พรบ. อาชีวะ PDF
Document Details
Uploaded by ElegantIdiom
Tags
Summary
เอกสารนี้ประกอบด้วยคำถามและคำตอบเกี่ยวกับการอาชีวศึกษา
Full Transcript
1. ข้อใด คือ ความหมาย “การอาชีวศึกษา” ก.กระบวนการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับ เทคโนโลยี ข.การเพิ่มพูนความรู้และการฝึกทักษะอาชีพระยะสั้นหรือระยะยาว ทั้งในและนอกสถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษา ซึ่งจัดขึ้นเป็นโครงการหรือสาหรับกลุ่ม...
1. ข้อใด คือ ความหมาย “การอาชีวศึกษา” ก.กระบวนการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับ เทคโนโลยี ข.การเพิ่มพูนความรู้และการฝึกทักษะอาชีพระยะสั้นหรือระยะยาว ทั้งในและนอกสถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษา ซึ่งจัดขึ้นเป็นโครงการหรือสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะภายใต้หลักสูตร ที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด ค.สถาบันการอาชีวศึกษาของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อดาเนินการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ตามพระราชบัญญัตินี้ ง.สถานประกอบการที่ร่วมมือกับสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพื่อจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด จ.ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพและมาตรฐานในการจัดการอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ เพื่อ ใช้เป็นเกณฑ์ในการส่งเสริม การกากับดูแลการตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพการจัดการ อาชีวศึกษา 2. กระบวนการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับ เทคโนโลยี ก.“การฝึกอบรมวิชาชีพ” ข.“มาตรฐานการอาชีวศึกษา” ค.“การอาชีวศึกษาฝึกอบรมวิชาชีพ” ง.“การอาชีวศึกษา” 3. ข้อใด คือ ความหมาย “การฝึกอบรมวิชาชีพ” ก.กระบวนการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับ เทคโนโลยี ข.การเพิ่มพูนความรู้และการฝึกทักษะอาชีพระยะสั้นหรือระยะยาว ทั้งในและนอกสถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษา ซึ่งจัดขึ้นเป็นโครงการหรือสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะภายใต้หลักสูตร ที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด ค.สถาบันการอาชีวศึกษาของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อดาเนินการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ตามพระราชบัญญัตินี้ ง.สถานประกอบการที่ร่วมมือกับสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพื่อจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด จ.ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพและมาตรฐานในการจัดการอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ เพื่อ ใช้เป็นเกณฑ์ในการส่งเสริม การกากับดูแลการตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพการจัดการ อาชีวศึกษา 4. ข้อใด คือ ความหมาย “มาตรฐานการอาชีวศึกษา” ก.กระบวนการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับ เทคโนโลยี ข.การเพิ่มพูนความรู้และการฝึกทักษะอาชีพระยะสั้นหรือระยะยาว ทั้งในและนอกสถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษา ซึ่งจัดขึ้นเป็นโครงการหรือสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะภายใต้หลักสูตร ที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด ค.สถาบันการอาชีวศึกษาของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อดาเนินการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ตามพระราชบัญญัตินี้ ง.สถานประกอบการที่ร่วมมือกับสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพื่อจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด จ.ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพและมาตรฐานในการจัดการอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ เพื่อ ใช้เป็นเกณฑ์ในการส่งเสริม การกากับดูแลการตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพการจัดการ อาชีวศึกษา 5.ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ก.นายกรัฐมนตรี ข.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ค.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ง.เลขาธิการการอาชีวศึกษา 6.กระบวนการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพ ตาม พรบ. การอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อใดไม่ถูกต้อง ก.ระดับฝีมือ ข.ระดับเทคนิค ค.ระดับเทคโนโลยี ง.ระดับเชี่ยวชาญ 7.รูปแบบการจัดการศึกษา “การอาชีวศึกษา” มีกี่รูปแบบ ก.2 รูปแบบ ข.3 รูปแบบ ค.4 รูปแบบ ง.5 รูปแบบ 7.ข้อใด ไม่ใช่ รูปแบบการจัดการศึกษา “การอาชีวศึกษา” ก.การศึกษาในระบบ ข.การศึกษานอกระบบ ค.การศึกษาระบบทวิภาคี ง.การศึกษาตามอัธยาศัย 8.การจัดการศึกษาวิชาชีพที่เน้นการศึกษาในสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันเป็นหลัก โดยมีการ กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาการวัดและการประเมินผลที่เป็นเงื่อนไขของ การสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน คือ ก. การศึกษาในระบบ ค. การศึกษาตลอดชีวิต ข. การศึกษานอกระบบ ง. การศึกษาระบบทวิภาคี 9.เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนด จุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการศึกษา ระยะเวลา การวัดและการประเมินผลที่เป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมี ความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ ละกลุ่ม ก. การศึกษาในระบบ ค. การศึกษาตลอดชีวิต ข. การศึกษานอกระบบ ง. การศึกษาระบบทวิภาคี 10.เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันกับ สถานประกอบการโดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึ่งในสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน และเรียนภาคปฏิบัติใน สถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐ ก. การศึกษาในระบบ ค. การศึกษาตลอดชีวิต ข. การศึกษานอกระบบ ง. การศึกษาระบบทวิภาคี 11. หลักสูตรที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนดในการจัดการอาชีวศึกษาและการ ฝึกอบรมวิชาชีพ ข้อใดไม่ใช่ ก. ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ค. ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ข. ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ง. ประกาศนียบัตรวิชาชีพอาชีวศึกษา 12.เลขาธิการคณะกรรมการอาชีวศึกษา คือ ก. พลตารวจเอก เพิ่มพูน ชิดชอบ ค. นายสุเทพ แก่งสันเทียะ ข. ว่าที่ร้อยตรี ธนุ วงษ์จินดา ง. นายยศพล เวณุโกเศศ 13.คณะกรรมการอาชีวศึกษา มีกรรมการจานวนเท่าไหร่ ก. 12 คน ค. 17 คน ข. 29 คน ง. 30 คน 14.การรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อจัดตั้งเป็นอะไรได้ ก. มหาวิทยาลัย ค. สถาบัน ข. โรงเรียน ง. กรม 15.การรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อจัดตั้งเป็นสถาบัน ออกเป็นกฎหมายใด ก. พรบ. ค. ประกาศกระทรวง ข. พรฎ. ง. กฎกระทรวง 16.สถาบันมีฐานะเป็น ก. เป็นส่วนราชการ ค. ขึ้นตรงต่อ รมว.ศึกษาธิการ ข. ในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ง. นิติบุคล 17.สถาบันอาจแบ่งส่วนราชการ ข้อใดไม่ใช่ ก. สานักงานผู้อานวยการสถาบัน ข. วิทยาลัย ค. สานัก ง. กอง 18.นายกสภาสถาบัน ใครเป็นผู้แต่งตั้ง ก. พระมหากษัตริย์ โดยคาแนะนาของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ข. รัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ โดยคาแนะนาของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ค. เลขาธิการอาชีวศึกษา โดยคาแนะนาของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ง. คณะรัฐมนตรี โดยคาแนะนาของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 19.นายกสภาสถาบันและกรรมการสภาสถาบัน ดารงตาแหน่ง ก. 3 ปี 1 วาระ ข. 3 ปี 2 วาระ ค. 4 ปี 1 วาระ ค. 4 ปี 2 วาระ 20. อนุมัติแผนพัฒนาของสถาบันเกี่ยวกับการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพของ สถาบันให้สอดคล้องกับนโยบายการศึกษาของชาติ ก. เลขาธิการอาชีวศึกษา ข. คณะรัฐมนตรี ค. สภาสถาบัน ค. คณะกรรมการการอาชีวศึกษา 21.คณาจารย์ประจาซึ่งสอนชั้นปริญญาในสถาบันมีตาแหน่งทางวิชาการ ข้อใดไม่ใช่ ก. ครู ข. รองศาสตราจารย์ ค. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ง. อาจารย์ 22. เป็นความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบัน และสถานประกอบการในการจัด การศึกษา เรียกว่า ก. การศึกษาในระบบ ค. การศึกษาตลอดชีวิต ข. การศึกษานอกระบบ ง. การศึกษาระบบทวิภาคี 23.มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษา ก. กองทุนอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ข. กองทุนพัฒนาอาชีวศึกษา ค. กองทุนวิชาชีพอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ค. กองทุนเพื่อพัฒนาการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ 24.ผู้ใดใช้ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ ครุยประจาตาแหน่ง เครื่องแบบ เครื่องหมาย หรือเครื่องแต่ง กายของนักศึกษาหรือสิ่งใดที่เลียนแบบ ถ้าได้กระทาเพื่อให้บุคคลอื่นเชื่อว่าตนมีสิทธิที่จะใช้ มีโทษ ก.ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ข.ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ค.ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินเก้าเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ง.ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินสิบสองเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 25.ผู้ใดใช้ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ ครุยประจาตาแหน่ง เครื่องแบบ เครื่องหมาย หรือเครื่องแต่ง กายของนักศึกษาหรือสิ่งใดที่เลียนแบบ ถ้าได้กระทาเพื่อให้บุคคลอื่นเชื่อว่าตนมีสิทธิที่จะใช้ มีโทษ ก.ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ข.ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ค.ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินเก้าเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ง.ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินสิบสองเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 26.ปลอม หรือทาเลียนแบบซึ่งตรา สัญลักษณ์หรือเครื่องหมายของสถาบัน มีโทษ ก.ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ข.ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ค.ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ง.ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