Introduction of Social Enterprise PDF
Document Details
Uploaded by AffableBagpipes
Tags
Summary
This document explores the concept of social enterprise, detailing its aims, characteristics, and practical models. It discusses factors contributing to success and different types of social enterprises.
Full Transcript
Introduction of Social Enterprise วัตถุประสงค์การ เรียนรู้ ✘นิสิตสามารถอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับ ธุรกิจเพื่อสังคมได้ ✘นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ปัจจัยที่ทำให้ธุรกิจเพื่อสังคมประสบ ความสำเร็จ ✘นิสิตสามารถอธิบายระบบนิเวศของธุรกิจ เพื่อสังคมและรูปแบบธุรกิจเพื่อสังคมได้...
Introduction of Social Enterprise วัตถุประสงค์การ เรียนรู้ ✘นิสิตสามารถอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับ ธุรกิจเพื่อสังคมได้ ✘นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ปัจจัยที่ทำให้ธุรกิจเพื่อสังคมประสบ ความสำเร็จ ✘นิสิตสามารถอธิบายระบบนิเวศของธุรกิจ เพื่อสังคมและรูปแบบธุรกิจเพื่อสังคมได้ 2 แนวคิดเกี่ยวกับ ธุรกิจเพื่อสังคม แนวทางในการดำเนินธุรกิจเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพสังคม สิ่ แวดล้อม และเศรษฐกิจ ให้มีความสมดุลมากขึ้น 3 SE คืออะไร จุด เริ่มต้น ? เกิดขึ้นครั้งแรกในช่วงกลาง ทศวรรษที่ 19 ปัญหาเศรษฐกิจการค้าที่มุ่งเน้น การแข่งขันอย่างรุนแรง รวมกลุ่ม ชาวบ้าน หรือเกษตรกร องค์กรอาสาสมัคร เพื่อแก้ปัญหา การถูกเอาเปรียบในสังคม 4 แนวคิดธุรกิจ เพื่อสังคม Muhammad Yunus “มุ่งตอบสนองเป้าหมายทาง “ โมเดลต้นแบบ 6 “ ธุรกิจเพื่อ สังคมคืออะไร? ธุรกิจที่มีรายได้จากการขาย การผลิต สินค้าหรืบริการ มีเป้าหมายอย่าง ชัดเจน เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก ไม่ได้กำหนดเป้าหมายเพื่อสร้างกำไร สูงสุดต่อผู้ถือหุ้นและเจ้าของธุรกิจ เท่านั้น 7 ลักษณะของธุรกิจ “ เพื่อสังคม การผลิต การดำเนินธุรกิจ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ ไม่ส่งผล เสียในระยะยาวต่อสังคม สุข ภาวะ และสิ่งแวดล้อม มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี มีศักยภาพที่จะมีความยั่งยืน ทางการเงินได้ด้วยตนเอง 8 ลักษณะของธุรกิจ “ เพื่อสังคม ในประเทศอังกฤษ ผลิตสินค้าและบริการโดย แสวงหาผลกำไร มีวัตถุประสงค์เพื่อ สังคมชัดเจน เช่น สร้าง งานเพื่อชุมชน ฝึกฝน ทักษะของชุมชน หรือจัดหา บริการแก่ชุมชน กระจายความเป็นเจ้าของไป 9 “ SE VS CSR เป็นธุรกิจไม่ ทำโครงการ หวังผลกำไร เพื่อสังคมของ แต่มีกำไรและ ธุรกิจที่มุ่ง นำกำไรไปใช้ แสวงหาผลกำไร เพื่อสังคม สูงสุดเป็น 10 “ รูปแบบของธุรกิจ กิจกรรมของธุรกิจและโครงการ เพื่อสังคม เพื่อสังคมเป็นสิ่งเดียวกัน (Embedded Social Enterprise) กิจกรรมทั้งสองประเภทจะมีส่วน ที่ทับซ้อนกันอยู่ โดยมากมัก