ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการจัดการ PDF
Document Details
Uploaded by AdaptableAutoharp
Khon Kaen University
Tags
Summary
เอกสารนี้อธิบายหลักการจัดการและองค์ประกอบที่สำคัญ
Full Transcript
Principles of Management การจัดการ (Management) หมายถึง กระบวนการดาเนินงานต่างๆร่ วมกันของ กลุ่มบุคคลเพื่อให้งานบรรลุตามเป้าหมาย ขององค์การอย่างมีประสิ ทธิภาพและมี ประสิ ทธิผลภายใ...
Principles of Management การจัดการ (Management) หมายถึง กระบวนการดาเนินงานต่างๆร่ วมกันของ กลุ่มบุคคลเพื่อให้งานบรรลุตามเป้าหมาย ขององค์การอย่างมีประสิ ทธิภาพและมี ประสิ ทธิผลภายใต้เงื่อนไขทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่าง จากัดขององค์การ ปั จจุบนั คนทัว่ ไปนิยมใช้ 2 คานี้สลับกันไปมาใช้แทนกัน หรื อ เรี ยกรวมกันว่า การบริ หารจัดการ การบริ หารถือว่าเป็ นส่ วนหนึ่ งของการจัดการ สามารถใช้ได้ท้ งั ในบริ บทที่ต่างกัน หรื อใช้แทนกันได้ การบริ หาร (Administration) การจัดการ (Management) ใช้กบั องค์การภาครัฐหรื อหน่วยงาน ใช้ในองค์การธุรกิจหรื อองค์การที่ สาธารณะที่ไม่มุ่งหวังผลกาไร มุ่งหวังผลกาไร ผูน้ า เรี ยกว่า ผูบ้ ริ หาร ผูน้ า เรี ยกว่า ผูจ้ ดั การ หัวใจ สาคัญของการจัดการ คือ การ ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิภาพและ ประสิ ทธิผล ในการจัดการนั้น ผูจ้ ดั การจะต้องมีท้ งั ศาสตร์และศิลป์ คือ เป็ นผูท้ ี่มีความรู ้และสามารถนา ความรู ้ไปใช้อย่างมีเหตุผล เพื่อให้การดาเนินงานได้ผลตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ศาสตร์ คือ ศิลป์ คือ การที่มีความรู ้ การมีทกั ษะที่เกิดจาก (Knowledge) ความ ความชานาญในการ เข้าใจในหลักการ ปฏิบตั ิ ปรับยืดหยุน่ บริ หาร ตามสถานการณ์ได้ มนุษย์ได้รวมกลุ่มกันทางาน มีการ ใช้การจัดการอยูเ่ สมอ แต่ยงั ไม่เป็ น ที่รู้จกั เพราะยังไม่มีการศึกษา สมัยโบราณ ค้นคว้า เช่น การสร้างปิ รามิดใน อียปิ ต์ ภายใต้การพัฒนาระบบการ จัดการและเทคโนโลยีในขั้นที่สูง จนกระทัง่ เป็ นสิ่ งมหัศจรรย์ของ โลกจนถึงทุกวันนี้ เกิดจาก อดัม สมิธ (Adam Smith) นัก จุดเริ่ มต้นของ เศรษฐศาสตร์ ชาวอังกฤษได้เสนอ การจัดการ แนวคิดในเรื่ องหลักการแบ่งงานกันทา (Division of Labour) ทาให้ได้จานวน ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากเดิมและได้คนงานที่ มีมือเฉพาะด้าน หลังจากการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม องค์การธุรกิจในรู ปบริ ษทั ได้เกิดขึ้น แต่ความก้าวหน้าทางวิชาการบริ หาร จัดการยังไม่เจริ ญเท่าที่ควร จึงทาให้เกิดการศึกษาและเกิดแนวคิดทฤษฎีกบั องค์การ ขึ้นมา 3 สมัย ดังนี้ 1. แนวคิดและทฤษฎีองค์การสมัยดั้งเดิม (Classical Theory) 2. แนวคิดและทฤษฎีองค์การสมัยใหม่ (Neo-Classical Theory) 3. แนวคิดและทฤษฎีองค์การสมัยปัจจุบนั (Modern Theory) 1. แนวคิดและทฤษฎีองค์ การสมัยดั้งเดิม (Classical Theory) เฟรดเดอริก วินสโลว์ เทย์ เลอร์ (บิดาแห่ งการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ ) อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ได้วิธีที่ดีที่สุด (One Best Way) หลักการจัดการ 4 ประการ 1. คิดค้นและกาหนด “วิธีที่ดีที่สุด” สาหรับงานนั้น 2. จัดหมวดหมู่งาน และ แบ่งความรับผิดชอบให้เหมาะสม 3.