รวมเล่มปี 1 PDF

Summary

เอกสารนี้เป็นคู่มือการเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy) สำหรับนักศึกษาปี 1 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ เช่น สิทธิความรับผิดชอบยุคดิจิทัล การเข้าถึงดิจิทัล และอื่นๆ

Full Transcript

1 โครงการยกระดับความสามารถดานดิจิทัลนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ อบรมเนื้อหาการเขาใจดิจิทัล (Digital Literacy) นักศึกษาชั้นปที่ 1 พัฒนาโดย ค...

1 โครงการยกระดับความสามารถดานดิจิทัลนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ อบรมเนื้อหาการเขาใจดิจิทัล (Digital Literacy) นักศึกษาชั้นปที่ 1 พัฒนาโดย คณะกรรมการพัฒนาความรูและทักษะดานดิจิทัล มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ การเขาใจดิจิทัล (Digital Literacy) 01 สิทธิความรับผิดชอบยุคดิจิทัล (Digital Right) ประกอบไปดวยเนื้อหาทั้ง 9 สวน 02 การเขาถึงดิจิทัล (Digital Access) 03 การสื่อสารยุคดิจิทัล (Digital Communication) 04 ความปลอดภัยยุคดิจิทัล (Digital Safety) 05 การรูเทาทันสื่อและสารสนเทศ (Media and Information Literacy 06 มารยาทในสังคมดิจิทัล (Digital Etiquette) 07 สุขภาพดียุคดิจิทัล (Digital Health) 08 ดิจิทัลคอมเมิรซ (Digital Commerce) 09 กฎหมายดิจิทัล (Digital Law) 2 3 หัวขอที่ 1 สิทธิความรับผิดชอบยุคดิจิทัล (Digital Right) สิทธิความรับผิดชอบยุคดิจิทัล (Digital Right) 01 คําจํากัดความสิทธิและเสรีภาพ 02 ความเขาใจในเรื่องสิทธิเสรีภาพของพลเมืองดิจิทัล 03 การเขาใจความรับผิดชอบในโลกออนไลน 04 แนวโนมการใชสื่อสังคม (Social Media) ในปจจุบัน 05 ปญหาและผลกระทบจากการเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการสื่อสาร 06 ผลการวิเคราะหการประยุกตสิทธิ์และความ รับผิดชอบที่ใชกับชีวิตประจําวัน 4 5 1. คําจํากัดความสิทธิและเสรีภาพ คําจํากัดความสิทธิและเสรีภาพ สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญไทย “ สิทธิ ” หมายถึง ความสําเร็จหรือ “บุคคลยอมมีเสรีภาพบริบูรณในการนับถือศาสนาหรือ อํานาจที่จะ กระทํา การใด ๆ ไดอยางอิสระ ลัทธิใด ๆ และมีเสรีภาพในการปฏิบัติพิธีกรรมตามความ โดยไดรับการรับรองจากกฎหมาย” เชื่อของตน เมื่อไมเปนปฏิปกษตอหนาที่ของพลเมืองและ "เสรีภาพ” หมายถึง อํานาจตัดสินใจ ไมเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมของ ดวยตนเองของมนุษยที่จะเลือกทําเปน ประชาชน” และ “ภายในบังคับแหงกฎหมาย บุคคล พฤติกรรมของตนเอง ยอมมีเสรีภาพบริบูรณในรางกาย เคหสถาน ทรัพยสิน โดยไมมีบุคคลอื่นใดอางหรือใชอํานาจ การพูด การเขียน การโฆษณา การศึกษาอบรม การ แทรกแซงเกี่ยวของกับการตัดสินใจนั้น ประชุมโดยเปดเผย การตั้งสมาคม การอาชีพ ” 6 2. ความเขาใจในเรือ่ งสิทธิเสรีภาพของพลเมืองดิจิทัล  เครือขายสังคมออนไลน เชน Facebook LINE YouTube Instagram และ Twitter เปนตน  ประชาชนสื่อสารกันไดอยางสาธารณะไมวาจะเปนรูปแบบขอความ ภาพ และภาพเคลื่อนไหว เชน การสรางขอความสาธารณะเพื่อบอกสถานะหรือกิจกรรมทํากําลังกระทําอยู เปนตน  การนําเสนอขอมูลสวนตัวลงในพื้นที่สาธารณะโดย ขาดความตระหนักจะนํามาสูภัย อันตรายได อยางไมคาดคิด อาจละเมิดสิทธิบุคคลอื่นทั้งตั้งใจและไมตั้งใจ 7  ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) “บุคคล มีสิทธิในเสรีภาพแหงความเห็นและการแสดงออก สิทธินี้รวมถึงเสรีภาพที่จะยึดมั่นในความเห็น ปราศจากการสอดแทรก และที่แสวงหาตลอดจนแจงขาว รวมทั้งความคิดเห็นผานสื่อใดๆ และ โดยมิตองคํานึงถึงเขตแดน” และ “บุคคลมีหนาที่ตอประชาคมอันเปนที่เดียวซึ่งบุคลิกภาพของ ตนจะพัฒนาไดอยางเสรีและเต็มความสามารถ” ดังนั้น ในการใชสิทธิและเสรีภาพ โดยบุคคล ตองอยูภายใตขอกําหนดแหงกฎหมายเพื่อใหไดมาซึ่งการยอมรับและการเคารพโดยชอบแก สิทธิเสรีภาพของผูอื่น  กลุมเยาวชนถือวามีความเสี่ยงตอการถูกหลอกจาก ขอความลอลวง หรือกลโกงทางออนไลน ดังนั้น จึงมีการคุมครองสิทธิสําหรับกลุมเด็กและเยาวชนอยูใน “อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กของ สหประชาชาติ ซึ่งกลาววา การกระทําผิดในรูปแบบการคาเด็ก หมายถึง การกระทําที่เด็กถูกสง มอบโดยบุคคลหรือกลุมบุคคลไปยังอีกบุคคลหรือกลุมบุคคลเพื่อคาตอบแทนหรือผลประโยชน หรือการคาประเวณีเด็กและสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก ความเขาใจในเรื่องสิทธิเสรีภาพของพลเมืองดิจิทัล 8 พลเมืองดิจิทัล คือ พลเมืองผูใชงานสื่อดิจิทัล และสื่อสังคมออนไลน ที่เขาใจถึงการปฏิบัติตัวให เหมาะสม และมีความรับผิดชอบในการใชเทคโนโลยี  เครือขายสังคมออนไลนมีหลากหลายชองทาง เชน Facebook LINE YouTube Instagram และ Twitter เปนตน  สื่อสารกันไดอยางสาธารณะดวย รูปแบบขอความ ภาพ และภาพเคลื่อนไหว  ผูใชงานควรมีการเรียนรูการตั้งคาเกี่ยวกับความเปนสวนตัว