1.MediaLiteracy002204-1-2024.pdf
Document Details
Uploaded by FoolproofPalladium
Naresuan University
Tags
Full Transcript
การสื่อความหมาย (Communication) เป็ นคาที่มีรากศัพท์ท่ี เกิดขึ้นตอนปลายของยุคอังกฤษช่วงกลาง เป็ นศัพท์ด้ังเดิมใน ภาษาฝรั่งเศส คือ Communication และมาจากคานามในภาษา ละตินว่า "communes" หมายถึง "พร้ อมกัน" หรือ "ร่วมกัน" (common) แ...
การสื่อความหมาย (Communication) เป็ นคาที่มีรากศัพท์ท่ี เกิดขึ้นตอนปลายของยุคอังกฤษช่วงกลาง เป็ นศัพท์ด้ังเดิมใน ภาษาฝรั่งเศส คือ Communication และมาจากคานามในภาษา ละตินว่า "communes" หมายถึง "พร้ อมกัน" หรือ "ร่วมกัน" (common) และมาจากคากิริยา Communicare หรือการแบ่งปัน (to share) หมายความว่า เมื่อมีการสื่อสารระหว่างกันเกิดขึ้น การสือ่ สาร คนเราพยายามที่จะสร้ าง "ความพร้ อมกันหรือความร่วมกัน" ทางด้ านความคิด เรื่องราวเหตุการณ์ ทัศนคติ ฯลฯ กับบุคคลที่ เรากาลังสื่อสารด้ วยนั้น ดังนั้น การสื่อสารจึงหมายถึงการ ถ่ายทอดเรื่องราว การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแสดงออก ของความคิดและความรู้สกึ ตลอดรวมไปถึง "ระบบ" เพื่อการ ติดต่อสื่อสารข้ อมูลซึ่งกันและกัน เดวิดโต (Devito, J. A. ,1994) กล่าวว่า การสือ่ สาร คือ กระบวนการ นักวิชาการ ถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารจากผูส้ ่งสารไปยัง หลาย ผูร้ บั สารผ่านช่องทางการสือ่ สารและอาจจะ มหาวิทยาลัย ถูกรบกวน กระบวนการจะเสร็จสิ้นลงเมือ่ ข้อความถูกส่งจากผูส้ ่งสารไปยังผูร้ บั สาร เรียบร้อย อธิบายด้ วยทฤษฎีพ้ ืนฐานทางด้ านจิตวิทยาว่า การสื่อสาร คือ การ แสดงปฏิสมั พันธ์ทางสังคม (Social interaction) ด้ วยการใช้ สัญลักษณ์และระบบสาร (message system) หรือ เบเรลสันและสตาย เนอร์ (Berelson and Steiner) นิยามการสื่อสารว่าเป็ น “พฤติกรรม” จอร์จ เกริบเนอร์ (act) หรือกระบวนการถ่ายทอดข้ อมูล ข่าวสาร ความคิด อารมณ์ ความรู้สกึ ทักษะ ฯลฯ โดยการใช้ สญ ั ลักษณ์ ซึ่งอาจเป็ นคาพูด หนังสือ (George ภาพ ตัวเลข กราฟ ฯลฯ และการสื่อสารส่งผลกระทบต่อพฤติกรรม ต่าง ๆ โดยเฉพาะพฤติกรรมความรุนแรง อย่างไรก็ตามข้ อโต้ แย้ งของ Gerbner, นักวิชาการต่อการนิยามความหมายของเกริบเนอร์ซ่ึงมองเรื่องการ เข้ ารหัสในการสื่อสารเป็ นวัจนภาษาเพียงอย่างเดียว หากมีการสื่อสาร 1967) แบบอวัจนะภาษา เช่น การแสดงท่าทางไม่พอใจผ่านสีหน้ าสิ่งนี้ นักวิชาการอื่นๆ ก็โต้ แย้ งว่าเป็ นการสื่อสารหรือไม่? คาตอบ คือ การ สื่อสารแบบอวัจนภาษาเป็ นหนึ่งในประเภทของการสื่อสาร แม้ จะเป็ น การคิดในใจมิได้ ส่งออกไปหาผู้รับสารก็มีคุณลักษณะเป็ นการสื่อสาร ภายในตัวบุคคล คุณลักษณะขององค์ประกอบทางการสือ่ สาร Channel กระบวนการ สื่อสาร การรูเ้ ท่าทัน ทุกคนล้วนสามารถเข้าถึงสือ่ ได้ (Accessibility) สือ่ ตามหลัก สามารถวิเคราะห์สอื่ ตามหลักและทฤษฎีทางการ สือ่ สาร (Analysis) สากล (Center ประเมินสือ่ ตามแนวทางของการวิพากษ์และ for Media การศึกษาสือ่ (Evaluate) Literacy, สามารถเป็ นผูท้ ีผ่ ลิตสือ่ ได้ในหลากหลายรูปแบบ 2008) (Create) Access Create Literacy Analyze Definitions Evaluate การเข้าถึงสื่อ อย่าง เหมาะสม นิยาม ความหมายและ การสร้างสรรค์สื่อ เพื่อแสดงให้เห็น เท่าทัน กว้างไกล การวิ เคราะห์ เนื้ อหาสื่ออย่าง องค์ประกอบ ระดับการกลายเป็ น เหยื่อของผูร้ บั สาร เข้าใจและเท่าทัน ลึกซึ้ง การประเมิ นและ สังเคราะห์เนื้ อหา ในการสื่อสารได้ อย่างลึกซึ้ง Access การสือ่ สารในชีวติ วงจรการ Create Analyze รูเ้ ท่าทัน สร้างสรรค์การสือ่ สาร การวิเคราะห์สอ่ื สาร การสือ่ สาร Evaluate ประเมินคุณค่าการสือ่ สาร นิยามความหมายและองค์ประกอบ ACCESS > การเข้าถึง - HARD ACCESS สือ่ อย่าง - EASY ACCESS เหมาะสม การวิเคราะห์ ANALYSE เนื้ อหาสื่ออย่าง การวิเคราะห์เนื้ อหาสื่ออย่างเข้าใจ เข้าใจและเท่าทัน และเท่าทัน EVALUATE การประเมินและ สั งเคราะห์ เนื้อหาในการ สื่ อสารได้ อย่ างลึกซึ้ง การสร้ างสรรค์ สื่อเพื่อแสดง CREATE ให้ เห็นระดับการกลายเป็ น เหยื่อของผู้รับสาร จิตวิทยา หมายถึง การจูงใจ (Motivation) การโน้มน้าวใจ (Persuasive) การเปลี่ยนแปลงความคิด (Cognitive) ความรู้ (Knowledge) ทัศนคติ (Attitude) ที่จานาไปสู่ พฤติกรรม (Behaviour) ที่เป็ นขั้นสุดท้ายและใช้ เวลานานในการเปลี่ยนแปลง โดยจะต้ องเข้ าใจ พฤติกรรมมนุษย์ ที่ประกอบด้ วยความเคยชิน (used) วัฒนธรรมและสภาพแวดล้ อม (Environment) รวมทั้งปัจจัยที่จะทาให้ เป็ นแรงกดดัน แรงขับ (Drive) ทั้งด้ านเศรษฐกิจ และ สภาพจิตใจ ความหมายของแรงจูงใจ (ภาษากรีก การโน้มน้าวใจ “Movere”, อ้ างใน Kidd, 1973, (Persuasive) p.101) หรือในภาษาอังกฤษ คือ คาว่า “to move” แปลว่า สิ่งที่โน้ มน้ าวหรือ พยายามทาให้ บุคคลเกิดการกระทา หรือปฏิบัติการ (To move a person to https://forms.gle/nGoeSdCrnAemsio46 a course of action) การรูเ้ ท่าทันการสือ่ สารเพือ่ การโน้มน้าวใจจะเป็ นการเข้าใจพื้นฐานทัง้ หมดของ การสือ่ สารและนาไปสู่การออกแบบสารเพือ่ ให้เกิดการโน้มน้าวใจเพือ่ ลดการ ใช้สอ่ื ในทางไม่สร้างสรรค์ได้มากกว่าการให้ทกุ คนหยุดใช้สอ่ื ในทางไม่ สร้างสรรค์ เพราะการโน้มน้าวใจเป็ นการทาให้เกิดการคล ้อยตามและยอมรับ โดยปราศจากการข่มขู่ และการบังคับ (Coercion) หรือมิได้เป็ นเพียง การรูแ้ ละเข้าใจในเชิงทฤษฎีการวิพากษ์วจิ ารณ์แต่ไม่สามารถเปลีย่ นแปลง หรือจัดการกับปัญหาทีเ่ กิดขึ้นได้อย่างแท้จริง และเพือ่ ให้เกิดความเข้าใจ วิธกี ารรูเ้ ท่าทันการสือ่ สารเพือ่ การโน้มน้าวใจในการสร้างปฏิสมั พันธ์ทด่ี ี ระหว่างมนุษย์ ไม่ใช้การสือ่ สารเพือ่ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสุขภาพและ จิตใจของผูค้ น จึงต้องทาความเข้าใจโครงสร้างทางสังคมทัง้ ในระดับกลุม่ ครอบครัว สังคม ชุมชน โดยมีปจั จัยแวดล ้อมทางวัฒนธรรม สังคมเป็ น บริบทแวดล ้อมให้เกิดการเปลีย่ นแปลงของพฤติกรรมมนุษย์ การโน้มน้าวใจ หมายถึง ความ ้ ตังใจในการสื ่ อสารที ่ อท จะมี ิ ธิพล ื่ เหนื อผูอ้ น ่ การสือสารของมนุ ่ ้าง ษย ์ทีสร ้ ขึนมาเพื อให่ ้มีอท ิ ธิพลเหนื อ ื่ ผูอ้ นโดยการเปลี ่ ยนความเชื อ่ ค่านิ ยมหรือทัศนคติ (Simons) การโน้ม น้า วใจ เพื่ อเปลี่ยนแปลง (Change) ความคิ ด เห็ น ที่ ไม่ ล งรอยกัน หรือ ทาให ค ้ วามคิ ด เห็ น ที่ ไม่ ล งรอยกัน นั้ น สลายไป (Neutralize) เพื่ อก่ อ เกิด (Crystallize) ความคิด เห็ น ในทางที่เป็ นประโยชน์ต่ อ ตัว เองหรือ ต่ อ หน่ วยงานหรือ เพื่ อร ก ั ษา (Conserve) ความ คิ ด เห็ น ที่ ดี อ ยู่ น้ั นแล ว้ ให ค ้ งอยู่ ต ลอดไป คัท ลิ บ และเซ็ น เตอร ์ (CUTLIP AND CENTER) https://www.facebook.com/NetflixTH/videos/767277477319693/ การโน้มน้าวใจ หมายถึง ความ ตัง้ ใจในการสือ่ สารทีจ่ ะมี อิทธิพลเหนือทางเลือก (Simons,2012) สรุป ความหมายของการโน้มน้าวใจ ว่า หมายถึง การสือ่ สารของ มนุษย์ทส่ี ร้างขึน้ มาเพือ่ ให้ม ี อิทธิพลเหนือผูอ้ ่นื โดยการ เปลีย่ นความเชื่อค่านิยมหรือ ทัศนคติ การโน้ ม น้ า วใจ เพื่ อเปลี่ ยนแปลง (Change) ความคิ ด เห็ นที่ ไม่ ล งรอยกัน หรือ ทาให ค ้ วาม คิ ด เห็ นที่ ไม่ ล งรอยกัน นั้ นสลายไป (Neutralize) เพื่ อก่ อ เกิ ด (Crystallize) ความคิ ด เห็ นในทางที่ เป็ น ประโยชน์ต่ อ ตัว เองหรือ ต่ อ หน่ วยงานหรือ เพื่ อร ก ั ษา (Conserve) ความคิ ด เห็ นที่ ดี อ ยู่ น้ั นแล ว้ ให ค ้ งอยู่ ต ลอดไป คัท ลิบ และเซ็น เตอร ์ (CUTLIP AND CENTER) Easy Access Hard Access https://www.youtube.com/watch?v=3EumuFXJ_s4 https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=pfbid0krnWox3gR4xoGWj77MaScEFPs31zXLGYjzfJdLCUr7JAFjKUeoy PFemnDzZZds9Tl&id=100020875942615 โดนกระทา ทาเขา TOXIC SELFIE SELF ESTEEM เขาทาไม ส่องเขา เป็ นแบบนัน้ เกลียดเขา คาถาม https://youtu.be/3b3c8qsbJxY รุ นแรงในสื่ อ หรื อสื่ อสะสมความรุ นแรง CODING Phineas Gage) ผูม้ สี มองกลีบหน้าด้านซ้ายเสียหาย เนื่องจากแท่งเหล็ก ทีแ่ ทงทะลุศีรษะของเขาในอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขึ้นในปี ค.ศ. 1848 อาการทีป่ รากฏก็คือ แม้วา่ นายเกจจะมีความจา การพูดจา และการเคลือ่ นไหวทีป่ กติ บุคลิกของเขานัน้ เปลีย่ นไปอย่างหน้ามือเป็ นหลังมือ เขากลายเป็ นคนทีฉ่ ุนเฉียว โกรธง่าย และขาด ความอดทน ล ้วนแต่เป็ นบุคลิกภาพทีเ่ ขาไม่ได้มมี าแต่เดิม มีงานวิจยั จานวนมากทีม่ ่งุ เพือ่ เข้าใจบทบาทของ PFC ในความผิดปกติทาง ประสาท ความปกติหลายๆ อย่าง โรคจิตเภท โรคประสาทสองขัว้ (bipolar disorder) และ โรคสมาธิสนั้ (attention deficit hyperactivity disorder) มีความสัมพันธ์กบั การทางานผิดปกติของ PFC เพราะฉะนัน้ การค้นพบการรักษาเยียวยาความผิดปกติเหล่านัน้ จะมีได้ก็ เพราะสมองส่วนนี้ https://www.youtube.com/watch?v=KFV dHDMcepw&list=PLJicmE8fK0EgogMq DYMgcADT1j5b911or&index=2 ทักษะการสือ่ สาร การฟัง และการส่งสาร การส่งสารในแต่ละครัง้ จะต้องตรวจสอบความถูกต้องทางภาษา โดยเฉพาะจากโปรแกรมทาง คอมพิวเตอร์ในการสะกดคาแต่ละคา หรืออาศัยบุคคลในการตรวจทานความถูกต้อง บางคาอาจจะฟัง แล้วคล้ายกันก็ตอ้ งระวัง โดยเฉพาะภาษาไทย กรณีของการเล่นคา หรือการตีความหมายของคา เช่น การตีความหมายของคาในทางกฎหมาย อาจจะต้องดูวา่ ความหมายนัน้ เปลีย่ นแปลงหรือสามารถมองไป อีกด้านได้หรือไม่ กรณีการเล่นคาหรือการใช้ความหมายเพี้ยน หรือใช้ช่องว่างของคานัน้ อยู่ในเหตุการณ์ วิกฤตของประเทศไทย เมือ่ เกิดมีความขัดแย้งระหว่างบุคคลสองฝ่ าย ฝ่ ายหนึ่งคือ นายกรัฐมนตรี และ อีกฝ่ ายเป็ นฝ่ ายค้านกลุม่ ชุมนุมประท้วงทีเ่ ห็นด้วยกับการให้นายกรัฐมนตรีลาออก db wm vvw QO Alphabet and the illusion. STORY TELLING Case Pre-Learning กระบวนการหาตัวผูก้ ระทาผิด (Ad hominem) หรื อการโจมตีที่ตวั บุคคลจากเรื่ องราวที่เกิดขึ้น สร้าง สถานการณ์และเหตุการณ์แวดล้อม นักข่าวจะต้องสื บสาวข้อมูลและพิจารณาอย่างละเอียด รอบคอบก่อนนาเสนอ หรื อข่าวมีมูล แม้วา่ ในทาง จรรยาบรรณการสื่ อสารแล้วสื่ อจะต้องปฏิบตั ิต่อทุกคน อย่างเท่าเทียมกัน อะไรก็ตามที่ให้กบั ใครก็ตาม วิเคราะห์ สื่อ การสื่อสารในยุคที่ส่อื เข้ าถึงจิตใจและกาหนดพฤติกรรมของผู้คน ได้ ตลอดเวลา (Everytime) ทุกสถานที่ (Everywhere) แม้ ร่างกายจะอ่อนเพลียและต้ องการการพักผ่อน แต่ส่อื ยังสามารถทา ให้ คนยอมต่อต้ านและขัดขืนหรือที่เรียกว่า “ฝื นไม่ยอมหลับไม่ ยอมนอน” ได้ ตัวอย่าง การใช้ ส่อื เพื่อการเล่นเกมส์ (Games) ที่ ออกแบบและสร้ างสรรค์ตัวผู้เล่นให้ ไปอยู่ในเกมส์ สร้ างบุคลิก บทสรุป ท่าทางและคาพูดแบบเดียวกับที่มนุษย์เป็ น และให้ ผ้ ูเล่นเป็ นผู้ เลือกตัวเล่นให้ เข้ ากับบุคลิกของผู้เล่น พร้ อมกับสามารถเปลี่ยน เสื้อผ้ า ผม และท่าทางที่ทาให้ เข้ าไปเป็ นตัวละครตัวหนึ่งในเกมส์ นั้น (Massively-Multiplayer Role-Playing Online Game :MMRPOG) เกิดการสื่อสารหลายทางผ่านห้ องสื่อสารออนไลน์ การสื่อสารที่สามารถตอบสนองความรู้สกึ และความต้ องการแม้ จะไม่เห็น หน้ าหรือรู้จักตัวตนระหว่างกันในเกมส์ แต่ต่างฝ่ ายต่างยอมรับตัวตนของกัน และกันผ่านจินตนาการเสมือนว่าผู้รับสารอีกฝ่ ายนั้นเป็ นไปตามที่ตนเองนึก คิดในใจว่าเป็ นแบบนั้น การได้ เล่นเกมส์กบั คนในโลกออนไลน์จึงเป็ น เหมือนกับการเล่นกับเพื่อนที่มีจานวนมาก ทั้งที่เป็ นเพื่อนที่ร้ จู ักกันใน โรงเรียน ในชุมชน ในที่ทางาน หรือเป็ นเพื่อนที่มาจากสถานที่แตกต่างกัน และมีการตั้งเงื่อนไขในการเล่นเกมส์ว่าหากสมาชิกในกลุ่มยังไม่เลิกเล่นก็ บทสรุป จะต้ องเล่นต่อเพื่อช่วยเหลือเพื่อนในกลุ่ม หากออกจากกลุ่มไปการกลับเข้ า ไปเป็ นสมาชิกในกลุ่มอีกครั้งจะเกิดปัญหาทางความรู้สกึ ต่อกัน (Chin, S.W. and Wen, B.C., 2006 และ Kimberly, Y., 2009) ผลกระทบที่ตามมา มิใช่มีเพียงเฉพาะในด้ านความบกพร่องของการสมาธิในการทางาน และการ ไม่อยากออกไปทางานหรือเรียนหนังสือดังที่ปรากฏในงานวิจัยจานวนมาก ยังส่งผลต่อการยอมรับนับถือตนเอง การมีคุณค่าในตนเอง นาไปสู่ภาวะ ความเครียดและปัญหาซึมเศร้ าหากยุติการเล่นเกมส์อย่างฉับพลัน บทสรุป แบบทดสอบ 1 ฟังว่าเขาพูดหมายถึงอะไร? มากกว่า “ฟังว่าเขาพูดอะไร” เพราะปฏิทนิ มายาสิ้นสุด โลกแตก 2012 ฮาโร แค้มปิ้ ง เป็ นคนที่เสี ยเงิน ฟรี เพราะวันสิ้ นโลกไม่ได้ เกิดขึ้นนัน่ เอง May be an image of 1 person and text that says "Small talk Fake News Fake news is when a news story is false or at least misleading. Often, fake news is used as clickbait to get readers to click on an article and visit a website. can't believe this! This article is saying there is a moose running around the Empire State building! Hmm. Where are you reading that? That doesn't sounds like it could be true. It could be fake news. AE AMERICAN ENGLISH" https://fb.watch/oOcmDG2Hc4/ AI Donald Trumps อะไรที่ตรงข้ามกับรัฐบาล Fake - ข่าวปลอม Fake news - Misinformation ข้อมูลที่ผดิ ผิดโดยไม่เจตนา ตก definitionsการ เจตนาบิดเบือนข้อมูล หล่น พลาด นั้น ๆ อย่างตั้งใจ - Propaganda โฆษณาชวนเชื่อ - Disinformation ข้อมูลที่บิดเบือน การให้ขอ้ มูลผิด ๆ เพราะไม่รู้จริ งในเรื่ องนั้น ๆ เช่น น้ ามะนาวรักษาโควิด ประเภทข่าวปลอม คุณลักษณะ เนื้อหาที่สร้ างขึ้น (Fabricated เนื้อหาข่าวที่เป็ นเท็จทั้งหมด content) าวที่มีการบิดเบือนจากข้ อเท็จจริงหรือเป็ นการ เนื้อหาที่มีการจัดการ(Manipulated เนืสร้้ อางขึหาข่้ นจากจิ นตนาการเช่นพาดหัวข่าวที่ต้องการสร้ าง content) เนื้อหากระตุ้นอารมณ์เพื่อเรียกร้ องความสนใจจากผู้อ่าน หรือผู้ชมหรือที่เรียกว่า “พาดหัวเรียกแขก” (Click bait) เนื้อหาเป็ นการแอบอ้ างแหล่งข่าวที่แท้ จริงเช่นการใช้ ย่หี ้ อ เนื้อหาแอบอ้ าง (Imposter หรือแบรนด์ขององค์กรที่น่าเชื่อถือหรือมีช่ือเสียง content) เนื้อหาหลอกลวง (Misleading content) ประเภทข่าวปลอม คุณลักษณะ เนื้ อหาเป็ นการแอบอ้างแหล่งข่าวที่ เนื้อหาเป็ นการใช้ ข้อมูลเพื่อหลอกลวงให้ แท้จริงเช่นการใช้ยหี่ อ้ หรือแบรนด์ หลงเชื่อเช่นการนาเสนอความคิดเห็นในรูป ขององค์กรทีน่ ่าเชื่อถือหรือมีชื่อเสียง ของข้ อเท็จจริงบริบทปลอมในการ เนื้ อหาหลอกลวง(Misleading เชื่อมโยง(False context of content) connection) เนื้ อหาทีถ่ ูกต้องตามข้อเท็จจริงเช่นการ เนื้อหาเป็ นการนาเสนอข่าวในลักษณะที่ขาขันหรือ พาดหัวข่าวในบทความไม่ได้สะท้อน ในลักษณะที่เหมือนเป็ นข้ อเท็จจริงแต่แท้ จริงเป็ น ข่าวปลอมข่าวประเภทนี้มักจะมีเจตนาไม่ได้ ต้งั ใจ เนื้ อหาของข่าวจริงการเสียดสีและ ที่จะหลอกผู้รับสารแต่เป็ นการสร้ างขึ้นเพื่อใช้ ใน ล้อเลียน(Satire and parody) การเสียดสีล้อเลียน “แสตมป์ มรณะ” หรืออาจเรียกว่า กระดาษเมา กระดาษมหัศจรรย์ และให้ผปู้ กครองระมัดระวังไม่ให้บุตรหลานไปใช้หรือ ตกเป็ นเหยือ่ ของทุรชนทีล่ ่อลวงให้ใช้นนั ้ Fake news and the Rashomon Effects ลองแต่งเรื่องแบบราโชมอน Subjective: ความคิด ความรู ้สึก Objective: ข้อเท็จจริ ง หลักฐาน Perception Bias - ใครก็ส่งได้ - กระบวนการไม่ชดั เจน - เอาประเด็นมาเพื่อให้ตวั เองได้มีพ้นื ที่ทางสังคมออนไลน์ “หิวแสง” - จานวนของแหล่งข่าว ที่ต่างก็มีความน่าเชื่อถือมีหลากหลายมากมาย - ลงชื่อ บัตรประชาชน ก่อนจะเปิ ดเพจเหมือนการสร้างเว็บไซต์ ปัญหาของการเกิด Fake news ชายผู้ยากจนถูกตัดสิ นให้ "โดนประหารชี วติ ด้ วยความอดอยาก" ในข้ อหาขโมยขนมปังก้อน หนึ่งในสมัยพระเจ้ าหลุยส์ ที่ 14 ในฝรั่งเศส ผู้หญิงคนนีเ้ ป็ นลูกสาวคนเดียวของเขาและเป็ นแขก คนเดียวในห้ องขังของเขา เธอได้ รับอนุญาตให้ ไป เยีย่ มเขาทุกวัน แต่ ถูกตรวจตราอย่ างหมดจดจนไม่ มีอาหารติดตัวเข้ ามา เมื่อผ่านไป 4 เดือนชายคนดังกล่าวยังคงรอดชีวติ โดยไม่ มีนา้ หนักลดลงเจ้ าหน้ าทีร่ ้ ู สึกงุนงงและเริ่ม สอดแนมเธอในห้ องขังและด้ วยความประหลาดใจ อย่ างทีส่ ุ ดพบว่ าเธอให้ นมลูกต่ อพ่ อของเธออย่าง เต็มทีเ่ พื่อแบ่ งปันนมของลูกน้ อย https://youtu.be/2Zq8z1xHcBk?si= Lp2T3wLJfoul03Xi การเข้าถึงสือ่ ได้ ACCESS > การเข้าถึง - HARD ACCESS สือ่ อย่าง - EASY ACCESS เหมาะสม 60 50 LINE, 50 Prosumer Metaverse, 44 40 YouTube, 38 TikTok, 30 Media Access 30 (2023) 20 10 Twitter, 8 0 LINE Metaverse YouTube TikTok Twitter จากเสรีภาพในการสือ่ สาร สู่กรณีนาเสนอสิทธิเสรีภาพทีห่ ลากหลาย freedom