เป็นการแชร์ต้นทุนและ สินทรัพย์(Integrated Social Enterprises) 11 “ รูปแบบของธุรกิจ กิจกรรมของธุรกิจและโครงการ เพื่อสังคม เพื่อสังคมเป็นสิ่งเดียวกัน (Embedded Social Enterprise) 12 “ รูปแบบของธุรกิจ เพื่อสังคม กิจกรรมทั้งสองประเภทจะมีส่วนที่ ทับซ้อนกันอยู่ เป็นการแชร์ ต้นทุนและสินทรัพย์(Integrated Social Enterprises) 13 “ รูปแบบของธุรกิจ เพื่อสังคม กิจกรรมทางธุรกิจที่นอกเหนือจากการจัดการของ องค์กร องค์กรไม่แสวงหากำไรสร้างผู้ประกอบ การเพื่อสังคมเพื่อจัดหาเงินทุนที่ไม่จำกัด ให้กับองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร (External Social Enterprises ) 14 ประเภทธุรกิจ “ เพื่อสังคม ธุรกิจเน้นด้าน สินค้า ธุรกิจเน้นด้าน บริการ ธุรกิจผสม 15 ประเภทธุรกิจ “ ธุรกิจเน้นด้าน เพื่อสังคม สินค้า 16 ประเภทธุรกิจ “ ธุรกิจเน้นด้าน เพื่อสังคม บริการ 17 ประเภทธุรกิจ “ ธุรกิจผสม เพื่อสังคม 18 ประเภทธุรกิจเพื่อ สังคม ✘ ธุรกิจเพื่อสังคมที่ไม่แสวงหา กำไรแต่มีการหารายได้ (Nonprofit with Income Generating Activities) ✘ ธุรกิจเพื่อสังคม ประเภทผสมผสาน (Hybrid) ✘ กิจการเพื่อสังคมที่พัฒนาจาก ธุรกิจที่มีความรับผิดชอบต่อ (กิจการเพื่อสังคมไนส์คอร์ป ,2557) 19 ประเภทธุรกิจเพื่อ สังคม ✘ ธุรกิจเพื่อสังคมที่ไม่แสวงหา กำไรแต่มีการหารายได้ (Nonprofit with Income Generating Activities) https://th.socialgiver.com/th 20 ประเภทธุรกิจเพื่อ สังคม ✘ ธุรกิจเพื่อสังคม ประเภทผสม ผสาน (Hybrid) 21 ประเภทธุรกิจเพื่อ สังคม ✘ กิจการเพื่อสังคมที่พัฒนาจากธุรกิจ ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม (Socially Responsible Business) 22 เพื่อสังคม ต่อการพัฒนาที่ ยั่งยืน เป็นเครื่องมือแก้ไขปัญหาและ พัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างกลไกตลาดที่มี คุณธรรมและยั่งยืน การพัฒนาคุณภาพบริการสาธารณะ สร้างนวัตกรรมและรูปแบบของการ บริการสาธารณะ 23 ปัจจัยที่ส่งผลให้ ธุรกิจเพื่อสังคม ประสบความสำเร็จ การสร้างความรับผิดชอบสังคมจากภายใน การส่งเสริมให้เกิดความชัดเจนในการ เป็นผู้ประกอบการสังคม 24 ปัจจัยที่ส่งผลให้ ธุรกิจเพื่อสังคม ประสบความสำเร็จ การสร้างความรับผิดชอบสังคมจากภายใน ความเท่าเทียมกันในการปฏิบัติงาน ระบบในการปกป้องสิทธิความเป็น มนุษย์ของผู้ปฏิบัติงาน การส่งเสริมรูปแบบหรือแผนงานที่ สร้างความยั่งยืนให้กับสังคมโดยรวม การปรับเปลี่ยนทัศนคติ และเทคนิค 25 ปัจจัยที่ส่งผลให้ ธุรกิจเพื่อสังคม ประสบความสำเร็จ การส่งเสริมให้เกิดความชัดเจนในการ เป็นผู้ประกอบการสังคม คำนึงถึงความอยู่ดี มาสุขของสังคมมาก่อน การใช้นวัตกรรมมา แก้ไขปัญหาทางสังคม การพึ่งพาอาศัยซึ่ง 26 ความท้าทายของ ธุรกิจเพื่อสังคม และระบบนิเวศของ ธุรกิจเพื่อสังคม สถานการณ์ความท้าทายของธุรกิจเพื่อ สังคม ส่วนงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุน ธุรกิจเพื่อสังคม