การกําหนดขอบเขตการเขาถึงพื้นที่สวนตัวของตนเองได ***คุณไมควรดูขอมูลสวนตัวของผูอื่น ***และสามารถแสดงออกไดตามที่สิทธิและไมรบกวนผูอื่น 9 3. การเขาใจความรับผิดชอบในโลกออนไลน สื่อสามารถแบงไดเปน 2 ประเภท ไดแก สื่อดั้งเดิม (Traditional Media) หมายถึง สื่อที่ผูสงสารทําหนาที่สงสารไปยังผูรับสารไดทางเดียว ที่ผูรับสารไมสามารถติดตอกลับไปทางผูสงสารได เชนหนังสือพิมพวิทยุโทรทัศนภาพยนตร สื่อใหม (New Media) หมายถึง สื่อที่เอื้อใหผูสงสารและผูรับสารทําหนาที่สงสารและรับสารไดพรอม กันเปนการสื่อสารสองทาง และสื่อยังทําหนาที่สงสารไดหลายอยางรวมกัน คือ ภาพเสียง และขอความไป พรอมกัน 10 ปจจุบันเทคโนโลยีไดพัฒนาอยางตอเนื่องทําใหเกิดกระแสของสื่อแนวใหมขึ้น นั่นคือ สื่อประสม (Multimedia) ซึ่งหมายถึงการใชคอมพิวเตอรรวมกับโปรแกรมประยุกตในการสื่อ ความหมายโดยการผสมผสานสื่อหลายชนิด เชน ขอความ กราฟกภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดิทัศน สื่อประสมเชิงโตตอบ การโตตอบของผูใชสามารถจะกระทําไดโดยผานทางแผงแปนอักขระ เมาส หรือตัวชี้ เปนตน และเมื่อผนวกสื่อดั้งเดิมเขากับสื่อออนไลนและสื่อประสม ซึ่งทําใหรูปแบบการ นําเสนอสื่อใหม เชน หนังสือ E-book นิตยสารออนไลน แบบเรียนออนไลน โฆษณาแผนพับที่ ปจจุบันอยูในรูปแบบของ “ แบนเนอร” (Banner) บนเว็บไซตตาง ๆ เปนตน ทั้งนี้หากแบงตามประเภทเนื้อหาสื่อ (Mass Media Content) สามารถแบงประเภทไดดังนี้  ขาว (News)  การประชาสัมพันธ (Public Relations)  การโฆษณา(Advertising)  ความบันเทิง (Entertainment) 11 สื่อสังคมออนไลนปจจุบันสามารถแบงประเภทหลักไดดังนี้ 1) Weblogs หรือ Blogs 2) Social Networking 3) Micro Blogging Online Video เปนเว็บไซตที่ใหบริการดานหรือที่เรียกกันวา “บล็อกจิ๋ว” 4) วิดีโอออนไลน 5) Photo Sharing เปนเว็บไซตที่เนนบริการฝากรูปภาพโดยผูใชบริการสามารถอัปโหลด (Upload) และดาวนโหลด (Download) 6) Wikis เปนเว็บไซตที่มีลักษณะเปนแหลงขอมูลหรือความรู (Data / Knowledge) 7) Worlds คือการสรางโลกจินตนาการผานการจําลองสวนหนึ่งของชีวิตจัดเปนสื่อสังคมออนไลนใชเพื่อ สื่อสารระหวางกันบนอินเทอรเน็ตในลักษณะโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) 12 8) Crowd Sourcing ใชหลักการขอความรวมมือจากบุคคลใน เครือขายสังคมออนไลนโดยจัดทําในรูปของเว็บไซตที่มี วัตถุประสงคหลักเพื่อคนหาคําตอบและวิธีการแกปญหาตาง ๆ 9) Podcasting หรือ Podcast หมายถึงบริการดานบันทึกภาพ และเสียงแลวนํามาไวในเว็บเพจ (Web Page) 10) Discuss / Review / Opinion เปนลักษณะเว็บบอรดที่ผูใช อินเทอรเน็ตสามารถแสดงความคิดเห็นโดยอาจจะเกี่ยวกับ สินคาหรือบริการประเด็นสาธารณะทางการเมืองเศรษฐกิจ สังคมเชน Epinions, Moutshut, Yahoo! Answer, Pantip, Yelp เปนตน 13 ประเภทของสื่อออนไลนสามารถแบงไดออกเปน 4 ประเภทดังนี้ 1) Paid Media หมายถึง สื่อที่จายเงินเพื่อใหไดพื้นที่ในการสื่อสารเชน Google AdWords 2) Owned Media หมายถึง สื่อที่องคกรหนวยงาน บริษัท หรือบุคคลนั้นเปนคนสรางขึ้นเอง 3) Earned Media หมายถึง พื้นที่ซึ่งผูรับสารหรือผูบริโภคกลายเปนชองทางในการพูดถึง เชน การรีวิวการจัดอันดับการชวยประชาสัมพันธหรือการสงตอขอมูลอยางรวดเร็ว (Viral content) เชนการติด hashtag 4) Shared Media เนนที่กิจกรรมที่เกิดขึ้นบนสื่อสังคม (Social Media) ตารางที่ 2 ตารางเปรียบความแตกตางขององคประกอบการสื่อสารระหวางสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม 14 สื่อดั้งเดิม สื่อใหม ผูสงสาร สื่อดั้งเดิมสื่อใหมองคกรขนาดใหญเชน บุคคลหรือสื่อสารกันภายในกลุมเชน Facebook ทวิตเตอร หนังสือพิมพบุคคลทั่วไปที่สื่อสารกันระหวาง เว็บบอรด เปนตน โทรทัศนเปนตน สาร สื่อมวลชนเปนผูถูกกลั่นกรองความถูกตอง เนื้อหาความคิดเห็นสวนบุคคล และเปนเนื้อหาที่สราง ชองทางการ สื่อมวลชน ไดแก หนังสือพิมพสื่อนิตยสารสื่อ สื่ออินเทอรเน็ตเปนหลักโดยมีอุปกรณสื่อสารที่สงผานระบบ สื่อสาร วิทยุสื่อโทรทัศนเปนตน ออนไลนทางอินเทอรเน็ตไดจาํ นวนมากมายเปนเครื่องมือในการ สื่อสารเชน สมารตโฟน แท็บเล็ต เปนตน ผูรับสาร ผูรับสารไมเปนที่รูจักของผูสงสาร ผูรับสารของสื่อใหมมักเปนที่รูจักกันกับผูสงสาร (สื่อมวลชน) ปฏิกิริยาสะทอน ไมมีปฏิกิริยาสะทอนกลับไปยังผูสงสาร(การ มีปฏิกิริยาสะทอนกลับไปยังผูสงสาร กลับ สงสารทางเดียว) (การสื่อสารสองทาง) 15 4. แนวโนมการใชสื่อสังคม (Social Media) ในปจจุบัน 1) การเขาถึงแหลงขอมูลเพื่อการเรียนรูความสนใจในประเด็นตาง ๆ สื่อเพื่อการบันเทิงไดงาย 2) การเพิ่มยอดขายทางธุรกิจ 3) การเพิ่มโอกาสการมีสวนรวมทางสาธารณะการเขาถึงสังคมหมูมาก 4) แหลงการเรียนรูและคลังขอมูลที่สนับสนุนการสรางสรรค 5) การถายทอดและแชรประสบการณของแตละบุคคล 6) การสงเสริมศักยภาพและความสามารถของบุคคล 7) การสรางตัวตน (Identity) ของตัวเองในโลกออนไลน 