Thailand Act: Administration of Southern Border Provinces, 2010. PDF

Summary

This is a Thailand Act regarding the administration of the southern border provinces, enacted in 2010. It details the structure, function, and administration of the region, including the establishment of the Southern Border Provinces Administration Centre and its relationship with other government entities. The document covers topics of social, economic, and political nature.

Full Transcript

หนา ๑ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ พระราชบัญญัติ การบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต พ.ศ. ๒๕๕๓ ภูม...

หนา ๑ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ พระราชบัญญัติ การบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต พ.ศ. ๒๕๕๓ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เปนปที่ ๖๕ ในรัชกาลปจจุบนั พระบาทสมเด็จ พระปรมิน ทรมหาภู มิพลอดุล ยเดช มีพ ระบรมราชโองการโปรดเกล า ฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต พระราชบัญ ญัตินี้ มีบ ทบัญ ญัติ บางประการเกี่ยวกับ การจํา กัดสิ ทธิ แ ละเสรีภาพของบุ คคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําได โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต พ.ศ. ๒๕๕๓” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป หนา ๒ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “จังหวัดชายแดนภาคใต” หมายความวา จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสตูล และจังหวัดสงขลา “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา สวนราชการ รัฐ วิสาหกิจ องคการมหาชน องคกร ปกครองสวนทองถิ่น และหนวยงานอื่นของรัฐ “เจาหนาที่ของรัฐ” หมายความวา ขาราชการ พนักงาน และลูกจางของหนวยงานของรัฐ “ฝายพลเรือน” หมายความวา หนวยงานของรัฐที่ไมใชฝายทหาร ฝายอัยการ หรือฝายตุลาการ และเจาหนาที่ของรัฐซึ่งไมใชเจาหนาที่ฝายทหาร ฝายอัยการ หรือฝายตุลาการ “เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต มาตรา ๔ ใหสํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติจัดทํานโยบายการบริหารและการพัฒนา จังหวัดชายแดนภาคใตเสนอตอสภาความมั่นคงแหงชาติและคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตที่คณะรัฐมนตรีใ หความเห็นชอบ ตามวรรคหนึ่งแลว ใหคณะรัฐมนตรีนําเสนอตอรัฐสภาเพื่อทราบ แลวใหหนวยงานของรัฐใชเปนกรอบ แนวทางในการปฏิบัติอยางเปนระบบและตอเนื่อง ใหสภาความมั่นคงแหงชาติเสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาทบทวนและปรับปรุงนโยบาย การบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตทุกรอบระยะเวลาสามปหรือในกรณีที่มีความจําเปน คณะรัฐมนตรีจะกําหนดระยะเวลาใหเร็วกวานั้นก็ได นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตตามวรรคหนึ่ง อยางนอยตองมี สาระสําคัญครอบคลุม ทั้งดานการพัฒนาและดานความมั่น คงและเพื่อ ใหไดน โยบายที่มาจากความ ต อ งการและสอดคล อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต ของประชาชน ศาสนา วั ฒ นธรรม อั ต ลั ก ษณ ชาติ พั น ธุ และประวัติศาสตรทองถิ่นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต และแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ ในการจัดทํา นโยบายตามวรรคหนึ่ง และการทบทวนและปรับปรุงตามวรรคสาม ตองนําความคิดเห็นของประชาชน ทุกภาคสวนไปใชในการจัดทํา การทบทวนและปรับปรุงดวย นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตตามวรรคสี่ ที่สํานักงานสภาความ มั่นคงแหงชาติจัดทําหรือปรับปรุง ตองใหสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต พิจารณาใหความเห็น และสภาความมั่นคงแหงชาติตองนําความเห็นดังกลาวมาประกอบการพิจารณา จัดทําหรือปรับปรุงดวย หนา ๓ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ มาตรา ๕ ใหกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรปรับปรุงแผนและแนวทาง ในการปฏิบัติงานและดําเนินการที่จัดทําขึ้นตามมาตรา ๗ (๒) และแผนการดําเนินการตามมาตรา ๑๖ (๒) แหงพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ เฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับ จังหวัดชายแดนภาคใตใหสอดคลองกับนโยบายการบริหารและการพัฒนาตามมาตรา ๔ มาตรา ๖ ใหมีคณะกรรมการยุทธศาสตรดานการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต เรียกโดย ยอวา “กพต.” ประกอบดวย นายกรัฐมนตรีเปนประธาน รองนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งซึ่งนายกรัฐมนตรี มอบหมาย เปนรองประธาน รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม รัฐ มนตรีวาการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย รัฐ มนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวง คมนาคม รัฐ มนตรีวาการกระทรวงพาณิช ย รัฐ มนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย รัฐ มนตรีวาการ กระทรวงยุ ติ ธ รรม รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงแรงงาน รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงวั ฒ นธรรม รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีวาการกระทรวง อุตสาหกรรม รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทยคนหนึ่ง ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย มอบหมาย เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เลขาธิการสภาความมั่นคง แห ง ชาติ ผู อํ า นวยการสํ า นั ก งบประมาณ เลขาธิ ก ารกองอํ า นวยการรั ก ษาความมั่ น คงภายใน ราชอาณาจักร ผูวาราชการจังหวัดในจังหวัดชายแดนภาคใต ประธานสภาที่ปรึกษาการบริหารและ การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต และผูแทนภาคประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใตจังหวัดละหนึ่งคน ซึ่งไดรับการคัดเลือกโดยสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต เปนกรรมการ ผูแ ทนภาคประชาชนในจั งหวั ดชายแดนภาคใตต ามวรรคหนึ่ง ตอ งมีคุณ สมบั ติแ ละไม มี ลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๐ มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสามป และใหดํารงตําแหนงไดเพียง วาระเดียว ใหเลขาธิการเปนกรรมการและเลขานุการ และรองเลขาธิการคนหนึ่งซึ่งเลขาธิการมอบหมาย เปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ หนา ๔ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ มาตรา ๗ ให กพต. มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (๑) พิจารณาใหความเห็นชอบยุทธศาสตรดานการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตที่ ศอ.บต. เสนอ (๒) พิจารณาใหความเห็นชอบแผนงาน โครงการ และการจัดตั้งงบประมาณเพื่อสนับสนุน การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต (๓) พิจารณาใหความเห็นชอบในการกําหนดเขตพัฒนาพิเศษและกรอบแนวทางการบริหาร และการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษที่ ศอ.บต. เสนอ (๔) พิจารณาเสนอแนะหน วยงานของรัฐ ให จัด ทํา แผนพั ฒนา แผนงาน และโครงการ พรอมดวยงบประมาณในเขตจังหวัดชายแดนภาคใต (๕) กํากับ เรงรัด ติดตาม แกไขกฎระเบียบ และลดขั้นตอนการปฏิบัติตาง ๆ เพื่อใหการ พัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (๖) เสนอแนะแนวทางการแก ไ ขป ญ หาและอุ ป สรรคในเขตจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ตอคณะรัฐมนตรี (๗) แตงตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อชวยเหลือหรือปฏิบัติงานไดตามความเหมาะสม (๘) ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ตามที่ ก ฎหมายกํ า หนดให เ ป น อํ า นาจหน า ที่ ข อง กพต. หรื อ ตามที่ คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย การประชุมของ กพต. คณะอนุกรรมการ และคณะทํางาน ใหเปนไปตามระเบียบที่ กพต. กําหนด มาตรา ๘ ใหมีศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต เรียกโดยยอวา “ศอ.บต.” เปนสวนราชการรูปแบบเฉพาะที่ไมสังกัดสํานักนายกรัฐ มนตรี กระทรวง หรือทบวง มีฐ านะเปน นิติบุคคล และอยูในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี มีอํานาจหนาที่ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ในจังหวัดชายแดนภาคใต การบริหารราชการของ ศอ.บต. ถามิไ ดบัญญัติไวเปน อยางอื่น ในพระราชบัญญัตินี้หรื อ คณะรัฐมนตรีมิไดกําหนดไวเปนอยางอื่น ใหปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน และกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน มาตรา ๙ ให ศอ.บต. มีอํานาจหนาที่ในจังหวัดชายแดนภาคใตดังตอไปนี้ หนา ๕ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ (๑) จัดทํายุทธศาสตรดานการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตใหสอดคลองกับนโยบายการ บริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต โดยใหสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัด ชายแดนภาคใตพิจารณาใหความเห็นกอนเสนอ กพต. ใหความเห็นชอบ (๒) จัดทําแผนปฏิบัติการที่จะดําเนินการในจังหวัดชายแดนภาคใตใหเปนไปตามยุทธศาสตร ดานการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต (๓) เสนอแนะและบูรณาการ แผนงาน และโครงการในดานการพัฒนาของกระทรวง ทบวง กรม และหนวยงานอื่นของรัฐ ที่ดําเนินการในจังหวัดชายแดนภาคใตใหเปนไปตามแผนปฏิบัติการตาม (๒) (๔) ดําเนินการตามแผนงานและโครงการตอเนื่องจากแผนงานและโครงการที่หนวยงาน ของรัฐไมอาจดําเนินการตอไปได ซึ่งหากไมดําเนินการจะสงผลเสียตอการแกไขปญหาตามยุทธศาสตร ดานการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต (๕) กํากับ เรงรัด และติดตามการปฏิบัติของหนวยงานของรัฐฝายพลเรือนใหเปน ไปตาม แผนปฏิบัติการตาม (๒) (๖) คุมครองสิทธิเสรีภาพและอํานวยความเปนธรรมแกประชาชน โดยการรับเรื่องราวรองทุกข ใหความชวยเหลือ และประสานการปฏิบัติกับหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ รวมทั้งตรวจสอบและแกไข ปญหาพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมของเจาหนาที่ของรัฐ (๗) ใหความชวยเหลือเยียวยาผูไดรับความเสียหายและผูที่ไดรับผลกระทบจากการกระทํา ของเจาหนาที่ของรัฐอันสืบเนื่องมาจากเหตุการณความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใตตามระเบียบที่ กพต. กําหนด ทั้งนี้ ไมตัดสิทธิประโยชนที่ผูนั้นไดรับตามกฎหมายอื่น (๘) เสนอแนะมาตรการสรางขวัญและกําลังใจสําหรับเจาหนาที่ของรัฐในจังหวัดชายแดนภาคใต ตอคณะรัฐมนตรี (๙) เสนอแนะหรือแนะนําตอหนวยงานของรัฐเกี่ยวกับลักษณะอันพึงประสงคของเจาหนาที่ ของรัฐซึ่งจะสั่งใหไปปฏิบัติหนาที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต รวมทั้งดําเนินการใหมีการพัฒนาเจาหนาที่ ของรัฐฝายพลเรือ นซึ่งปฏิบัติหนาที่ใ นจังหวัดชายแดนภาคใต และบูรณาการการปฏิบัติหนาที่ของ หนวยงานของรัฐฝายพลเรือนเพื่อใหปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับสภาพทางสังคม เศรษฐกิจ และวิถีชีวิตของประชาชน หนา ๖ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ (๑๐) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนทุกภาคสวนในการแกไขปญหาในจังหวัดชายแดน ภาคใต (๑๑) สงเสริม สนับสนุน อํานวยความสะดวกและแกไขปญหาแกคนไทยในจังหวัดชายแดน ภาคใตที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ ณ ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย (๑๒) สงเสริมและสนับสนุนการจัดการการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต (๑๓) ประชาสัมพันธนโยบาย และการดําเนินงานของ ศอ.บต. และรัฐบาล รวมทั้งเผยแพร ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อสรางความเขาใจอัน ดีแ กคนไทยทั้งในและ ตางประเทศ (๑๔) รวมมือกับสวนราชการที่เกี่ยวของในการเสริมสรางความสัมพันธ ความเขาใจอันดีและ ประสานงานในโครงการ ความรวมมือ ความชวยเหลือ และการแกไขปญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใตกบั ตางประเทศ ทั้งนี้ ภายใตกรอบนโยบายของรัฐบาลหรือมติคณะรัฐมนตรี รวมทั้งแนวทาง หรือนโยบายที่กระทรวงการตางประเทศไดกําหนดไว (๑๕) สงเสริม แนวคิดดานพหุวัฒนธรรมในฐานะที่เปนสวนสําคัญของวัฒนธรรมแหงชาติ รวมถึงการลดการผูกขาดทางวัฒนธรรมหรือการขจัดการเลือกปฏิบัติทางวัฒนธรรมโดยไมเปนธรรม ตอบุคคล ทั้งนี้ เทาที่ไมขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญและกฎหมาย (๑๖) ปฏิบั ติการอื่น ตามที่กฎหมายกํา หนดใหเ ปน อํ านาจหน าที่ข อง ศอ.บต. หรือ ตามที่ คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย ในการดําเนินการตามอํานาจหนาที่ตามวรรคหนึ่ง ศอ.บต. อาจวางระเบียบเพื่อเปนแนวทาง การปฏิบัติงานรวมกันระหวาง ศอ.บต. กับหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของได ยุทธศาสตรดานการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตตาม (๑) ใหใชไดเปนเวลาสามป แผนปฏิบัติการตาม (๒) เมื่อคณะรัฐ มนตรีใ หความเห็นชอบแลว ใหหนวยงานของรัฐ ที่ เกี่ยวของจัดทําแผนงานและโครงการ และใหสํานักงบประมาณจัดสรรงบประมาณใหเปน ไปตาม แผนปฏิบัติการนั้น ในการจัดทําแผนปฏิบัติการตาม (๒) ให ศอ.บต. หารือกับหัวหนาหนวยงานที่กํากับดูแ ล ยุทธศาสตรดานความมั่นคงดวย เพื่อใหแผนปฏิบัติการดังกลาวสอดคลองกับแผนปฏิบัติการดานความ มั่นคงตามกฎหมายวาดวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร หนา ๗ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ มาตรา ๑๐ ในกรณีจํ าเปน เพื่ อประโยชน ใ นการแกไ ขป ญหาในจั งหวัด ชายแดนภาคใต ศอ.บต. โดยความเห็นชอบของ กพต. อาจกําหนดใหเขตพื้น ที่ใดในจังหวัดชายแดนภาคใตเปนเขต พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจและกําหนดกรอบแนวทางการบริหารและการพัฒนาในเขตพื้นที่นั้นได กรอบแนวทางการบริหารและการพัฒนาตามวรรคหนึ่ง อยางนอยตองมีสาระสําคัญครอบคลุม ในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา วัฒนธรรม การศึกษา สาธารณสุข ทรัพยากร เทคโนโลยี การตางประเทศ การปฏิบัติการเชิงจิตวิทยา การบริหารจัดการ และดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการแกไข ปญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต ทั้งนี้ ตองไมขัดหรือแยงตอนโยบายตามมาตรา ๔ และยุทธศาสตร ดานการพัฒนาที่ กพต. ใหความเห็นชอบแลว เมื่อ กพต. ใหความเห็น ชอบกรอบแนวทางการบริหารและการพัฒนาตามวรรคหนึ่งแลว ใหหนวยงานของรัฐ ใชเปน แนวทางในการจัดทําคําเสนอขอตั้งงบประมาณรายจายประจําปและให ดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของโดยไมชักชา มาตรา ๑๑ ให ศอ.