of speech and libel cases. สู่ฐานันดรทีส่ ใี นสังคม fourth estate และทาหน้าทีเ่ ป็ น หมาเฝ้ าบ้านให้สงั คม acting as a watchdog เขียนพิมพ์ สะกดผิด ตีความผิด ใสข ่ ้อมูลผิด ผิดไปหมด Distortion message ขาว ข่าว ข้าว Media Maker https://www.thairath.co.th/news/sustainable/2690492?fbclid =IwAR1GsV_UZqPnS_d7tpINUe3r_INlaTZeqCI4skkOU0ms9 bGDiha_95ppKSs น่ าสนใจ, เหตุการณ์สาคัญ, สิง่ ที่เกิดขึ้นและประชาชนให้ความสนใจ อะไร บางอย่างที่เกิดขึ้นแล้ว อะไรก็ได้ท่ปี ระชาชนกล่าวขานหรือวิพากษ์วจิ ารณ์กนั > ความหมายของข่าว Social Media Everyone is การรายงานเหตุการณ์ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นที่เกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ เป็ นสิ่งที่ประชาชนควรให้ความสนใจเพราะเป็ น self news เรื่องราวหรือเหตุการณ์ท่มี ีผลกระทบต่อตนเอง เหตุการณ์ท่ผี ิดปกติวสิ ยั ผิดธรรมชาติ มีความลึกลับซับซ้อน มีผลกระทบ ต่ออารมณ์ของผูร้ บั ข่าว มีความผูกพันกับชีวิตและความเป็ นอยูข่ องมนุ ษย์ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมโดยส่วนรวม reporter และเป็ นเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นใหม่และยังไม่เป็ นที่รูจ้ กั > Everyone is self news reporter ข่าว รายงานข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจนความคิดเห็นจากบุคคลระดับต่างๆ ซึ่งมีความสาคัญ (Significance) และเป็ นที่น่าสนใจ (Interest) อันมีผลกระทบต่อคนหมู่มากในชุมชน สังคม ประเทศ โลก รายงานในสถานการณ์และเวลาที่จากัด ได้รบั การคัดเลือกและมีคณ ุ ค่าทางข่าว คุณลักษณะของข่ าวมี 3 องค์ ประกอบ คือ เหตุการณ์ ข้ อเท็จจริง (Facts) ความน่ าสนใจ (Interesting) และผู้รับสารจะต้ องให้ ความสาคัญ (Receivers) คุณลักษณะและ Interest มีอยู่ 9 ประเภท คือ struggle การต่ อสู้ องค์ ประกอบของข่ าว Romance ชีวติ ราวกับนิยาย Mystery ความลึกลับ Adventure การผจญภัย Unusualness ความ ผิดปกติ Human being ความเป็ นมนุษย์ Animals เกีย่ วกับสั ตว์ Children เกีย่ วกับเด็ก Amusement ความบันเทิง Timeliness: ความสดใหม่ทนั สมัย Proximity/ Nearness: ความใกล้ชิด ความสัมพันธ์ใกล้ชิด ทัง้ ด้านร่างกายและจิตใจ องค์ ประกอบของข่ าว (Elements of Prominence: ความเด่น บุคคล เหตุการณ์ สถานที่ วัตถุ news) Oddity/ Unusualness: ความแปลกประหลาด Consequence: ผลกระทบกระเทือน ต่อประชาชนจานวนมากทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง Conflict: ความขัดแย้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม Suspense/ Mystery: ความมีเงือ่ นงา ลึกลับซับซ้อน ขุดคุย้ ตีแผ่ Human Interest: มนุษย์สนใจ เช่นอาชญากรรม มีความรูส้ กึ ร่วม สะเทือน องค์ประกอบของข่าว อารมณ์ เห็นอกเห็นใจ เศร้าโศก (Elements of Sex: เพศ ถ่ายภาพ ข่มขืน นางงาม นางแบบ เพศทีส่ าม แต่งงานต่างเพศ news) Amusement: ความขบขัน Change: ความเปลีย่ นแปลง Progress: ความก้าวหน้า เอาชนะธรรมชาติ ความถูกต้อง (Accuracy) ชื่อ นามสกุล อายุ อาชีพ ยศ หน้าที่ สถานที่ เวลา วันเดือน รายงาน ข้อเท็จจริง มิใช่ นัง่ เทียนเขียน ความสมดุลของข่าว (Balance/Fairness) นาเสนอให้ครบทุกด้าน คุณภาพของข่าว ความเป็ นกลาง (Objectivity) กะทัดรัดและชัดเจน (Simplicity, Conciseness and clearness) กลมกลืน ดึงดูดใจ ให้อยากอ่านตัง้ แต่ตน้ จนจบ ความสดและทันต่อเหตุการณ์ (Recentness) วินาทีต่อวินาที (LIVE) ค.ศ. 1984 อาพล ลาพูน รับบทเป็ น “นา้ พุ” ภาพยนตร์ท่สี ร้ างขึ้นจากชีวิตจริงๆ ของครอบครัวๆ หนึ่งที่เอาชีวิตของคนทั้งครอบครัวมาเป็ นตัวอย่างและ ถ่ายทอดออกมาเป็ นวรรณกรรมและภาพยนตร์ได้ อย่าง ซาบซึ้งอารมณ์จนเป็ นที่กล่าวขานกันมากที่สดุ แห่งยุค กากับโดย ยุทธนา มุกดาสนิท ออกฉายราวๆ กลางปี ๒๕๒๗ แต่เป็ นทีน่ ่าเสียดายทีส่ ุวรรณี ไม่ได้ชื่นชม ผลงานเรือ่ งนี้ เนือ่ งจากถูกฆ่าชิงทรัพย์ โดย ฝี มือของเด็กช่างกลเพือ่ ต้องการทรัพย์สินไป ซื้ อยาเสพติด เมือ่ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ ๒๕๒๗ เมือ่ เริ่มเป็ นวัยรุ่น จะมีอาการ "หูทวนลม" กับคนในบ้าน :เป็ นเรื่องทีน่ ่าแปลกใจ เมือ่ สมองเริ่มปรับโครงสร้างให้สนใจรับ ฟังเสียงใหม่ๆ จากนอกบ้านมากกว่า ทาให้เรารูส้ กึ ไม่อยากฟัง คนในบ้าน :มีงานวิจยั ศึกษาเกี่ยวกับวงจรประสาทในสมองของกลุม่ วัยรุ่น อายุ 13 ปี ข้นึ ไป และกลุม่ เด็กอายุตา่ กว่า 13 ปี ปรากฏว่า ผล สแกนสมองวัยรุ่นอายุ 13-17 ปี ชี้วา่ เกิดการเปลีย่ นแปลงเชิง การจดจาสาร โครงสร้างของวงจรประสาทและการทางานของสมอง ซึง่ ต่าง จากตอนเป็ นเด็กอย่างมาก การเล่าสาร :เสียงของคนในครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิง่ เสียงของแม่ ไม่ ทาให้เกิดการกระตุน้ ศูนย์ประมวลผลอารมณ์ ในขณะที่เด็ก ทารกและเด็กเล็กจะสนใจจดจ่อต่อเสียงของแม่อย่างมาก เพราะมีความสาคัญต่อสุขภาพและพัฒนาการด้านต่างๆ ในวัย เยาว์ :ผลวิจยั นี้จะช่วยให้ผูป้ กครองเข้าใจลูกของตัวเองมากชึ้น และ สามารถปรับการเรียนรูใ้ ห้เข้ากับแต่ละช่วงวัยของลูกได้ดขี ้นึ นัน่ เองครับ 3Ms on the Media in Digital Age การวิเคราะห์ สื่อ มีวิธีการค้นหาคาโดยการ keyword ผ่าน search engine อย่างไร? Key index: ต้องมี รูไ้ ด้อย่างไรว่าข้อมูลที่คน้ มานั้นมีระดับความ ทักษะอะไรบ้าง? น่ าเชื่อถือของข้อมูล “....” ค้นเรื่องที่สนใจแล้วทาการเปรียบเทียบข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย นับ จานวนข้อมูลที่พบในแต่ละเว็บไซต์ และนาข้อมูลที่เหมาะสมที่สุดมาตอบคาถามของ วิชาที่เรียน 4. มีทกั ษะในการตีความหมายและความเข้าใจถึง ผลกระทบจากการเผยแพร่ข้อมูลออนไลน์ อย่างไร? 5. มีทกั ษะในการใช้ข้อมูลสัน้ ๆ ที่ได้จาก search Key index: ต้องมี engine อย่างไร? ทักษะอะไรบ้าง? 6. จงแยกแยะข้อมูลที่พบว่าเป็ นข้อมูลใดเป็ นการ แสดงความคิดเห็นส่วนบุคคลที่มีอคติหรือเป็ น ข้อเท็จจริง 7. มีหลักการในการวิเคราะห์เมล์ที่ได้รบั มาเป็ น SPAM หรือเมล์หลอกลวง ประเภทของข้อมูลที่ไม่เป็ นจริง ความหมาย Mis-information ข้อมูลทีเ่ ป็ นเท็จเผยแพร่ออกไปไม่มเี จตนาก่ออันตรายแต่ทาให้เกิดความเข้าใจผิดและความเชื่อทีผ่ ดิ จนก่อให้เกิดผลกระทบวงกว้างและสร้างการรับรูท้ เ่ี ข้าใจผิดไปตลอด ทาให้ผูค้ นอยู่กบั เรื่องราว เหล่านัน้ จนกลายเป็ นเรื่องปกติ Dis-information ข้อมูลทีอ่ าจจะไม่ใช่ขอ้ มูลเท็จ มีเจตนามุง่ ให้เกิดอันตราย สร้างกระแสสังคมและทาให้เกิดการเข้าถึง เว็บไซต์ หริอทีอ่ ยู่ออนไลน์ (Clickbait) Mal-information ข้อมูลทีอ่ าจจะไม่ใช่ขอ้ มูลเท็จ มีเจตนามุง่ ให้เกิดอันตราย ใส่รา้ ยป้ ายสี ละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล ทัง้ ที่ เป็ นข้อมูลทีห่ น่วยงานหรือองค์กรมีหน้าทีด่ ูแล แต่นาไปใช้โดยไม่ได้รบั ความยินยอม หรือ นอกเหนือจากวัตถุประสงค์ หรือไม่เป็ นไปตามความสมัครใจก็ตามและมีการเปิ ดเผยข้อมูลส่วนบุคคล โดยนาเอามาเผยแพร่ในทีส่ าธารณะ แม้จะเป็ นการใช้สงั คมเครือข่ายออนไลน์ในนามส่วนตัวก็ตาม ทัง้ นี้ อาจจะเกิดจากการตีความหมายสารผิดพลาดและเกิดผลกระทบต่อสิทธิส่วนบุคคล แอบอ้างภาพ ข้อความ ตัดต่อภาพ เสียงหรือข้อความ ผูเ้ สียหายสามารถดาเนินคดีตามกฎหมาย PDPAและบาง กรณีสามารถดาเนินคดีตามมาตรา 326, 328 ข้อหาหมิน่ ประมาทได้ Chat GPT สมาชิกเสียค่าใช้จ่ายรายเดือน เดือนละ 20 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 700 บาท) เพือ่ สร้าง BOT AI ส่วนบุคคล โดยกาหนดให้มนั เขียนข้อความ “ด้วยเทคนิคทีจ่ ะช่วยให้ผูค้ นกดเข้าไปอ่านลิงค์และ ดาวน์โหลดสิง่ ต่าง ๆ ทีส่ ่งไปให้” พร้อมฝึ กให้มนั เข้าใจเทคนิคเชิงวิศวกรรมสังคม หรือศิลปะการหลอกลวง ผูค้ นในรูปแบบต่าง ๆ ซึง่ ตัวบอทเอไอดูดซับข้อมูลและองค์ความรูเ้ หล่านี้ได้ในเวลาไม่ก่ีวนิ าที ผลปรากฏว่า มันสามารถสร้างเนื้อหา เขียนอีเมล ข้อความต่าง ๆ ทีม่ จิ ฉาชีพออนไลน์ และสแกมเมอร์ สามารถ นาไปใช้เพือ่ ล้วงข้อมูล และหลอกเงินประชาชนได้ในหลายรูปแบบ ไม่วา่ จะเป็ น อุบายสวัสดีแม่ อุบายอีเมลจาก เจ้าชายประเทศต่าง ๆ เอสเอ็มเอสหลอกล่อให้กดลิงค์ และอื่น ๆ Agenda Setting Theory Public Perception Fakes Events Misinformation Disinformation Realities Media https://fb.watch/lhzQKT2UDY/ Content is King, Timing is Queen Fragmented World à Mass Personalization On-Air Online On-Ground “Opensource” โปรแกรม Asterisk Mr. Mark Spencer Digium Inc. 2542 We have invented near-instant mobile fact checkers that can access all of human knowledge within seconds. And yet, we seem more ignorant now than ever before? https://www.youtube.com/watch?v=d kt-uIbD1Bw วาวา” ศิลปิ นเสมือนมนุ ษย์ สร้างจาก AI Reflection of the communication spiral 1. FACT นําด้วยข้อเท็จจริงทีช่ ดั เจนแหลมคมและหนักแน่ นด้วย ประโยคที่ง่ายๆ มันคงและเป็ ่ นไปได้ทส่ี าํ คัญคือต้องเข้ากับเนื้อ เรื่อง 2. WARN ABOUT THE MYTH เตือนก่อนล่วงหน้าทีข่ อ้ มูลเท็จ (ภาพลวงตา) จะถูกกล่าวถึงในทันทีทนั ใดหลีกเลี่ยงการกล่าวซา้ ข้อมูลเท็จเพราะการทาซ้ําๆ ทาให้ข้อมูลกลายเป็ นจริ ง Debunking 3. EXPLAIN FALLACY อธิบายว่าข้อมูลเท็จนี้นําไปสูค่ วามเข้าใจ ผิดอย่างไรชีใ้ ห้เห็นว่าทําไมข้อมูลเท็จจึงถูกเชื่อว่าเป็ นจริงครัง้ แรก ชีใ้ ห้เห็นว่าเป็ นเท็จอย่างไรและถูกต้องอย่างไร 4. FACT จบด้วยการเสริ มข้อเท็จจริ งหลายๆ ครัง้ ที่เป็ นไปได้แน่ ใจว่า ให้การอธิ บายทีเ่ ป็ นทางเลือกอย่างง่ายๆ ไม่ต้องซ้ําซ้อนและใช้การ อธิ บายที่สมั พันธ์เดียวกันกับข้อมูลเท็จเดิ ม The Debunking Handbook 2020 (Stephan Lewandowsky and others 2020: 4 - 11) “เราคิดว่าการแต่งกายและทรงผมมันไม่ใช่ตวั ชี้วดั ผลการเรียนของเรา สิ่งที่เป็ นปัญหาคือ โครงสร้างของการศึกษาไทยมากกว่า เราอยากให้มีเสรีทรงผมและการแต่งกายภายใน โรงเรียนทุกโรงเรียน ไม่ใช่แค่โรงเรียนเอกชน เหตุใดเราจึงต้องจ่ายแพงกว่าเพื่อแลกกับ อิสรภาพและสิทธิพ้ นื ฐานในเนื้ อตัวร่างกายของเราที่มีติดตัวมาตัง้ แต่เกิด” Practice Policy Media Literacy AI เมื่อโลกการสื่ อสารเข้าสู่ ยคุ ที่คอมพิวเตอร์ จดั การข้อมูลทุกอย่าง Content Analysis การวิเคราะห์เนื้ อหาและการ การรวมข่าวอัตโนมัติ: and Fact-Checking ตรวจสอบข้อเท็จจริง: ผูร้ วบรวมข่าวทีข่ บั เคลือ่ น อัลกอริธมึ AI สามารถใช้ ด้วย AI สามารถให้ วิเคราะห์และตรวจสอบข้อมูล มุมมองทีห่ ลากหลายแก่ โดยเปรียบเทียบกับ แหล่งข้อมูลทีเ่ ชื่อถือได้ วิธนี ้ ี ผูใ้ ช้ในหัวข้อทีก่ าหนด ซึง่ Automated News จะช่วยให้ผูใ้ ช้แยกแยะระหว่าง ช่วยแก้ไขอคติทอ่ี าจ Aggregation เนื้อหาทีถ่ กู ต้องกับเนื้อหาทีท่ า เกิดขึ้นและกรองข้อมูลให้ ให้เข้าใจผิดได้ Deep Fake พัฒนาการด้วยเครื่องมือทีเ่ ก็บและคาสัง่ ภาษาคอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลให้นาเอาถ้อยคา มาติดต่อเป็ นประโยค