8) การสงเสริมความรูความเขาใจและเขาถึงขอมูลที่เกี่ยวกับสุขภาพ เชนการรักษาทางไกล (Telemedicine) 16 5. ปญหาและผลกระทบจากการเทคโนโลยีดิจิทัลเพือ่ การสือ่ สาร โซเชียลเปนเครื่องมือทางอาชญากรรมกอความรุนแรงแนวโนมความเสี่ยงของการใชสื่อสังคมบนโลกอินเทอรเน็ตมีดังนี้ 1) ปญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร (Cyber Crime) การเขาถึงโดยไมไดรับอนุญาต การสรางความ เสียหายแกขอมูลการกอกวนการทํางานของระบบคอมพิวเตอร และการจารกรรมขอมูลบนคอมพิวเตอร 2) ปญหาการกลั่นแกลงทางไซเบอร (Cyberbullying) การเหยียด ลวนลาม การขมขูทางเพศ ประจาน เกิดจากพฤติกรรมการเกาะติดชีวิตออนไลนของผูอื่น (Cybers stalking) การเกาะติดชีวิต ออนไลนของผูอื่นสะทอนปญหาสุขภาพจิตและอาจผิดกฎหมาย 17 3) สภาวะทางอารมณที่เกิดจากการติดโซเชียล ใชเวลาอยูบนเครือขายสังคมออนไลนมาก เชน เฟซบุกจะไดรับผลกระทบจากความทุกข 4) ปญหาเกี่ยวกับสิทธิสวนบุคคล (Privacy) รอยเทาหรือรองรอยการกระทําในโลกดิจิทัล (Digital Footprint) โพสตไปดวยความคึกคะนอง 5) สื่อหลอกลวงดวยภาพหรือขอความที่เปนเท็จ *** นนท โอนไว *** ภาพไมตรงปก 18 การกระทําที่มีผลกระทบตอบุคคลทั้งในฐานะผูบ ริโภคและประชาชน แบงเปน 6 ประเภท ดังนี้ 1. ประเภทที่เกี่ยวกับการเงิน 2. ประเภทที่เกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ 3. ประเภทที่เกี่ยวกับการเจาะระบบ 4. ประเภทที่เกี่ยวกับการกอการรายทางคอมพิวเตอร 5. ประเภทที่เกี่ยวกับสื่อลามกและอนาจาร (Pornography) 6. ประเภทที่เกี่ยวกับการลักลอบใชบริการ 6. ผลการวิเคราะหการประยุกตสิทธิ์และความรับผิดชอบที่ใชกับชีวิตประจํา19วัน จากแนวโนมการใชอินเทอรเน็ตและแนวโนมความเสี่ยงของการใชสื่อสังคมออนไลน ซึ่งมีทั้งประโยชนและ โทษแลว การแกไขปญหาในระดับบุคคล (Individual) ไดแก การใหความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการรูเทาทันสื่อ (Media and Information Literacy) การเขาใจดิจิทัล (Digital Literacy) ซึ่งปจจุบันรวมกันเรียกวา“ การรูเทาทันสือ่ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อรูเทาทันและสามารถระวังภัยจากโลกออนไลนตามแนวทางของการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 การแกไข ในระดับสถาบัน ยกตัวอยางเชน สถาบันของรัฐสถาบันสือ่ มวลชน สถาบันเอกชนที่ใหบริการดานทีวีดิจิทัลและสื่ออินเทอรเน็ต สถาบันระดับ นานาชาติ ฯลฯ จะตองมีการปรับกลไกการติดตามสื่อจากบริบทเดิมมาเปน“ สื่อออนไลนหรือสื่อดิจทิ ัล” แทน สรุป การละเมิดสิทธิและเสรีภาพ ไมควรกระทําทั้งในชีวิตจริงและชีวิตออนไลน เพราะไมวาจะอยูในสังคมจริง (Real World) หรือสังคมเสมือน (Virtual Society) บุคคลจะตองรับผิดชอบผลจากการกระทําของตนเอง ดวยเหตุนี้ ประชาชนควรตองมีจิตสํานึกในการเคารพสิทธิของผูอื่นไมวาจะเปนการเคารพผูอื่น ทั้งตอหนาและลับหลัง การไมละเมิดความเปนสวนตัวของผูอ ื่น รวมถึงมีความรับผิดชอบตอการอยูรวมกันในสังคม ตามสิทธิขั้นพื้นฐานที่ไดรับอยางถูกตองตามกฎหมาย 20 หัวขอที่ 2 การเขาถึงดิจิทัล (Digital Access) หนวยที่ 2 การเขาถึงดิจิทัล 01 การเชื่อมตอ (Digital Access) 02 สื่อดิจิทัล 03 การสืบคนขอมูล 04 ผลการวิเคราะหการประยุกตการเขาถึงสื่อ ดิจิทัลใชกับชีวิตประจําวัน 21 การเขาถึงสื่อดิจิทัล 22 การเขาถึงสื่อดิจิทัล คือความสามารถในการคนหาขอมูล และสารสนเทศดวยเครื่องมือทาง เทคโนโลยี สามารถใชเครื่องมือเชื่อมตออินเทอรเน็ตคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ตได ใช Search Engine ในการคนหาขอมูลไดอยางรวดเร็ว แมนยํา 1. การเชื่อมตอ 23 อินเทอรเน็ต คือ การเชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอรทุกเครือขายเขาดวยกัน ประเภทของการเขาถึงอินเทอรเน็ต 3. อินเทอรเน็ตตามสาย 1. การเชื่อมตออินเทอรเน็ตแบบใชสาย - ระบบอินเทอรเน็ตผานสายทองแดง แบงไดเปน ประเภท 2. การเชื่อมตออินเทอรเน็ตแบบไรสาย หลักคือ ประเภทผานระบบโทรศัพท (Dial-up) และแบบที่ใชสัญญาณโทรศัพทคูขนานกับสัญญาณ เทคโนโลยีการสื่อสารไรสาย ผานการ อินเทอรเน็ต หรือ DSL เชื่อมตอทั้งแบบ 2G, 3G, 4G และ 5G ที่ - ADSL และ VDSL เปนเทคโนโลยีที่พัฒนาตอจาก ADSL สามารถรองรับความเร็วสูงระดับ 1 Gbps โดยมีอัตราการรับสงขอมูลที่เร็วยิ่งขึ้น - อินเทอรเน็ตผานสายโทรทัศนเคเบิล - อินเทอรเน็ตผานไฟเบอรออปติก 24 นโยบายการใชอยางยุติธรรม (Fair Usage Policy; FUP) คือ นโยบายการใชอินเทอรเน็ต ความเร็วสูงอยางยุติธรรม และยึดถือเปนมาตรฐานสากล ไดแก การกําหนดปริมาณขอมูลสูงที่สุดที่ผูใชแตละราย จะไดรับในแตละเดือนขึ้นอยูกับ ราคาที่ ผูใชบริการจายตอเดือน 2. สื่อดิจิทัล 25 สื่อที่คอมพิวเตอรสามารถจัดเก็บและจัดการได เชน เสียง วิดีโอ ภาพถาย หนังสืออิเล็กทรอนิกส วิถีชีวิตดิจิทัล (Digital เทคโนโลยีการเชื่อมตอ ระบบระบุพิกัด (Location Service) Lifestyle) ที่นํา