ระบบนิเวศธุรกิจเพื่อสังคม 27 ความท้าทายของธุรกิจ เพื่อสังคมและระบบนิเวศ ของธุรกิจเพื่อสังคม สถานการณ์ความท้าทายของธุรกิจ เพื่อสังคม ความสามารถของ บุคลากร เงินทุน ต้นทุนในการดำเนิน ธุรกิจมีสูง สภาพแวดล้อมที่ช่วย ให้ธุรกิจเพื่อสังคม เติบโต 28 ความท้าทายของธุรกิจ เพื่อสังคมและระบบนิเวศ ของธุรกิจเพื่อสังคม ส่วนงานที่เกี่ยวข้องในการ สนับสนุนธุรกิจเพื่อสังคม ด้านความรู้และทักษะที่จำเป็น : ภาคเอกชนและสถาบันการศึกษา ด้านแหล่งเงินทุน : ธนาคาร หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ด้านนโยบายสนับสนุน : สร้างแรงจูงใจ ให้กับภาคส่วนต่างๆ มีส่วนร่วม สนับสนุนธุรกิจเพื่อสังคม ด้านการสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อ 29 ระบบนิเวศของธุรกิจ เพื่อสังคมตามลักษณะ หน่วยงาน 30 ระบบนิเวศของธุรกิจ เพื่อสังคม มุ่ง ความสัมพันธ์ระหว่าง หน่วยงาน 31 ระบบนิเวศธุรกิจ เพื่อสังคม นโยบายภาครัฐ การเงินและการ การพัฒนา (Policy) ลงทุน(Finance) บุคคล(Human Capital) ตลาดและผู้ การรับรู้และ โครงสร้างพื้นฐาน 32 บริโภค(Market ตระหนักถึง เครือข่าย(Support) Business Sector มุ่งกำไรเป็น กบริหาร นวัตกรรม ทรัพยากร หลัก และสิ่ง ที่มี อยู่ VS ใหม่ เพื่อ สร้าง อย่าง จำกัด คุณค่า Public Sector สร้างคุณค่าให้ 33 Business Sector VS Public Goods จ้างเองได้ ลำบากในการจ้างคน สร้างผลกำไร ให้ สร้างชื่อเสียงและ เงินปันผล สร้างประโยชน์ต่อ สังคม Peopl e (Sahlman, 1996) 34 Business Sector VS Public Goods การแข่งขัน เงินทุน ทางด้านการ สนับสนุนจาก หาทรัพยากร ภาครัฐ จากนักลงทุน ส่วนแบ่ง Conte จำนวนอาสา สมัคร ทางการตลาด xt และลูกจ้าง (Sahlman, 1996) 35 Business Sector VS Public Good วัดผลชัดเจน มีความ จำนวนตัว ยืดหยุ่น เงิน ในการ Deal วัดผล จำนวน (Sahlman, 1996) ความเป็น 36 Business Sector VS Public Goods ผลตอบแทน ผลตอบแทน เชิง เชิงสังคม เศรษฐศาสตร์ มองปัญหา ขนาดตลาด Opportun สังคมและ ความน่าสนใจ ความต้องการ ของ ity ของสังคม อุตสาหกรรม (Sahlman, 1996) เป็นหลัก 37 Business Sector VS Public Goods แรง เสนอ จูงใจ คุณค่า เหมือนกันใน ธุรกิจเสนอ เรื่องการ ผลิตภัณฑ์หรือ สร้างความ บริการตอบสนอง สำเร็จจาก ความคิดหรือ ความต้องการ นวัตกรรม ของตลาด ต่างกันใน ธุรกิจเพื่อ เรื่องกำไร (Martin & Osberg, สังคมเสนอ 38 และการทำ คุณลักษณะของผู้ประกอบการ เพื่อสังคม ✘ จิตสำนึกในการประกอบการ (Entrepreneurial Mindset) นำสิ่งที่ ไม่ได้ใช้หรือถูกทิ้ง มาใช้เพื่อตอบ ความต้องการได้ ✘ นวัตกรรม (Innovative) สร้างสินค้าและ บริการใหม่ กระบวนการใหม่ที่สามารถ ที่จะแก้ไขปัญหาได้ (Leadbeater, 1997) 39 ใบงานวิเคราะห์ กรณีศึกษา ให้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกรณี ศึกษาธุรกิจเพื่อสังคมทั้งใน และ ต่างประเทศ เกี่ยวกับประเด็นปัญหา ผลกระทบ และวิธีแก้ไขปัญหา 40