ออกแบบหน้า ท่าทาง ปากของผูม้ ชี ่อื เสียง (ยังเล่นกับ กลุม่ Prominence) มากกว่าจะ เน้นกลุม่ ไม่มชี ่อื เสียงเพราะคอนเทนต์สร้าง รายได้จากการโอนเงินเข้าบัญชีของนักสร้าง คอนเทนต์ ง่ายกว่า การใช้เครื่องมือราคาถูก นาเอาชิ้นส่วนทัง้ ที่เป็ น วิดีโอ กราฟฟิก เสียง ดนตรี ทัง้ ที่ตงั ้ ใจโพสต์และไม่ตงั ้ ใจโพสต์ ส่วนใหญ่ถกู แอบถ่าย แอบบันทึกภาพและเสียง แต่คน นิยมดูสิ่งที่แอบ และสิ่งที่พลาด เรื่องไม่ดี ทาให้เป็ นที่ ได้รบั ความนิยม อยู่ในกระแส มาประกบตัดต่อจากพวก สร้างคอนเทนต์หารายได้จากการเข้าไปรับชมวิดีโอ ภาพ Cheap Fake เสียง ตัดต่อเรื่องของคนมีชือเสียง ป้ อนข้อมูลให้ Machine learning เรียนรู้ ด้วยคาว่า trending กระแส.... แล้วกลายเป็ น hot issue จนกว่าจะหายไปจากหน้ าจอ และหรือถูกนากลับมาอีก ครัง้ โดย Feed AI หรือจนกว่าจะมีคนกดไลท์ คอมเม้นท์ แชร์ Deepfake Detection: เครื่องมือ AI สามารถพัฒนาเพื่อตรวจจับ Deepfakes ซึ่งเป็ นเนื้ อหาสือ่ ที่มีการดัดแปลงหรือประดิษฐ์ข้ ึน เพือ่ ช่วยให้ Media ผูใ้ ช้ระบุและแยกแยะความแตกต่างระหว่างภาพหรือเสียงที่ Literacy แท้จริงและที่ถกู ดัดแปลง AI Personalized Learning: AI สามารถใช้เพือ่ สร้างประสบการณ์การเรียนรูส้ ว่ นบุคคล โดย ปรับแต่งการศึกษาความรูด้ า้ นสือ่ ให้เหมาะกับความต้องการและ ความชอบส่วนบุคคล User Behavior Analysis: อัลกอริธมึ AI สามารถวิเคราะห์พฤติกรรม ผูใ้ ช้ออนไลน์เพือ่ ระบุรูปแบบทีเ่ กี่ยวข้องกับการ แพร่กระจายของข ้อมูลทีไ่ ม่ถกู ต้องหรือการก่อ Media Literacy ตัวของห้องสะท้อนเสียง ข้อมูลนี้สามารถใช้ เพือ่ พัฒนามาตรการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้ Cybersecurity Measures: AI AI สามารถมีส่วนร่วมในการพัฒนามาตรการ รักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์เพือ่ ป้ องกัน การแฮ็ก การละเมิดข้อมูล และภัยคุกคามทาง ไซเบอร์รูปแบบอืน่ ๆ ทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อ ความสมบูรณ์ของสือ่. Automated Content Curation: แพลตฟอร์มการดูแลจัดการเนื้อหาทีข่ บั เคลือ่ นด้วย AI สามารถ ช่วยให้ผูใ้ ช้คน้ พบเนื้อหาคุณภาพสูง หลากหลาย และเชื่อถือได้ Media Literacy ส่งเสริมการบริโภคสือ่ ทีม่ ขี อ้ มูลและมีความสาคัญมากขึ้น AI Interactive Learning Platforms: AI สามารถปรับปรุงแพลตฟอร์มการเรียนรูเ้ ชิงโต้ตอบโดยการให้ ข้อเสนอแนะแบบเรียลไทม์ แบบทดสอบ และการจาลองเพือ่ ดึงดูดผูใ้ ช้ในการพัฒนาทักษะความรูด้ า้ นสือ่ ของตน Natural Language Processing (NLP): ความสามารถ NLP ใน AI สามารถใช้เพือ่ ทาความเข้าใจและ วิเคราะห์เนื้อหาทีเ่ ป็ นข้อความ ช่วยให้ผูใ้ ช้ระบุความแตกต่าง อคติ Media และกลยุทธ์วาทศิลป์ ทใ่ี ช้ในข้อความสือ่ Literacy Algorithmic Transparency: AI การรับรองความโปร่งใสในอัลกอริธมึ ทีใ่ ช้โดยแพลตฟอร์มสาหรับ การแนะนาเนื้อหาและการเผยแพร่สามารถปรับปรุงความเข้าใจ ของผูใ้ ช้เกี่ยวกับวิธกี ารนาเสนอข้อมูลแก่พวกเขา และส่งเสริมการ รับรูท้ ส่ี าคัญ การสอดแทรกของ AI จริ ยธรรมสื่ อ สื่ อและนักข่ าวใช้ เทคโนโลยี AI เพื่อปรับปรุงการผลิต ข้ อมูล การกระจายข้ อมูล หรื อการเข้ าใจประสิ ทธิภาพของ สื่ อมวลชน การสอดแทรกนีม้ ีผลกระทบต่ อทั้ง กระบวนการผลิตข่ าวและวัตถุประสงค์ ของสื่ อมวลชน. การสร้างข้อมูล การกระจายข้อมูล: การใช้ AI เพือ่ สร้างข้อมูล การใช้ AI เพือ่ ปรับปรุงกระบวนการกระจายข้อมูล, หรือเนื้ อหาสือ่ สิง่ พิมพ์, ข่าว, เช่นการเลือกข่าวหรือเนื้อหาทีส่ อดคล ้องกับผูใ้ ช้. การ หรือวีดีโอ. การสร้างข้อมูลนี้ นาเสนอข้อมูลต้องเป็ นธรรมและปราถนา, และต้อง ต้องมีความโปร่งใสเกี่ยวกับ กระบวนการและวิธีท่ใี ช้ หลีกเลีย่ งการนาเสนอข้อมูลทีท่ าให้เกิดความเป็ นทาง AI เพือ่ ป้ องกันความสับสน การเมืองหรือสร้างความแบ่งแยกระดับ. หรือการเข้าใจผิด AI การตัดสินใจแบบอัตโนมัต:ิ การใช้ AI เพือ่ การตัดสินใจ, เช่นการเลือกข่าวหรือการวิเคราะห์ ข้อมูล. นักข่าวและผูใ้ ช้งานต้องทราบถึงวิธกี ารตัดสินใจและค่านิยม ทางจริยธรรมทีถ่ กู นามาใช้. การตรวจสอบความถูกต้อง: การใช้ AI เพือ่ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลหรือข่าว. นี้เป็ น ขัน้ ตอนสาคัญเพือ่ ป้ องกันการกระจายข้อมูลทีไ่ ม่ถูกต้องหรือ เทีย่ งตรง. การสร้างประสิทธิภาพการผลิตข่าว: การใช้ AI เพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต ข่าว. นี้ตอ้ งมีการสอดคล ้องกับความเป็ นจริยธรรมและ ประสิทธิภาพของสือ่. การสร้างประสิทธิผลในการขายโฆษณา: การใช้ AI เพือ่ การเลือกโฆษณาหรือการวางโฆษณาใน ขณะทีผ่ ูใ้ ช้เข้าถึงเนื้อหา. ควรมีความโปร่งใสเกี่ยวกับวิธที ก่ี าร ตัดสินใจนี้เกิดขึ้น Verification of Sources: ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลที่อา้ งถึง Fact-Checking ในข้อมูลชิ้นหนึ่ง ข้อมูลทีเ่ ชื่อถือได้ควรมาจากแหล่งข้อมูลทีเ่ ชื่อถือได้และเชื่อถือได้ Websites: https://en.wikipedia.org/wiki/List _of_fact-checking_websites Cross-Verification: ข้อมูลได้รบั การตรวจสอบข้ามกับแหล่งทีม่ าหลายแห่งเพือ่ ยืนยันความถูกต้อง แหล่งข้อมูลอิสระและหลากหลายสามารถให้ความเข้าใจปัญหาที่ ครอบคลุมมากขึ้น Contextual Analysis: ผูต้ รวจสอบข้อเท็จจริงจะตรวจสอบบริบททีม่ กี ารกล่าว อ้างหรือให้ถอ้ ยคา บางครัง้ ข้อมูลทีน่ าออกไปนอกบริบทอาจทาให้เข้าใจผิดได้ Checking Quotes and Interviews: Fact-Checking การสัมภาษณ์เพือ่ ให้แน่ใจว่าข้อความเหล่านัน้ ไม่ได้ถกู นาออกจาก Websites: บริบทหรืออ้างอิงผิด https://en.wikipedia.org/wiki/List _of_fact-checking_websites ความท้าทายและข้อจากัด: การตรวจสอบข้อเท็จจริงเผชิญกับความท้าทาย รวมถึงความเร็วของ การแพร่กระจายของข้อมูลและปริมาณเนื้อหาทีแ่ ท้จริง ข้อมูลทีผ่ ดิ บางอย่างได้รบั การออกแบบมาเพือ่ หลอกลวง ทาให้การระบุและ แก้ไขเป็ นเรื่องยาก การแก้ไขทันเวลา: Fact-Checking Websites: การแก้ไขจะดาเนิ นการทันทีหากพบข้อผิดพลาด สือ่ และบุคคลที่รบั ผิดชอบจะแก้ไขข้อมูลที่ไม่ https://en.wikipedia.org/wiki/List ถูกต้องเพือ่ ป้ องกันการแพร่กระจายต่อไป _of_fact-checking_websites Use of Technology: ตรวจสอบข้อเท็จจริงอาจใช้เทคโนโลยี รวมถึง ซอฟต์แวร์และเครื่องมือพิเศษ เพือ่ วิเคราะห์ขอ้ มูล และระบุรูปแบบที่อาจบ่งบอกถึงข้อมูลที่ไม่ถกู ต้อง การเลือกใช ้แพลทฟอร ์มการ ่ สือสารที ่ สะดวกกั บการเล่า บทที่ 3 ่ เรืองและการตี ความหมายสือ่ ในชีวต ิ ประจาวันไดอ้ ย่าง ถูกตอ้ งและเหมาะสม. จุดจูงใจในสาร MESSAGE APPEAL ขัน้ ตอนการออกแบบสารเพื่อการโน้มน้าวใจ Ethos น่ าเชื่อถือ ไว้วางใจได้ Pathos Logos อารมณ์ร่วม มีตรรกะ มีเหตุผล การโน้มน้าวใจจะสาเร็จได้ถา้ เรามีการสื่อสารที่ ต่อเนื่ องกันและมีการประเมินความพยายามในการ สื่อสารที่ผ่านมาแล้วควบคู่ไปด้วย การสื่อความหมายเพื่อมุ่งชนะ ผูพ้ ูด (ผูส้ ง่ ) ต้องการจะควบคุมหรื อชนะผูฟ้ งั (ผูร้ ับ) โดยที่ผูพ้ ูดเห็ นผูฟ้ งั เป็ นศัตรู และการ ติดต่อสื่ อสารที่มุง่ ที่ “ชัยชนะ” เท่านั้น “ชัยชนะ” คื อจุดมุง่ หมายและข้อยุติของการพูด การพูดแบบ Disarming ผูกพันอยูก่ บั ความคิดเห็ นของคนเพียงคนเดียว คนที่ตอ้ งการความรู ส้ ึ ก ปลอดภัย (psychological safety) มักคิดอยูเ่ สมอว่าการเอาชนะคนอื่ นได้นั้น เป็ นความจาเป็ น อย่างยิ่ง ฉะนั้นผลของการติดต่อกับตัวเอง (intrapersonal communication) และการติ ดต่อ กับคนอื่ น (interpersonal communication) Defensive Communication คิดว่าตนเองถูกเสมอ Disarming Aggressive หรือ Hostile Communication ข่มขู่ / จู่โจม / เสียดสี /ก้าวร้าว / เปรียบเปรย /กระทบกระเทียบ Communication Manipulative Communication บังคับโดยไม่สนใจว่าผิ ดหรือถูก ผูพ้ ดู จะได้รบั ประโยชน์ในข้อมูลนัน้ https://fb.watch/fDA6GyXKfs/ Disarming Avoidance Communication Communication เปลี่ยนเรื่ องพูด หรื อทาเป็ นไม่ได้ยิน หรื อตอบปฏิเสธ ภรรยา – สามี แบบ Defensive, hostile หรือ aggressive จะทาให้เกิดการทะเลาะกัน เช่น พูด อะไรบ้าๆ คิดโง่ๆ อีกแล้ว ข้อสังเกตุ Manipulative Communication “ฉันจะไป ถ้าคุณไปกับฉัน” แม่ – ลูก Manipulative Communication “ถ้าลูกทาการบ้านไม่เสร็จ แม่จะไม่ให้ดทู ี วีนะ” ถ้าผูพ้ ูดมุง่ หวังให้ได้ฝ่าย ประโยชน์เดียว ก็เป็ นการนาไปใช้ในทางที่ไม่ดี แต่ถา้ ผูพ้ ูดมุง่ จะให้ ผูฟ้ งั ได้รบั ผลประโยชน์ และพูดด้วยความห่วงใย ก็เป็ นการนาไปใช้ในทางที่ดี การพูดแบบ Avoidance ในวงสนทนา เปลี่ยนเรื่ องคุย เพราะถ้าคุยต่อไปในเรื่ องเดิมแล้ว ผู ร้ ่วมใน สนทนาจะอับอาย หรื อเป็ นที่หวั เราะในวงนั้น หรื อเป็ นผูไ้ ด้รบั ความเสียหายในกรณี ท่ ีผูฟ้ งั Suggests เป็ นคนเปิ ดเผยตัวเอง แล้ว (และไม่คานึ งถึง roles) ผูพ้ ูดไม่มีความจาเป็ นต้องใช้ manipulation และ avoidance เลย แต่ในกรณี ท่ ีผูฟ้ งั เป็ นคนปกปิ ด กลวิธีแบบ manipulation และ avoidance จะมีสว่ นช่วยทาให้มีการพูดคุยขึ้นบ้าง วิเคราะห์ Message 1. สารนัน้ มีความยากอย่างไร ปัจจัยในการ 2. ทักษะทางภาษาของผูร้ บั สาร เลื อกใช้ประเภท 3. ประเภทของผูร้ บั สาร ทางการสื่ อสาร 4. งบประมาณที่ผูส้ ่งสารมีอยู่ 5. ความน่ าเชื่อถือของผูส้ ่งสาร “ทําทุกอย่างให้งา่ ยเท่าทีจ่ ะเป็ นไปได้ แต่ไม่งา่ ยเลยทีท่ าํ ให้งา่ ย” (Everything should be made as simple as possible, but not simpler.) ALBERT EINSTEIN ทฤษฎีการตัดสิ นทางสังคม SOCIAL JUDGEMENT THEORY https://fb.watch/5IPHDsyiqo/ ยิง่ ประเด็นปั ญหานัน้ มีความเกีย่ วข้องกับคน ๆ นัน้ มากเท่าไร ความผูกพันกับประเด็นนัน้ ๆ ก็ยงิ่ มากขึน้ ขอบเขตของการปฏิเสธก็จะยิง่ กว้าง ดังนัน้ การเปลีย่ นแปลงทัศนคติกจ็ ะยิง่ ทําได้ยาก 1. ทาให้สินค้านั้นอยูร่ ะบบที่มองเห็นด้วยสายตาได้ง่าย ปรากฏแก่สายตาเป็ นประจา (Visibility of system status) ทาให้ ผูใ้ ช้งานสามารถเข้าใจว่าต้องทาอะไร ที่ไหนอย่างไร ตัวอย่าง ปุ่ ม หรื อการ Navigation ของ web หรื อ apps สามารถเข้าถึงได้ง่าย ว่าต้องกดอะไรก่อนหรื อหลัง 2. ทาให้เกิดการจับคู่ระหว่างระบบและความเป็ นจริ ง (Match between system and the real world)–ระบบจะต้อง สื่ อสารในรู ปแบบเดียวกับผูใ้ ช้งาน ต้องมีเหตุผล ตรรกะ และแนวคิดเดียวกับผูใ้ ช้ 3. ผูซ้ ้ื อสามารถที่จะควบคุมและมีความเป็ นอิสระในการใช้งาน (User control and freedom) – สามารถตรวจดูว่าการควบคุม หรื อการเลือกคาสั่งต่าง ๆ ของสื่ อมีความคล่องตัวและควบคุมง่าย การโน้มน้าวใจให้ศตั ร ูกลายเป็นมิตร Benjamin effect ทฤษฎีความไม่ลงรอยทางความคิด COGNITIVE DISSONANCE THEORY ทุกคนอาจจะมีศตั รู หรื อคู่อริ ที่ไม่ ค่อยชอบ เพียงแค่เดินผ่านกันชัว่ ขณะ.. ก็สามารถรับรู ้ได้ถึงกิริยาท่าทางหรื อ สี หน้าของเขาที่ทาให้รู้เลยว่า “เรากับเขานั้นอยู่ร่วมกันไม่ ได้ อย่ าง แน่ นอน” วิธีที่แรก คือ การเปลี่ยนองค์ประกอบทัศนคติหรือพฤติกรรมที่มีต่อเรื่องนัน้ ให้สอดคล้องกับความรูท้ ี่ ได้รบั หรือเรื่องที่เขาสนใจ หรือเรียกว่ากลยุทธ รูเ้ ขารูเ้ รา รบร้อยครัง้ ชนะร้อยครัง้ หรือการปรับ #1: ปรับตัวให้เข้ากับ ทัศนคติว่า ไม่อนั ตราย การันตี กรณี ท่ ี 1 บุหรี่ เช่น อยากหยุดสูบแต่ก็หาข้ออ้าง หรื อเปลี่ยนองค์ประกอบด้านทัศนคติ ให้สอดคล้องกับ ศัตรู หาข้อมูลมาอ้างเพื่อ พฤติกรรมด้วยการไม่เชื่ อในข้อมูลที่วา่ บุหรี่ เป็ นอันตรายต่อสุขภาพเพื่ อให้สามารถสู บบุหรี่ ต่อไป ตอบสนองตนเอง กรณี ท่ ี 2 วัคซีน เช่น จ่ายค่าชดเชย (วิธีน้ ี ใช้กบั การขายประกันชีวิต และประกันทุกประเภท) กรณี ท่ ี 3 บอกเขาว่า “เราชอบสิ่ งที่เขากาลังทาอยู ่ ช่วยสอนเราหน่อย (แต่ไม่ชมนะเพราะจะหาว่าไม่จริ งใจ และปฏิเสธเราเลย) #2: alternative กรณีที่ 1 บุหรี่ คือ เปลีย่ นวิธีการในการสู บบุหรี่ เช่ น เปลีย่ นไปสู บบุหรี่ไฟฟ้า อาจเปลีย่ นชนิดบุหรี่ ที่สูบไปสู บบุหรี่ที่เชื่ อว่ามีการกรองสารพิษหรื อ เปลีย่ นเป็ นการสู บยาเส้ น กรณีที่ 2 วัคซีน มีให้ เลือกจากหลายประเทศ เช่ น จีน อินเดีย อังกฤษ กรณีที่ 3 ผมไม่ ข้ามเส้ น.... #3: DEVALUE กรณี ท่ ี 1 บุหรี่ ไม่ตายด้วยโรคปอดก็ตายด้วยโรคอื่ นๆ กรณี ท่ ี 2 วัคซีน ฉี ดก็เสี่ยง ไม่ฉีดก็ติด อย่างไรก็ตาย กรณี ท่ ี 3.... เที่ยวรอบโลก ใช้เงินหาความสุข เดี๋ยวก็ตายจากกัน อยูค่ นเดียวให้ได้ วิธที ส่ี าม คือ การให้ความสาคัญกับองค์ประกอบทีท่ าให้ไม่ลงรอยนัน้ น้อยลง เช่น ลดการให้ความสาคัญหรือความใส่ใจกับเรื่องสุขภาพตนเอง https://vimeo.com/ondemand/schooltownking/544969944?autoplay=1 #4: เบี่ยงประเด็น DIVERSITY วิธที ส่ี ่ี คือ การหาข้อมูลทีส่ นับสนุนพฤติกรรมนัน้ ๆ ของตนเอง กรณีท่ี 1 เช่น บริษทั ผูค้ า้ บุหรี่ ซึง่ อาจเสนอว่าเปอร์เซ็นต์ของการตายจากการสูบบุหรี่นอ้ ยกว่าการตายด้วยอุบตั เิ หตุเสีย อีก เงินจากการจาหน่ายยาสูบส่งเสริมเด็กให้เรียนหนังสือ ดูวดิ โี อ CSR: องค์กรยาสูบ แต่สนับสนุน Zero Tolerance https://www.youtube.com/watch?v=1mBPdHPibs4 https://www.youtube.com/watch?v=emSW06UEVP8 https://www.youtube.com/watch?v=zLPwSV0RK0Y&t=30s วิธีท่ ีหา้ คื อ การแปลความหมายหรื อการบิดเบื อนข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้อง https://www.facebook.com/104661815023595/videos/211495800450894 #5: DISTORTION บิดเบือน https://www.drinksustainably.com การเล่ าเรื่ องสร้ างสรรค์ ไม่วา่ คนเราจะใช ้ วิธกี ารใดก็ตามแต่ เหตุผลทีส ่ าคัญยิงที ่ ่ เป็ นแรงผลักดันให ้ https://www.facebook.com/ mgr.aroundtheworld/videos/ 2 เขาเลือกใช ้ คือ 021210084711884 การพยายามลด https://www.facebook.com/ mgr.aroundtheworld/videos/ 2 ความไม่ลงรอยหรือ 021210084711884 ความไม่สอดคล ้อง กันทางความคิดที่ ้ ่ นเอง เกิดขึนนั Persuasive technology ผลิตภัณฑ์อาจดูดีขึ้นเมื่อเป็ นสินค้าชิ้นสุดท้ายที่ เหลืออยู่บนชัน้ วาง eWom หรื อการตลาดแบบบอกต่อ กลยุทธ์การสื่ อสารโน้มน้าวใจ “Band Wagon” ทา ตามกันไปเป็ นไวรัล (Viral) หรื อในยุคที่ยงั ไม่มี สังคมออนไลน์ คื อ พฤติกรรมการมุงดูของมนุ ษย์ เกิดจากการคิดเพียงระยะชายขอบ หรื อคิดง่าย ๆ ไม่ผา่ นกระบวนการคิดอย่างลึกซื้ งและวิเคราะห์ให้ ละเอียด “หากทุก คนเชื อ่ อะไรบางอย่า งแล้ว ทุก อย่างที ท่ ุกคนเชือ่ จะเป็ นสิง่ ที ถ่ กู ต้อง” การสื่อสารโน้ มน้ าวใจ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ในระดับชายขอบ (Peripheral attitude shift) ซึ่งเป็นการ (Persuasive Communication) เปลี่ยนแปลงระดับชัว่ คราว และเป็นพฤติกรรม ที่ไม่สามารถคาดเดาได้ กระบวนการจูงใจ ไม่ใช่ ใช่ (Involvement) มีความเกี่ยวข้อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางทัศนคติ ที่เกิ ด ใช่ จากการรับรู้จากผู้เชี่ยวชาญ แหล่งข้อมูลที่ น่ าสนใจ แล้วมีการคิ ดวิ เคราะห์ได้เอง (แบบ อาการใจลอย (Distraction) จาลองฮิ วริ สติ ก) การได้ยินซา้ ๆ (Repetition) ความรู้ (Knowledge) ไม่ใช่ ธรรมชาติ ในการประมวลผล โต้แย้งอย่างเป็ นเหตุผล เจรจา และทัศนคติ ในเรื่องนัน้ ๆ ไม่ใช่ ไม่สามารถเปลีย่ น ชอบเป็ นพืน้ ฐาน ไม่ชอบเป็ นพืน้ ฐาน ไม่ สนใจอยู่แล้ว สนใจอยู่แล้ว ทัศนคติจากสิง่ ทีต่ ดั สินใจเชื่อไป แล้วได้ ใช่ ใช่ มีการเปลีย่ นแปลงเชิงโครงสร้างความคิด ความ ไม่ใช่ เชือ่ จํานวนครัง้ ทีร่ บั รู้ จํานวนข้อมูลทีส่ ะท้อนกลับ ว่าเกิดผลกระทบ ใช่ เป็ นที่ชื่นชอบ ใช่ ไม่เป็ นที่ชื่นชอบ Heuristic Model การเปลีย่ นแปลงทัศนคติ การเปลีย่ นแปลงทัศนคติ ในทางบวก ในทางลบ 1. ทาให้สนิ ค้านัน้ อยู่ระบบทีม่ องเห็นด้วยสายตาได้งา่ ย ปรากฏแก่สายตาเป็ นประจา (Visibility of system status) ทาให้ผูใ้ ช้งานสามารถเข้าใจว่าต้องทาอะไร ทีไ่ หนอย่างไร ตัวอย่าง ปุ่ม หรือการ Navigation ของ web หรือ apps สามารถเข้าถึงได้งา่ ย ว่าต้องกดอะไรก่อนหรือหลัง 2. ทาให้เกิดการจับคู่ระหว่างระบบและความเป็ นจริง (Match between system and the real world)–ระบบจะต้องสือ่ สารในรูปแบบเดียวกับผูใ้ ช้งาน ต้องมีเหตุผล ตรรกะ และ แนวคิดเดียวกับผูใ้ ช้ 3. ผูซ้ ้อื สามารถทีจ่ ะควบคุมและมีความเป็ นอิสระในการใช้งาน (User control and freedom) – สามารถตรวจดูวา่ การควบคุมหรือการเลือกคาสังต่ ่ าง ๆ ของสือ่ มีความคล่องตัวและ ควบคุมง่าย เซลล์ประสาททาให้เกิดความคิดและความคิดอืน่ ๆ ที่กระตุน้ เซลล์ประสาทอืน่ ๆ และทาการเชื่อมโยงภาษาอย่างเป็ นระบบ รวมทัง้ ยังก่อให้เกิดกิจกรรม?