ดวยบลูทูธ (Bluetooth) คือ การบอกตําแหนงทางภูมิศาสตร โดย เทคโนโลยีดิจิทัลมา เปนเทคโนโลยีการสื่อสารไร ใชอุปกรณพกพา บริการที่เกิดขึ้น เชน ผสานเขากับการใชชีวิต สายรูปแบบเครือขายสวน การเรียกแท็กซี่ รถพยาบาล การคนหา ในประจําวัน บุคคล (Personal Area ธนาคารหรือรานอาหารตาง ๆ ปจจุบันมี 2 เทคโนโลยี คือ Networks-PAN) 1) ระบบระบุตําแหนงบนพื้นโลกของ สหรัฐอเมริกา 2) ระบบทางน้ําผานดาวเทียมสากล ของรัสเซีย สื่อดิจิทัลชนิดตาง ๆ 26 1. เสียงดิจิทัล เชน ระบบอานตัวอักษรเปนเสียง 2. การรูจําเสียง (Speech Recognition) คือ ระบบพิมพขอความดวยเสียง (Voice Input) และ ระบบผูชวยสวน บุคคล (Virtual Assistant) 3. การจําหนายเพลงลิขสิทธิ์ผานชองทางดิจิทัล 4. การสตรีมมิ่งเพลงออนไลน (Music Streaming) ไดแก Apple Music,Joox,Spotify และ TIDAL 5. วิดีโอดิจิทัล รูปแบบไฟลนามสกุลตางๆ ดังเชน นามสกุล MP4, AVI, WMV 6. ดิจิทัลวิดีโอสตรีมมิ่ง (Digital Video Streaming) แบงออกเปน 3 รูปแบบ บริการรับฝากวิดีโอ นี้ เชน YouTube, Vimeo, Daily Motion บริการถายทอดสดออนไลน (Livestream) บริการภาพยนตรออนไลน เชน Netflix, iflix, Amazon Prime Videos 7. การถายทอดสดทางออนไลน (Livestream) เชน Facebook Live, Periscope, Twitch หรือ YouTube Live สื่อดิจิทัลชนิดตาง ๆ (ตอ) 27 8. ภาพถายดิจิทัล (Digital Photography) ผูใชสามารถนําภาพที่ไดมาตัดตอ หรือมาปรับแตงตามตองการ 9. หนังสืออิเล็กทรอนิกส (eBook) อื่นๆ เชน Apple Books, Barnes and Noble, Google Play Books หรือ Kobo เปนตน 10. จดหมายอิเล็กทรอนิกส (Email) 11. ระบบสงขอความทันใจ (Chat) 12. การโทรทางอินเทอรเน็ต (Internet Calling) ปจจุบัน ผูใหบริการดานการโทรทางอินเทอรเน็ต มีหลายราย เชน Skype Google Voice LINE Viber เปนตน 13. การประชุมทางไกลผานวิดีโอ (Video Conference) ตัวอยางบริการ เชน Skype, Google Hangouts, Zoom หรือ Apple FaceTime เชน ของ Google Hangouts Meet รูปภาพหนาจอของแอปพลิเคชัน Google Maps 3. การสืบคนขอมูล 28 การคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ต (Search Engine) ประเภทการคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ต 1. ระบบการคนหาขอมูลที่อาศัยการดึงขอมูลจากเนื้อหาบนเว็บไซต (ที่เรียกวา Web-crawler หรือ Spider) ตัวอยางของระบบการคนหา กลุมนี้คือ Google, Bing และ DuckDuckGo เปนตน 2. สารบัญเว็บ (Web Directory) 3. ระบบการคนหาที่อิงจากปายที่ระบุของเว็บไซต (Meta Search Engine) การสืบคนขอมูลดิจิทัล 29 การคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ต (Search Engine) เทคนิคการสืบคนขอมูล เวนวรรค เพื่อชวยใหการคนหา กรณีที่ตองการหาที่มีคําคนหามากกวาหนึ่ง ผูใชสามารถใช เวนวรรคเพื่อระบุถึงคําคนหาที่มากกวา 1 คํา ได ประโยชน ดิจิทัล ขอสอบ 30 การสืบคนขอมูลดิจิทัล การคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ต (Search Engine) ถาตองการคนหาวลีนั้นทั้งวลี ใชเครื่องหมายคําพูดครอบคําคนหาได เชน ถาหากตองการคนหาคําวา “อินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษา” การสืบคนขอมูลดิจิทัล 31 การคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ต (Search Engine) 32 4 ผลการวิเคราะหการประยุกตการเขาถึงสือ่ ดิจิทัลใชกับชีวิตประจําวัน สําหรับประเทศไทยนั้น มีแนวโนม ในการใชงานสื่อดิจิทัลที่สูงมากขึ้น ถาหากอางอิง จากผลการสํารวจพฤติกรรมทางดิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) หรือ สพธอ. ในป พ.ศ.2561 พบวา ประชาชนไทยใช อินเทอรเน็ตเปนระยะเวลาโดยเฉลี่ยวันละ 10 ชั่วโมง 5 นาทีตอวัน ซึ่งสูงกวาป พ.ศ.2560 ถึง 3 ชั่วโมง 41 นาที สรุป 33 การเขาถึงสื่อดิจิทัล นั้นสามารถแบงออกเปน 2 หัวขอหลัก คือดานการเชื่อมตอ และดานบริการ การเชื่อมตอ ประกอบไปดวย อินเทอรเน็ตตามสาย เชน อินเทอรเน็ตตามสายโทรศัพท และอินเทอรเน็ต ตามสายไฟเบอร อินเทอรเน็ตไรสายไรสาย อยาง วายฟาย หรือ อินเทอรเน็ตบนโทรศัพทมือถือ บลูทูท และระบบระบุ พิกัด เปนตน ดานบริการ ที่สามารถสื่อออกมาทั้งในรูปแบบตัวอักษร ภาพ เสียง เชน เสียงดิจิทัล การสตรีมมิ่งเพลง ออนไลน วิดีโอดิจิทัล การถายทอดสดทางออนไลน หนังสืออิเล็กทรอนิกส จดหมายอิเล็กทรอนิกส ระบบสงขอความ ทันใจ การโทรทางอินเทอรเน็ต การประชุมทางไกลผานวิดีโอ รวมไปถึงการคนหาขอมูลและสถานที่ในอินเทอรเน็ต 34 หัวขอที่ 3 การสื่อสารยุคดิจิทัล Digital Communication 1. พื้นฐานการสื่อสาร 35 การสื่อสารเปนปจจัยสําคัญในการดํารงชีวิต เนื่องจากมนุษยมีลักษณะอยู รวมกันเปนกลุม หรืออยูรวมกับบุคคลอื่น ดังที่ อริสโตเติล นักปราชญชาวกรีก 1.