บต. จัดทําสรุปสถานการณ ปญหา และอุปสรรคในการแกไขปญหาใน จังหวัดชายแดนภาคใตเสนอตอคณะรัฐมนตรีทุกหนึ่งป และใหคณะรัฐมนตรีเสนอรัฐสภาเพื่อทราบ มาตรา ๑๒ ในกรณีที่ขอเท็จจริงปรากฏแกเลขาธิการหรือโดยการเสนอของสภาที่ปรึกษา การบริหารและการพัฒนาจั งหวัดชายแดนภาคใตวาเจาหนาที่ ของรัฐ ฝ ายพลเรื อ นผูใ ดมี พฤติกรรม ไมเหมาะสมจนเปนเหตุใหเกิดความเดือดรอนหรือไมเปนธรรมแกประชาชนหรือความไมสงบในจังหวัด ชายแดนภาคใต หรือกระทําการอัน อาจเปน ภัยตอความมั่น คงของรัฐหรือความสงบเรียบรอยหรื อ สวัสดิภาพของประชาชน ใหเลขาธิการมีอํ านาจสั่ง ใหเจาหนาที่ของรัฐ ผูนั้น ออกจากพื้ น ที่จังหวั ด ชายแดนภาคใต และใหแจงหนวยงานของรัฐที่เจาหนาที่ของรัฐผูนั้นสังกัดทราบพรอมดวยเหตุผล เจาหนาที่ของรัฐซึ่งไดรับคําสั่งใหออกจากพื้นที่ตามวรรคหนึ่ง ใหไปรายงานตัวยังหนวยงาน ของรัฐที่ตนสังกัดภายในระยะเวลาที่กําหนด แตตองไมเกินเจ็ดวันนับแตวันที่รับทราบคําสั่ง ในการนี้ ใหหนวยงานของรัฐ เจาสังกัดดังกลาวดําเนินการออกคําสั่งใหเจาหนาที่ของรัฐ ผูนั้นพนจากตําแหนง หนาที่หรือพนจากการปฏิบัติหนาที่ในจังหวัดชายแดนภาคใตโดยเร็ว และในกรณีที่มีมูลความผิดทาง วินัยใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุของเจาหนาที่ของรัฐ ผูนั้นพิจารณาดําเนินการตามกฎหมาย หนา ๘ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ วาดวยการนั้นตอไป และเมื่อดําเนินการไดผลประการใดแลว ใหแจงใหเลขาธิการทราบภายในสิบหาวัน นับแตวันที่ไดมีคําสั่งลงโทษทางวินัยหรือวันที่ไดมีคําวินิจฉัยวาไมมีความผิดทางวินัย เจาหนาที่ข องรัฐ ซึ่งไดรับคํ าสั่งใหออกจากพื้น ที่ต ามวรรคหนึ่ ง มีสิทธิ อุทธรณคําสั่ งของ เลขาธิการตอนายกรัฐมนตรี ซึ่งตองกระทําภายในสามสิบวันนับแตวันที่รับทราบคําสั่ง การสั่งใหเจาหนาที่ของรัฐออกจากพื้นที่และการกลับเขามาดํารงตําแหนงหนาที่หรือปฏิบัติ หนาที่ใ นจังหวัดชายแดนภาคใตของเจาหนาที่ของรัฐ ใหเปน ไปตามหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อ นไข และระยะเวลา ที่ กพต. ประกาศกําหนด ในกรณีที่เจาหนาที่ของรัฐซึ่งไมใชเจาหนาที่ของรัฐฝายพลเรือนหรือซึ่งเปนผูบริหารองคกร ปกครองสวนทองถิ่น ผูใ ดมีพฤติกรรมหรือกระทําการตามวรรคหนึ่ง ใหเลขาธิการสงรายงานและ เอกสารที่มีอยูพรอมทั้งความเห็นไปยังผูมีอํานาจสั่งบรรจุและแตงตั้งของเจาหนาที่ของรัฐผูนั้นหรือผูที่ มีอํานาจหนาที่กํากับดูแล แลวแตกรณี เพื่อพิจารณาดําเนินการตามกฎหมายวาดวยการนั้นภายในสามวัน นับแตวันที่ไดรับรายงาน มาตรา ๑๓ ในกรณีที่ผูเสียหาย ผูตองหา สามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดานหรือญาติสนิท ของบุคคลดังกลาวรองเรียนวา ไมไดรับความเปน ธรรมจากการสอบสวนคดีอาญา เลขาธิการอาจให พนักงานสอบสวนหรื อหัว หนาพนักงานสอบสวนผูรั บผิดชอบมาชี้แ จง หากเห็น วาผูต องหาหรื อ ผูเสียหายไมไดรับความเปนธรรมจากการสอบสวนคดีอาญาจริง ใหเลขาธิการแจงหัวหนาของพนักงาน สอบสวนนั้นพิจารณาดําเนินการใหเกิดความเปนธรรมตอไป มาตรา ๑๔ ใหมีเลขาธิการศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต มีฐานะเทียบเทา ปลัดกระทรวง รับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่ของ ศอ.บต. และเปนผูบังคับบัญชาขาราชการ พนักงาน และลูกจางซึ่งปฏิบัติงานใน ศอ.