คัดเลือกคนงานที่เหมาะสมแล้วฝึ กอบรมและพัฒนาตามวิธีการที่กาหนด 4. ฝ่ ายบริ หารประสานงานและทาความเข้าใจกับคนงานอย่างใกล้ชิด 1. แนวคิดและทฤษฎีองค์ การสมัยดั้งเดิม (Classical Theory) แฟรงค์ และ ลิเลียน กิลเบอร์ ต ต้ นแบบในการพัฒนาศาสตร์ เออกอนอมิกส์ (Ergonomics) เฮนรี่ แกนท์ Gantt Chart 2. แนวคิดและทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ (Neo-Classical Theory) การศึกษาที่ฮอว์ ธอร์น (Hawthorne Studies) ผูศ้ ึกษา : จอร์จ อี. เมโย (George E. Mayo) วัตถุประสงค์เริ่ มแรก : หาความสัมพันธ์ของระดับแสงสว่างกับผลผลิต ระยะเวลาการศึกษา : ค.ศ.1924 – 1927 วิธีการศึกษา : แบ่งคนงานออกเป็ น 2 กลุ่ม โดยควบคุมสภาพแวดล้อมให้กลุ่มแรกได้รับ แสงสว่างคงที่ ส่ วนกลุ่มที่สองได้รับแสงสว่างลดลง สมมติฐาน : แสงสว่างลดลง ผลผลิตลดลง ผลการทดสอบ : แสงสว่างลดลง ผลผลิตเพิ่มขึ้น 2. แนวคิดและทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ (Neo-Classical Theory) สรุ ปผลการศึกษาระยะแรก (Hawthorne) 1. การแบ่งกลุ่มขนาดเล็กมีผลต่อผลผลิต 2. มีการควบคุมโดยหัวหน้างาน 3.พนักงานรู ้สึกแปลกใหม่ต่อสถานการณ์ 4.พนักงานให้ความสนใจกับการทดลอง 5.มีปัจจัยอื่นนอกจากแสงสว่างซึ่งส่ งผลกระทบต่อผลผลิต 2. แนวคิดและทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ (Neo-Classical Theory) มีการศึกษาต่อมาอีกหลายระยะ และพบว่าปั จจัยเชิงพฤติกรรมที่มีผลต่อผลผลิต อาทิ 1. การสื่ อสารระหว่างหัวหน้างานและคนงาน 2. ความสัมพันธ์ระหว่างคนงาน 3. ปัจจัยจูงใจที่มีผลกระทบต่อผลผลิต เช่น ค่าตอบแทน 4. อารมณ์ และความสัมพันธ์ของกลุ่ม 3. แนวคิดและทฤษฎีองค์การสมัยปัจจุบนั (Modern Theory) แนวคิดเรื่ องระบบ (System Approach) การวางแผน การบริ หารทรัพยากรบุคคล การประเมินผล การจ่ายค่าตอบแทน การควบคุมการดาเนินงาน แนวคิดการจัดการตามสถานการณ์ (Situational Approach) เลือกใช้วธิ ีการจัดการที่เหมาะสมกับสถานการณ์ (Optimal Solution) แนวคิดองค์การแห่ งการเรี ยนรู ้ (Learning Organization) ทรัพยากรในการจัดการ (Management resources) จาเป็ นจะต้ องมีในการดาเนินงาน ประกอบด้ วย 7 M Man คือ กาลังคนทั้งกาลังกายและสติปัญญา ถือว่าสาคัญ Market คือ ตลาดเป็ นสถานที่ในการ ที่สุด จาหน่ายสิ นค้าหรื อบริ การ Money คือ เงินลงทุนที่นามาใช้ในการดาเนินงานของ Machine คือ เครื่ องมือเครื่ องจักรในการ องค์การ ผลิต Materials คือ วัสดุสิ่งของหรื อสิ่ งที่จบั ต้องได้ที่เป็ น องค์ประกอบในการดาเนินงาน Moral คือ ขวัญและกาลังใจ การยอมรับ Methods คือ วิธีหรื อรู ปแบบขั้นตอนต่างๆในการทางาน ทุ่มเท เสี ยสละทางานในองค์การอย่างเต็ม ความสามารถ การวางแผน (Planning) การกาหนดเป้ าหมายและวิธีการปฏิบตั ิให้บรรลุผลสาเร็ จ การจัดองค์ การ (Organizing) การเตรี ยมงาน คน และทรัพยากร อื่นๆ เพื่อให้งานสาเร็ จ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Staffing) มนุษย์เป็ นปั จจัยชี้ขาดความสาเร็ จหรื อความล้มเหลวขององค์การ ดังนั้น องค์การจึงต้องรักษาและดึงดูดพนักงานที่มีคุณภาพไว้ ภาวะผู้นา (Direction) การจูงใจ การสัง่ การ และการมีอิทธิ พลเพื่อโน้มน้าวใจให้ผอู ้ ื่นทางานเพื่อบรรลุ ตามเป้าหมายที่ต้ งั ไว้ การควบคุม (Controlling) เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายในกระบวนการจัดการ คือ การตรวจสอบประเมินผล การดาเนินงานตามที่วางเป้าหมายหรื อมาตรฐานที่กาหนดไว้ o การจัดการมีผลต่อความสาเร็ จขององค์การ แม้จะเป็ นสิ่ งที่ไม่สามารถมองเห็น ได้แต่สามารถวัดและประเมินผลได้ o การจัดการทาให้การใช้ทรัพยากรมีความคุม้ ค่าและเกิดประสิ ทธิ ผลในการผลิต o ช่วยให้คุณภาพชีวติ ของพนักงานดีข้ ึน และยังเป็ นการแสวงหาวิธีการทางานที่ดี ที่สุด o การจัดการช่วยทาให้เกิดการจ้างงาน ทาให้ประชาชนมีรายได้ ก่ อให้ เกิดประสิ ทธิภาพภายในองค์ การ ประสิ ทธิภาพ หมายถึง กระบวนการทางานที่สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างจากัดขององค์การ ให้คุม้ ค่ามากที่สุด เพื่อให้การทางานสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ โดยทัว่ ไปจะ มุ่งเน้นไปที่ 1.ประหยัด (Economy) ประหยัดใน 2.คุณภาพ (Quality) งานมีคุณภาพ เรื่ องของต้นทุน ทรัพยากร และเวลา ใน เสร็ จตามกาหนดเวลา การดาเนินกิจกรรม ก่ อให้ เกิดประสิ ทธิผลภายในองค์ การ ประสิ ทธิผล หมายถึง การบรรลุวตั ถุประสงค์หรื อเป้าหมายต่างๆขององค์การที่ต้ งั ไว้ โดยมี วิธีการดาเนินงานที่ถูกต้องเหมาะสม สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์การ ได้ง่ายและดีข้ ึนโดยทัว่ ไปแล้วการบรรลุเป้าหมายที่ต้ งั ไว้ประกอบด้วย 1. เป้าหมายเชิงปริมาณ คือ หลังจาก 2. เป้ าหมายเชิงคุณภาพ ได้แก่ สิ นค้า ผลิตเสร็ จได้ปริ มาณสิ นค้าและบริ การ และบริ การที่ผลิตเสร็ จตรงตาม ตามต้องการ มาตรฐานที่ต้ งั ไว้ แบ่งเป็ น 3 ระดับ 1. การจัดการระดับสู ง (Top management) มุ่งเน้นไปที่การกาหนดทิศทางเป้าหมายนโยบายการดาเนินงานในภาพรวมขององค์การ เป็ นการจัดการที่ใช้ระยะเวลายาวนานเกี่ยวข้องกับความอยูร่ อดในอนาคตของธุ รกิจ เป็ นหน้าที่ความรับผิดชอบของผูบ้ ริ หารระดับสู งขององค์การ เช่น ประธานกรรมการกรรมการ ผูจ้ ดั การ รองกรรมการผูจ้ ดั การ ผูอ้ านวยการ 2. การจัดการระดับกลาง (Middle Management) มุ่งเน้นไปที่การกาหนดทิศทางเป้าหมายนโยบายการ ดาเนินงานในภาพรวมขององค์การ มุ่งเน้นไปที่การบริ หารงานในหน่วยงานย่อยๆในองค์การหรื อที่เรี ยกว่า หน่วยธุ รกิจ ฝ่ าย หรื อแผนก นาเป้าหมายนโยบายองค์การในภาพรวมมาเชื่อมต่อกับการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานนั้นๆเพือ่ ให้ เป้าหมายขององค์การบรรลุตามที่ต้ งั ไว้ เป็ นหน้าที่ความรับผิดชอบของผูบ้ ริ หารระดับกลาง เช่น ผูจ้ ดั การฝ่ าย ผูจ้ ดั การแผนก ผูจ้ ดั การหน่วย ธุรกิจต่างๆ 3. การจัดการระดับปฏิบัติการ (Operational management) มุ่งเน้นการปฏิบตั ิงานตามแผนการปฏิบตั ิงานของหน่วยงาน ควบคุม ดูแล แก้ไขปั ญหาในการ ดาเนินงาน สร้างผลงานให้เป็ นรู ปธรรมตามความต้องการของผูบ้ ริ หารระดับกลางและระดับสู ง เป็ นหน้าที่ความรับผิดชอบของผูจ้ ดั การหน่วย หัวหน้าคนงาน หัวหน้าแผนก โฟร์ แมน Q&A