชันดังนี ง ้คือ ์0 ; t < 0 f (t ) = ํ ๎a ; t ณ 0 f (t) a 0 เวลา (t) รูปที่ 4.44 แสดงฟงก ง ชันขั้นบันไดขนาด a หนวย ที่มา: Boolton, WW. (1998)) จากสมการแสสดงการเปปลี่ยนรูปลาปลาสคื ล คือ ฅ F (s ) = ๒ f (t ) e - st dt 0 ลาปลาสทรานฟอรม 133 ดังนั้นจะไดวา ฅ F (s ) = ๒ a e - st dt 0 =- s e [ ] a -st ฅ 0 ดังนั้นจะไดวา a F (s ) = s เราจะเห็นวาคาที่ไดจะเปลี่ยนแปลงไปจากคาฟงชันขั้นบันไดหนึ่งหนวย คือเพียงแตคูณคาขนาด a เพิ่มเขาไปเทานั้นเอง ตัวอยางที่ 4.1 จากฟงกชันที่กําหนดใหในดานลาง จงใชหลักการการเปลี่ยนรูปลาปลาสเพื่อเปลี่ยนโดเมนของ ฟงกชันดังกลาวใหอยูในโดเมนของ s f (t ) = e at วิธีทํา: จากสมการแสดงการเปลี่ยนรูปลาปลาสดังแสดงในดานลางคือ ฅ F (s ) = ๒ f (t ) e - st dt 0 ดังนั้นจะไดวา ฅ F (s ) = ๒ e at e - st dt 0 ฅ = ๒ e ( a - s )t dt 0 = 1 a-s [ e ( a - s )t ] ฅ 0 1 = (0 - 1) a-s ดังนั้นจะไดวา 1 1 F (s ) = - = ANS a-s s-a 134 ลาปลาสทรานฟอรม 4.2.2 การใชการเปลี่ยนรูปลาปลาส (Using Laplace Transforms) แมวาการเปลี่ยนรูปลาปลาสจะมีพื้นฐานจากการหาคาจากปริพันธ แตในทางปฏิบัติแลวไมจําเปนที่ จะตองหาคาปริพันธสําหรับการเปลี่ยนรูปทุกครั้ง แตเราจะพยายามจัดรูปของฟงกชันดังกลาวใหอยูในรูป มาตรฐาน แลวใชกฎพื้นฐานของการเปลี่ยนรูปลาปลาสมาชวยในการเปลี่ยนรูป สําหรับกฎพื้นฐานตาง ๆ มี ดังนี้คือ 1) กฎการบวก เมื่อนําฟงกชันสองฟงกชันมารวมกัน คือ f1 (t ) + f 2 (t ) เมื่อมีการเปลี่ยนรูปลาปลาส ฅ แลวจะเปลี่ยนเปน F1 (s ) + F2 (s ) = ๒0[ f1 (t ) + f 2 (t )] e -st dt 2) กฎการลบ เมื่อนําฟงกชันสองฟงกชันมาลบกัน คือ f1 (t ) - f 2 (t ) เมื่อมีการเปลี่ยนรูปลาปลาส ฅ แลวจะเปลี่ยนเปน F1 (s ) - F2 (s ) = ๒0 [ f1 (t ) - f 2 (t )]e - st dt 3) การคูณ เมื่อมีการนําฟงกชันใดๆ มาคูณกับคาคงที่ a คือ af (t ) เมื่อมีการเปลี่ยนรูปลาปลาส ฅ แลวจะเปลี่ยนเปน aF1 (s ) = ๒0 af1 (t ) e - st dt 4) สําหรับฟงกชันใดๆ ที่ถูกหนวงหรือทําใหเลื่อนดวยเวลา T (Time delay) คือ f (t - T ) เมื่อมีการ ฅ เปลี่ยนรูปลาปลาสแลวจะเปลี่ยนเปน e -Ts F (s ) = ๒0 f (t - T ) e -st dt เมื่อ T ณ 0 df (t ) 5) สําหรับฟงกชันอนุพันธอันดับหนึ่งใดๆ คือ เมื่อมีการเปลี่ยนรูปลาปลาสแลวจะเปลี่ยนเปน dt sF (s ) - f (0) เมื่อ f (0) เปนคาของ f (t ) เมื่อ t=0 d 2 f (t ) 6) สํ า หรั บ อนุ พัน ธ อัน ดั บ สองใดๆ คื อ เมื่ อมี ก ารเปลี่ ยนรู ป ลาปลาสแล วจะเปลี่ ยนเป น dt 2 df (0 ) s 2 F (s ) - sf (0) - เมื่อ f (0 ) และ df (0) เปนคาฟงกชันเมื่อ t=0 dt dt d n f (t ) 7) สํ า หรั บ อนุ พัน ธ อั น ดั บ n ใดๆ คื อ เมื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นรู ป ลาปลาสแล ว จะเปลี่ ย นเป น dt n d n-1 f (0) s n F (s ) - s n-1 f (0) -... - dt n-1 8) สําหรับปริพันธของฟงกชันใดๆ ระหวางเวลา 0 ถึง t คือ ๒0 f (t )dt เมื่อมีการเปลี่ยนรูปลาปลาส t แลวจะเปลี่ยนเปน 1 F (s ) s สําหรับตารางที่ 4.1 ดังแสดงในดานลาง จะใหคาทั่วๆ ไปของการเปลี่ยนรูปลาปลาส ที่ตรงกันกับ ฟงกชันของเวลา ลาปลาสทรานฟอรม 135 ตารางที่ 4.1 แสดงการการเปลี่ยนรูปลาปลาสที่อยูในรูปทั่วๆไป ที่ตรงกันกับฟงกชันของเวลา ที่มา: Bolton, W. (1998); Dorf, R.C., et al. (2008) Laplace transform Time function Description of time function 1 δ(t ) Unit impulse 1 u(t ) Unit step function s e - st Delay unit step function s 1 - e - st Rectangular pulse of s duration T 1 t Unit slope ramp function s2 1 t2 s3 2 1 e - at Exponential decay s+a 1 te-at ( s + a) 2 n! t n e -at ( s + a) n +1 a 1 - e - at Exponential growth s( s + a) a (1 - e - at ) 2 t- s (s + a) a a2 1 - e -at - ate- at s(s + a) 2 s (1 - at )e - at ( s + a) 2 1 e - at - e - bt ( s + a)(s + b) b-a ab b -at a -bt 1- e + e s ( s + a )( s + b) b-a b-a 1 e -at e -bt + ( s + a)(s + b)(s + c) (b - a)(c - a) (c - a)(a - b) e -ct + (a - c)(b - c) w Sine wave sin wt (s + w2 ) 2 136 ลาปลาสทรานฟอรม ตารางที่ 4.1 (ตอ) แสดงการการเปลี่ยนรูปลาปลาสที่อยูในรูปทั่วๆ ไปที่ตรงกันกับฟงกชันของเวลา Laplace transform Time function Description of time function s cos wt Cosine wave ( s + w2 ) 2 w Damped sine wave e -at sin wt ( s + a) 2 + w 2 s+a Damped cosine wave e -at cos wt ( s + a) 2 + w 2 w2 1 - cos wt s ( s 2 + w2 ) w2 w ; z

Use Quizgecko on...
Browser
Browser