พื้นฐาน ไดกลาววา มนุษยเปนสัตวสังคม (Social Animal) การสื่อสาร ดังนั้น การสื่อสารจึงเปนกิจกรรมสําคัญ และเกิดขึ้นอยูตลอดเวลาภายใน สังคมมนุษย การสื่อสารเปนกระบวนการสําคัญที่ทําใหสังคมพัฒนาหรือ เจริญกาวหนา ผานทางการ ถายทอดและการแบงปนองคความรู ภูมิปญญา ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี จากบุคคลหนึ่งไป สูบุคคลหนึ่ง การสื่อสารทําใหมนุษยมีความรูและเปดโลกที่กวางขึ้น จึงทําให มนุษย สามารถ สืบทอดพัฒนา เรียนรู และสรางวัฒนธรรมของตนและสังคมได ซึ่ง ถือไดวาการสื่อสาร เปนปจจัย ขับเคลื่อนที่จะสามารถบงชี้ระดับการพัฒนา การสังคมในทุกดาน 1.1 ความหมายของการใชสื่อดิจิทัลเพื่อการสื่อสาร 36 กระบวนการที่ใชทักษะในการวิเคราะหผูรับสารและสงสารใหมี ความเหมาะสมกับ ระดับของการสื่อสารของแตละบุคคล ผานชองทางในการสื่อสารตาง ๆ ในที่นี้คือ สื่อดิจิทัล ทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนสาร เชน ขอความ ภาพ เสียง เปนตน เพื่อใหผูรับ การสื่อสาร สารเขาใจสาร ที่ตามจุดประสงคของผูสงสารตั้งใจ ดิจิทัล รูป 1 องคประกอบหลักของกระบวนการสื่อสาร (วาดโดย สุภาภรณ เกียรติสิน) 1.1 ความหมายของการใชสื่อดิจิทัลเพื่อการสื่อสาร 37 1. ผูสงสาร คือ ผูเปนเจาของสาร สารสนเทศ หรือขอความ ที่จะตองการสงสาร ของตัวเอง ไปยังผูรับสาร องคประกอบหลัก 2. สาร คือ เนื้อหาที่ตองการสื่อความหมายไปยังผูร ับสาร ซึ่งผูรับสารเมื่อไดรับ สาร ของกระบวนการสื่อสาร ดังกลาวอาจเกิดปฏิกริยาสะทอนกลับ เชน ปฏิบัติตามเนื้อสาร เกิดความสนใจ เกิดการ ประกอบดวย 5 สวน เรียนรู เกิดการโตแยง เปนตน 3. ชองทางการสื่อสาร คือ ชองทางที่นําสารไปยังผูรับสาร ชองทางสื่อสารดั้งเดิม เชน สื่อ บุคคล สื่อสิ่งพิมพ สื่อโทรศัพท สื่อวิทยุ เปนตน ชองทางสื่อดิจิทัล เชน สื่ออินเทอรเน็ต สื่อ สังคมออนไลน สื่อชุมชนออนไลน เปนตน 4. ผูรับสาร คือ เปาหมายที่ผูสงสารตองสื่อสารความหมายใหไปถึง ซึ่งเปนบุคคล หรือกลุม คน 5. ปฏิกิริยาสะทอนกลับ คือ ปฏิกิริยาตอสารที่ผูสงสารสงมา โดยผูรับสารสามารถ มี ปฏิกิริยาทางบวก หรือทางลบก็ไดหลังจากไดรับสารไปแลว 1.1 ความหมายของการใชสื่อดิจิทัลเพื่อการสื่อสาร 38 การสื่อสารจัดเปนกิจกรรมสําคัญที่มนุษยใชในการดํารงชีวิตประจําวัน ซึ่งกอใหเกิด ความสัมพันธระหวางบุคคลและสังคม มีผลกระทบตอ ความสําคัญของ ความสัมพันธระหวางบุคคลและสังคมทั้ง ทางตรงและทางออม อีกทั้งยังเปน ปจจัยสําคัญตอการพัฒนาของสังคมและเจริญกาวหนาในดาน ตาง ๆ ทั้งใน การสื่อสาร ดานบุคคล สังคม คุณธรรม จริยธรรม นวัตกรรม เปนตน การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ คือ การที่ผูสงสารไดสงสารไปยังผูรับสารให เขาใจ ความหมายของสารมากที่สุด หรือเกิดปฏิกิริยาสะทอนกลับตามที่ผูสง สารตั้งเปาหมายไวภายใต สภาพแวดลอมและสิ่งรบกวนกวนตาง ๆ 1.1 ความหมายของการใชสื่อดิจิทัลเพื่อการสื่อสาร 39 1. เพื่อแจงใหทราบ (Inform) ในการทําการสื่อสาร เชน การชี้แจง การเลาขาว เหตุการณหรือเรื่องราว เปนตน 2. เพื่ออบรม สอน หรือถายทอดวิชาความรู (teach for education) เพื่อใหผูรับสาร มีพัฒนาการดานความรูเพิ่มเติมขึ้น วัตถุประสงคในการ 3. เพื่อสรางความพอใจ หรือใหความบันเทิง (please of entertain) โดยสามารถสง สื่อสารที่แตกตางกัน สารทั้งในรูปแบบคําพูด ขอความ กิริยาหรือทาทาง เพือ่ ใหผูรับสารเกิดความบันเทิง 4. เพื่อเสนอ โนมนาว หรือชักจูงใจ (propose or persuade) มีจุดประสงคเพื่อใหผูรับ สารมีความคลอยตามจนยอมปฏิบตั ิตามสิ่งที่ผูสงสารตองการ เชน การเสนอแนะสินคา เปนตน 5. เพื่อแสวงหาความรู หรือเรียนรู (learn) เกี่ยวของกับสารที่มีเนื้อหาที่เปนสาระ ความรู ที่ผูรับสารตองการเรียนรู และรวมถึงกระบวนการท าความเขาใจบทเรียนตาง ๆ 6. เพื่อกระทําหรือตัดสินใจ (dispose or decide) เปนการสื่อสารที่ใหขอมูล ขอเสนอแนะหรือชักจูง เพื่อใหผูรับสารตัดสินใจเลือกปฏิบัติหรือกระทําการอยางใดอยาง หนึ่ง 1.1 ความหมายของการใชสื่อดิจิทัลเพื่อการสื่อสาร 40 การสื่อสารนั้นขึ้นอยูกับปจจัยทั้งหมด 2 ปจจัย กลาวคือ ปจจัยดาน เวลา และปจจัยดานสถานที่ ดังนี้ รูปแบบการสงสาร ปจจัยดานเวลา หมายถึง การสื่อสารระหวางผูร ับสารและผูสง สารโดยมีการสงสารผานชองทางภายในชวงเวลา เดียวกัน (Synchronous) กับการสื่อสารระหวางผูรับสารและผูสงสารในชวงเวลาที่ แตกตางกัน (Asynchronous) ปจจัยดานสถานที่ หมายถึง การสื่อสารระหวางผูรับสารและผูสง สารอยูใ นสถานที่เดียวกัน (In-Person) และผูรับสาร และผูสงสารอยูต างสถานที่กัน (Roam) หรือการสื่อสารผานชองทางออนไลน (Online) 1.1 ความหมายของการใชสื่อดิจิทัลเพื่อการสื่อสาร 41 รูปแบบการสงสาร รูป 2 โครงสรางรูปแบบการสื่อสาร 1.1 ความหมายของการใชสื่อดิจิทัลเพื่อการสื่อสาร 42 การสื่อสารแบบเปนทางการ (Formal communication) มีรูปแบบของภาษาเปนทางการหรือภาษาราชการ เปนประเภทของการสื่อสารที่ ประเภทของ มีระเบียบ แบบแผนและมีขอกําหนดที่ไดวางไวเปนมาตรฐานขององคกร หรือสังคม สวนมากมักจะใชในการติดตอในระดับหนวยงานและองคกรตาง ๆ การสื่อสาร การสื่อสารแบบไมเปนทางการ (Informal Communication) เปนประเภทของการสื่อสารที่ไมอิงรูปแบบการสื่อสารแบบเปนทางการไมมี ขอกําหนดรูปแบบของภาษาที่ชัดเจน ซึ่งจะเปนการติดตอสื่อสารระหวางบุคคลหรือ กลุมสังคมที่อางอิงระดับการสื่อสารจากระดับความ สัมพันธของแตละบุคคล 1.1 ความหมายของการใชสื่อดิจิทัลเพื่อการสื่อสาร 43 การสื่อสารแบบตัวตอตัว (1-1 Communication) เปนการสื่อสารที่มีผูรับสารและผูสง สารเพียงไมเกิน 3 คน ครอบคลุมทั้งการสื่อสาร ระยะใกลและระยะไกลอาจเผชิญหนากันหรือไมก็ได ขึ้นอยูกับบริบทและจุดประสงคของการ รูปแบบการ สื่อสารซึ่งมีจุดประสงคไดหลากหลายรูปแบบ เชน การสรางความสัมพันธ การแจงขาว การถายทอดความรู และการเสนอแนะชักจูง เปนตน ติดตอสื่อสาร การสื่อสารแบบกลุม (Group Communication) เปนการสื่อสารระหวางกลุม บุคคลจํานวนมากที่มีความสนใจรวมหรือตองการแสดงออกใน เรื่องราวเดียวกัน ซึ่งสามารถเปนไดตั้งแตการสื่อสารภายในกลุมเล็ก เชน การลอมวง สนทนา การอภิปราย การสื่อสารแบบกลุมใหญ เชน การสัมมนา การบรรยาย เปนตน ลักษณะการสื่อสารยุคดิจิทัล 44 การสื่อสารแบบดวยตัวอักษร (Text) การสื่อสารยุคดิจิทัล หมายถึง การสื่อสารแบบดวยภาพนิ่ง (Image) การสื่อสารระหวางบุคคลและสังคม ผานเครือขายอินเทอรเน็ตโดยการใชอุปกรณ การสื่อสารดวยภาพเชิงสัญลักษณ ดิจิทัลตาง ๆ เชน คอมพิวเตอร โทรศัพท (Emoticon และ Sticker) สมารตโฟน โทรศัพทดิจิทัล เปนตน และผาน การสื่อสารแบบดวยภาพเคลื่อนไหวจริง ชองทางการสื่อสารดิจิทัลหรือดิจิทัล (Video) แพลตฟอรม (Digital Platform) การสื่อสารแบบดวยภาพเคลื่อนไหว จริงแบบทันที่ทันใด (Real Time Video/Live Video) ลักษณะการสื่อสารยุคดิจิทัล 45 การสื่อสารแบบดวยตัวอักษร (Text) การสื่อสารยุคดิจิทัล หมายถึง การสื่อสารแบบดวยภาพนิ่ง (Image) การสื่อสารระหวางบุคคลและสังคม ผานเครือขายอินเทอรเน็ตโดยการใชอุปกรณ การสื่อสารดวยภาพเชิงสัญลักษณ ดิจิทัลตาง ๆ เชน คอมพิวเตอร โทรศัพท (Emoticon และ Sticker) สมารตโฟน โทรศัพทดิจิทัล เปนตน และผาน การสื่อสารแบบดวยภาพเคลื่อนไหวจริง ชองทางการสื่อสารดิจิทัลหรือดิจิทัล (Video) แพลตฟอรม (Digital Platform) การสื่อสารแบบดวยภาพเคลื่อนไหว จริงแบบทันที่ทันใด (Real Time Video/Live Video) ลักษณะการสื่อสารยุคดิจิทัล 46 การสื่อสารแบบดวยตัวอักษร (Text) เปนรูปแบบการสื่อสารทางดิจิทัลพื้นฐาน ที่พบไดทุกรูปแบบสื่อ และทุกชองทางสื่อสาร การสื่อสารแบบดวยภาพนิ่ง (Image) เปนรูปแบบการสื่อสารทางดิจิทัลที่พบไดทุก รูปแบบสื่อ และทุกชองทางสื่อสาร การสื่อสารดวยภาพเชิงสัญลักษณ (Emoticon และ Sticker) เปนรูปแบบการ สื่อสารทางดิจิทัลที่พบไดบอยในสื่อสังคมออนไลน เชน Facebook, Line, Twitter, Instagram เปนตน และไดรับความนิยมมากขึ้นในปจจุบัน เนื่องจากมี การผสมผสานสื่อภาพ เสียง และสามารถเปนตัวแทนของผูสงสารเพื่อแสดงออก ทางความรูสึกได 2. ลักษณะการสื่อสารยุคดิจิทัล 47 การสื่อสารแบบดวยภาพเคลื่อนไหวจริง (Video) เปนรูปแบบการสื่อสารทางดิจิทัล ที่พบไดบอยในสื่อ สังคมออนไลน เชน Youtube, Facebook, Twitch เปนตน การสื่อสารแบบดวยภาพเคลื่อนไหวจริงแบบทันที่ทันใด (Real Time Video/Live Video) เปน รูปแบบการสื่อสารทางดิจิทัลที่พบไดบอยในสื่อสังคมออนไลน เชน Youtube, Facebook, Twitch เปน ตน 2.1 การสื่อสารผานเครือขายสังคมออนไลน 48 ปจจุบันเครือขายสังคมออนไลนอยูมากมาย แตที่ไดรับความนิยมมาก ไดแก Facebook, Twitter, Line, YouTube และ Instagram เปนตน Facebook ไดกําหนดระดับความเปนสวนตัว 3 ระดับ คือ  สาธารณะเปนการกําหนดวาไมใครก็ตามสามารถเห็นโพสตขอความที่นําเสนอได  เพือ่ นเปนการกําหนดวา เฉพาะ เพือ่ นใน Facebook เทานั้นที่สามารถมองเห็นโพสต ของเราได  เฉพาะฉันเปนกําหนดใหเฉพาะตนเองเทานั้นที่จะเห็นโพสต นั่นคือ บุคคลอื่นไม สามารถเห็นโพสตนั้นได  “การโพสตสถานะ” ที่สามารถ แสดงความคิดเห็นความรูสึกผานตัวอักษร รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว ระบุ กิจกรรม  กลุมผูรับสาร สามารถสง ปฏิกิริยาสะทอนกลับผานคุณสมบัติหลักของ Facebook คือ การกดไลค (Like) หรือ การกดถูกใจ ซึ่งเปนการแสดงออก วาเห็นดวยหรือชื่นชอบกับโพสตนั้น 2.1 การสื่อสารผานเครือขายสังคมออนไลน 49 รูปที่ 3 การกดถูกใจและการแสดงความคิดเห็น รูปที่ 4 การกําหนดกลุมผูรับสาร (ผูที่สามารถมองเห็นโพสต) การสื่อสารผานเครือขายสังคมออนไลน 50 Twitter เปนชองทางการสื่อสารออนไลนที่มคี วามรวดเร็ว สามารถสราง กระแสของขอมูลสารสารไดอยางรวดเร็วผานการ Tweet (ทวีต) และ Retweet (รีทวีต) ที่เปนการแบงปนขอมูลนี้ ไปสูบุคคลอื่นบนแพลตฟอรม Twitter ซึ่งเราสามารถกําหนดวาจะ ติดตาม(Follow) บุคคลหรือบัญชีผูใชใด เพื่อตองการทราบขาวสาร ความเคลื่อนไหวที่บุคคลนั้นตองการสือ่ สารผานการทวีต รูปที่ 6 การแสดงความคิดเห็น การถูกใจ การรีทวีต รูปที่ 5 การทวีต (Tweet) การสื่อสารผานเครือขายสังคมออนไลน 51 วิธีการรูปแบบใหมของการสื่อสารดิจิทัลที่ นาสนใจ  Mentions (เรียกวา การ tag บุคคลอื่นๆ) ทําได โดยพิมพ @ และตามดวยชื่อบัญชีของบุคคล  Hashtag (เรียกวาการติดแฮชแท็ก) คือ การกําหนด คําสําคัญ โดยพิมพตามหลังสัญลักษณ # ซึ่งจะทํา ใหสะดวกตอการคนหาเรื่องราวที่เปนประเด็นสนใจ รวมกัน ซึ่งในปจจุบันถือเปนศูนยขาวหรือเรื่องราว ตามกระแสที่สามารถคนหาไดอยางรวดเร็ว รูปที่ 7 ตัวอยางกระแส # ผานทวีตเตอร การสื่อสารผานเครือขายสังคมออนไลน 52 การใช Emoticon หรือ Sticker คือ การสื่อสารดวย สัญลักษณ ซึ่งแตเดิมมีการเริ่มตนมาจากการงานโปรแกรมสนทนา โดยมีการพิมพตัวอักษรเพื่อที่จะแสดงความรูสึก เชน :) หมายถึง ยิ้ม และ :- ( หมายถึง ไมพอใจ เปนตน และไดมีการพัฒนารูปแบบ ขึ้นเปนรูป (มักเรียกวาEmoticon มาจาก Emotion + Icon) เชน 🙂🙂แทนหนายิ้ม หรือ 🙁🙁แทนหนาเศราและในการสื่อสารยุค ปจจุบัน สัญลักษณเหลานี้ไดมีการปรับปรุงและพัฒนาใหมีความ นาสนใจและสามารถสื่อแทนอารมณไดมากขึ้น นั่นคือ Sticker ซึ่ง รูปที่ 8 ตัวอยางสติ๊กเกอรจากแอปพลิเคชัน LINE ไดรับความนิยมในการสื่อสารดิจิทัลเปนอยางมาก โดยเฉพาะแอป พลิเคชัน Line 53 3. แนวทางการสื่อสารยุคดิจิทัลเพื่อสื่อสารใหไดความหมายและสรางคุณคา มีความรับผิดชอบ คือ คํานึงถึงผลกระทบที่จะตามมา การสื่อสารดวยรูปแบบใด หลังจากสื่อสารนั้นเกิดขึ้นไปแลว หรือสารถูกเผยแพร ซึ่งอาจจะ ก็ตามผูสงสารหรือผู กอใหเกิดผลดานบวกและดานลบตอบุคคลและสังคม ดังนั้น สื่อสารตองคํานึงหลักการ กอนที่จะสื่อสารหรือเผยแพรสิ่งใดออกไปใหผูสื่อสารตองศึกษา สําคัญ 3 ขอ ไดแก คนควา และคิดไตรตรองกอนเสมอ ผูประกอบการสื่อควรตองมี จรรยาบรรณ โดยใหคํานึงถึงความถูกตอง ความเปนเหตุเปนผล ถูกกฎหมาย ถูกศีลธรรม ถูกธรรมเนียมประเพณี คิดถึงจิตใจของ ผูรับสาร เคารพในสิทธิและเกียรติ และเหมาะสมกับสถานการณ 54 3.แนวทางการสื่อสารยุคดิจิทัลเพื่อสื่อสารใหไดความหมายและสรางคุณคา การสื่อสารดวยรูปแบบใด มีความประณีต คือ คือ การเลือกระดับของภาษา การ ก็ตามผูสงสารหรือผู เลือกสรรถอยคําการใชสํานวนทางภาษา การจัดองคประกอบ สื่อสารตองคํานึงหลักการ การจัดรูปแบบ ลําดับเนื้อหา และแสดงเนื้อหาสาระ ความหมาย สําคัญ 3 ขอ ไดแก โดยสารที่ถูกสงออกไปตองมีความกระชับ ความไพเราะ สุภาพ เพื่อใหบรรลุตามจุดประสงคของการสื่อสาร รวมถึงเลือกใช ชองทางและอุปกรณที่เหมาะสม 55 3.แนวทางการสื่อสารยุคดิจิทัลเพื่อสื่อสารใหไดความหมายและสรางคุณคา การสื่อสารดวยรูปแบบใด ถูกกาลเทศะ คือ การคํานึงถึงผูรับสาร จุดประสงคการ ก็ตามผูสงสารหรือผู สื่อสาร กฎระเบียบขอบังคับ ระยะเวลา เครื่องมือ เทคโนโลยี สื่อสารตองคํานึงหลักการ และสถานการณแวดลอม ตัวแปรเหลานี้จะเปนตัวกําหนดความ สําคัญ 3 ขอ ไดแก เหมาะสมของสารและองคประกอบการสื่อสาร 56 4 การสื่อสารยุคดิจิทัลใหปลอดภัย จากองคประกอบและรูปแบบการสื่อสารดิจิทัลที่ไดกลาวมาขางตน ซึ่งมีจุดประสงคหลัก คือ เพื่อใหเกิดการสื่อสารที่มีคุณภาพ ที่ไมเพียงแตการบรรลุวัตถุประสงค แตยังตองมีความสรางสรรค และปลอดภัยตอผูรับสาร โดยมีการพิจารณาวาผูสงสารจะสงสารอะไรมายังผูรับสาร และผูรับสารจะรับสารเหลานั้น หรือไม การที่ผูรับสารจะรับสารเหลานั้น ก็ยอมขึ้นอยูกับดุลพินิจของผูรับสารวาสื่อที่จะรับมีความ เหมาะสมในระดับใด ทั้งนี้ เพื่อเปนการเสริมสรางความปลอดภัยในการใชการสื่อสารดิจิทัล ผูใชควร คํานึงถึงหลัก 2P และ 2F ซึ่งประกอบดวยรายละเอียด ดังนี้ 57 4 การสื่อสารยุคดิจิทัลใหปลอดภัย Prevention (ปองกัน) 2P สื่อสารดิจิทัลผูใช Protection (ปกปอง) ควรคํานึงถึงหลัก 2P และ 2F Final Decision (ไตรตรอง) 2F Friend Acceptation Filtering (คัดสรร) 58 4 การสื่อสารยุคดิจิทัลใหปลอดภัย Prevention (ปองกัน) ผูใชงานควรเรียนรูเครื่องมือหรือชองทางที่จะใชสื่อสาร (มุงเนนที่สื่อ 2P สังคมออนไลน) วามีคุณสมบัติอยางไร รวมถึงตรวจสอบแหลงที่มาของ สารและขอมูล ปฏิเสธไมรับสารหรือสื่อที่ไมเหมาะสม การตั้งคาปองกัน ทั้งใน รูปแบบของเว็บไซต หรือไฟล Protection (ปกปอง) ใหปองกันความปลอดภัยของการใชงานสื่อดิจิทัล ผานการตั้ง คาในแต ละแพลตฟอรม รวมทั้งความตระหนักในการใชงานเพื่อปกปองขอมูล สวนบุคคลของตนเอง และไมละเมิดขอมูลสวนบุคคลของผูอื่น 59 4 การสื่อสารยุคดิจิทัลใหปลอดภัย Final Decision (ไตรตรอง) ใหปองกันความเปนสวนตัวของการใชงานสื่อดิจิทัลและการวิเคราะห ไตรตรองอยางรอบคอบถึงผลกระทบในดานตางๆ กอนที่จะสื่อสารขอมูล 2F ขาวสารใด ๆ บนเครือขายสังคมออนไลน เพราะ เมื่อมีการสงสารนั้นไปแลว ดวยธรรมชาติของสื่อดิจิทัลจะสามารถเผยแพรไปไดอยางรวดเร็วและแกไข ปญหาไดยาก Friend Acceptation Filtering (คัดสรร) การสรางสังคมบนเครือขายออนไลนตองคัดกรองบุคคลที่จะเขามาเปน เพื่อนในสังคมออนไลน หรือคัดเลือกผูที่ติดตอผานสื่อดิจิทัลไมควรเปดใหคนที่ ไมรูจักเขามาได เนื่องจากบนสื่อสังคมออนไลน ถึงแมจะเสมือนพื้นที่สวน บุคคล แตถือเปนจุดเสี่ยงที่ทําใหบุคคลที่ไมประสงคดีเขามาแสวงหา ผลประโยชนในทางมิชอบได 60 5.การจัดการปญหาการสื่อสารยุคดิจิทัล การใชระบบการสือ่ สารดิจทิ ัล นั้นเปรียบเสมือนการอยูรวมกันในสังคม ซึ่งจะตอง คํานึงถึงบุคคลอื่นที่ใชงานการสือ่ สารดิจทิ ลั ดวยเชนกัน ดวยเหตุนี้จงึ มีประเด็นดาน จรรยาบรรณและขอกฎหมายที่เกีย่ วกับการใชงานการสื่อสารดิจทิ ัล เพื่อเปนควบคุมและเปน ขอกําหนดสําหรับผูใ ชงานใหสามารถอยูรวมกันกับผูอ ื่นไดอยางสงบสุข ซึ่งตองไมขัดตอหลัก กฎหมายที่บังคับใชในประเทศ ทั้งนี้กฎหมายและขอบังคับเปนการปองกันปญหาที่เกิดจากการสื่อสารบนโลกออนไลน ที่ตน เหตุ และสรางความเกรงกลัวตอบทลงโทษเพื่อลดโอกาสการกระทําผิดตางๆ 61 5.การจัดการปญหาการสื่อสารยุคดิจิทัล จรรยาบรรณของการสื่อสารดิจทิ ัลนั้น มีประเด็นหลากหลายที่จะเปนแนวทางในการ ปฏิบัติใหถูกตองและเหมาะสม แตประเด็นสําคัญหนึง่ ที่ผใู ชควรคํานึงถึงในการใชงานการ สื่อสารดิจทิ ัลนั่นก็คือ ขอเท็จจริงและขอคิดเห็น ซึ่งผูใชงานควรจะแยกแยะไดวาขอมูลใดคือ ขอเท็จจริง และขอมูลใดคือขอคิดเห็น เพื่อนํามาวิเคราะหจดุ ประสงคของการสือ่ สารและมี ผลตอปฏิกริ ิยาสะทอนกลับของการสื่อสาร ซึ่งมีขอเปรียบเทียบดังตาราง ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบลักษณะขอเท็จจริง (Fact) และขอคิดเห็น (Opinion) 62 5.การจัดการปญหาการสื่อสารยุคดิจิทัล ตารางที่ 2 ตัวอยางขอความที่เปนขอเท็จจริงและขอคิดเห็น จากตารางที่ 2 กลาวไดวาขอเท็จจริงมีความแตกตางจากขอคิดเห็นอยางชัดเจน นั่นคือขอคิดเห็นมักรวมเอา ความรูสึกสวนบุคคลของผูสงสาร มีสารที่บงบอกความไมแนนอน หรือแสดงการคาดคะเน ดังนั้น ผูใชจึงควรที่จะสามารถแยกแยะไดวาสิ่งไหนที่เปนขอเท็จจริง สิ่งไหนคือขอคิดเห็นและนําสิ่งที่ แยกแยะไดมาพิจารณาวาสมควรที่จะสงตอ แบงปนหรือบอกตอทางชองทางการสื่อสารดิจิทัลหรือไม 63 5. การจัดการปญหาการสื่อสารยุคดิจิทลั นอกเหนือจากการวิเคราะหถึงสื่อที่ผูสงสื่อตองการจะสื่อสารแลว อีกสิ่งหนึ่งที่ผูใชควรที่จะคํานึงถึง คือ แนวทางการสื่อสารดิจิทัลอยางสรางสรรค ตามหลัก 7C ซึ่งประกอบดวย Complete Consideration C1 C2 C3 C4 Conciseness Clarity 64 5. การจัดการปญหาการสื่อสารยุคดิจิทลั Complete Consideration C5 C6 C7 Consideration 65 C1 – Complete สิ่งที่จะสื่อสารออกมาควรมีความสมบูรณครบถวน ซึ่งสามารถ ทําไดดวยการอานเนื้อความที่จะสื่อสารใหครบถวนเสียกอน เพื่อให ผูใชไดมีโอกาส ในการทบทวนเนื้อหาที่จะสื่อสารออกไปใหเขาใจใน วัตถุประสงคเดียวกัน 66 C2 – Conciseness สิ่งที่จะสื่อสารออกมาควรมีความกระชับ คือ ใหสื่อสารออกมาเฉพาะ ใจความสําคัญที่ตองการสื่อสารใหสั้นและกระชับ ไมจําเปนตองเขียนหรือ พูดยาวๆ โดยไมจําเปน 67 C3 - Consideration ควรพินิจพิเคราะหสิ่งที่จะสื่อสารอกมา โดยผูสงสารควร คํานึงถึงผูรับสารวาจะรูสึกอยางไรกับสิ่งที่ผูสงสารตองการจะสื่อ ออกมาควรเปนขอความในเชิงบวก 68 C4 – Clarity สิ่งที่จะสื่อสารออกมาควรมีความชัดเจน ไมวาจะเปนการพูด การเขียน ตองมีความชัดเจน เรียบงาย และเขาใจไดทันทีที่รับสาร 69 C5 – Concrete สิ่งที่จะสื่อสารออกมาสารควรเปนรูปธรรม มีความชัดเจน เนื้อหาประกอบดวยขอเท็จจริงและหลักฐานที่สามารถยืนยัน ขอเท็จจริงไดเพื่อปองกันไมใหตีความผิดไป 70 C6 – Courtesy สิ่งที่จะสื่อสารออกมาควรมีความสุภาพ เพื่อแสดงถึงความมี มารยาทของผูสงสาร รวมไปถึงเปนการสะทอนความรูสึกที่ดีของ ผูสงสารที่จะสงถึงผูรับสาร 71 C7 – Correct สิ่งที่จะสื่อสารออกมาควรมีความถูกตอง อันเกิดจากการพิจารณา และตรวจสอบสิ่งที่จะสงสารจากทางผูสงสาร ซึ่งถาหากสิ่งที่จะสื่อสาร ออกไปนั้นไมมีความถูกตอง ควรแกไขทันที 72 6 ผลการวิเคราะหการประยุกตการสื่อสารยุคดิจิทัลในชีวิตประจําวัน รูปแบบของการสื่อสารในปจจุบันมีรูปแบบการสื่อสารที่หลากหลายและรวดเร็วกวาในอดีต มากการเขาถึงเทคโนโลยีดิจิทัลและการใชงานที่งายขึ้น ทําใหเปนที่นิยมสื่อสารกันผานทางออนไลน เพราะมีประสิทธิภาพและตัวเลือกที่มากกวา เชน การโทรศัพทแบบเห็นหนา (FaceTime) การประชุม รวมกันแบบเรียลไทมผานแอปพลิเคชัน (Real-Time Meeting Conference) การสงขอความ อัตโนมัติที่มีผูรับหลายคน (Online Broadcast) เปนตน 73 6 ผลการวิเคราะหการประยุกตการสื่อสารยุคดิจิทัลในชีวิตประจําวัน ดังนั้น จะตองเขาใจจุดประสงคของเรื่องที่ตองการจะสื่อสารวาควรใชชองทางใดจึงจะ เหมาะสมที่สุด โดยตองคํานึงถึงหลักการสื่อสารพื้นฐาน ไมตางจากการสื่อสารในรูปแบบดั้งเดิม เชน การสงเอกสารที่สําคัญและเปนพิธีการไมควรสงทางไลน (Line) แตควรสงทางอีเมลใหเปน กิจลักษณะการนําเสนอผลงาน (Presentation) ควรมีรูปภาพที่สื่อความหมาย หรือคลิปวิดีโอ มากกวาการมีแตตัวหนังสือ ซึ่งสามารถดึงความสนใจและสรางความรับรูใหกับผูรับสื่อไดมากกวา นอ?

Use Quizgecko on...
Browser
Browser