บต. ขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี โดยจะใหมีรองเลขาธิการตามจํานวน ที่นายกรัฐมนตรีกําหนดเปนผูชวยสั่งและปฏิบัติงานตามที่เลขาธิการมอบหมายก็ได ใหเลขาธิการและรองเลขาธิการเปนขาราชการพลเรือนสามัญ ให น ายกรั ฐ มนตรี เป น ผู นํ าความกราบบั งคมทู ล เพื่ อโปรดเกล า ฯ แต งตั้ ง เลขาธิ การและ รองเลขาธิการ และใหเลขาธิการและรองเลขาธิการพนจากตําแหนง หนา ๙ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ มาตรา ๑๕ ใหเลขาธิการมีอํานาจอนุมัติใหเลื่อนเงินเดือนประจําปเปนกรณีพิเศษสําหรับ เจาหนาที่ของรัฐฝายพลเรือนซึ่งปฏิบัติหนาที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต นอกเหนือจากการอนุมัติของ ผูบังคับบัญชาของเจาหนาที่ของรัฐดังกลาว ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่คณะรัฐมนตรีกําหนด มาตรา ๑๖ ในกรณีที่ ไม มีผู ดํา รงตํ าแหน งเลขาธิ ก าร หรื อมี แ ต ไม อ าจปฏิ บัติ หน าที่ ไ ด ใหรองเลขาธิการเปนผูรักษาราชการแทน ถามีรองเลขาธิการหลายคน ใหรองเลขาธิการที่เลขาธิการ มอบหมายเปนผูรักษาราชการแทน ถาเลขาธิการมิไดมอบหมายใหรองเลขาธิการผูใดรักษาราชการแทน ใหรองเลขาธิการที่มีอาวุโสสูงสุดเปนผูรักษาราชการแทน ในกรณีที่ไมมีผูรักษาราชการแทนตามความในวรรคหนึ่ง หรือมีแ ตไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหนายกรัฐมนตรีแตงตั้งขาราชการซึ่งดํารงตําแหนงไมต่ํากวารองปลัดกระทรวงเปนผูรักษาราชการแทน มาตรา ๑๗ ศอ.บต. โดยความเห็นชอบของนายกรัฐมนตรีมีอํานาจจัดแบงสวนงานภายใน ศอ.บต. และกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนงานดังกลาว ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงความคลองตัวและความเหมาะสมกับ ภารกิจของ ศอ.บต. เปนสําคัญ โดยทําเปนประกาศของ ศอ.บต. และประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให หน ว ยงานของรั ฐ ฝา ยพลเรื อ นจั ด สง เจา หน า ที่ข องรั ฐ ฝา ยพลเรื อ นไปปฏิ บั ติห น าที่ ใ น หนวยงานภายในตามวรรคหนึ่งตามจํานวนที่เลขาธิการรองขอโดยเร็ว และใหองคกรกลางบริหารงาน บุคคลหรือองคกรอื่นที่มีอํานาจหนาที่เชน เดียวกันของหนวยงานของรัฐนั้นจัดใหหนวยงานของรัฐ ที่ จัดสงเจาหนาที่ของรัฐไปปฏิบัติหนาที่ในหนวยงานภายในของ ศอ.บต. มีอัตรากําลังทดแทนเทาจํานวน อัตรากําลังที่จัดสงไป มาตรา ๑๘ เพื่ อประโยชน แ ห ง ความคล องตัว และประสิ ทธิ ภาพในการบริห ารราชการ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบดีหรือหัวหนา สวนราชการซึ่งดํ ารงตําแหนงเที ยบเทา จะมอบอํานาจใหเลขาธิการเปน ผูปฏิบัติ ราชการแทนก็ไ ด ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด เลขาธิ การจะมอบอํ านาจของตนและอํ า นาจที่เ ลขาธิ การได รับ มอบตามวรรคหนึ่ ง ให แ ก รองเลขาธิการหรือผูดํารงตําแหนงอื่นก็ได ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด คณะรัฐมนตรีจะกําหนดใหปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบดี หรือ หัวหนาสวนราชการซึ่งดํารงตําแหนงเทียบเทาอธิบดีขึ้น ไป ตองมอบอํานาจเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามที่ กําหนดใหเลขาธิการ เพื่อปฏิบัติการในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตก็ได หนา ๑๐ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ มาตรา ๑๙ ใหมีสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต ประกอบดวย สมาชิกสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตในจังหวัดชายแดนภาคใตซึ่งเปน ผูทรงคุณวุฒิที่นายกรัฐมนตรีแตงตั้งจํานวนไมเกินสี่สิบเกาคนดังตอไปนี้ (๑) ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดละหนึ่งคน (๒) ผูแทนกํานันและผูใหญบานจังหวัดละหนึ่งคน (๓) ผูแทนกรรมการอิสลามประจําจังหวัดและอิหมามประจํามัสยิดจังหวัดละหนึ่งคน ผูแทน เจาอาวาสในพระพุทธศาสนาจังหวัดละหนึ่งคน และผูแทนศาสนาอื่นจํานวนหนึ่งคน (๔) ผูแทนผูซึ่งมีความรูความเขาใจในการพัฒนาสังคม ภูมิปญญาทองถิ่น หรือวิถีชีวิตของ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดละหนึ่งคน (๕) ผูแทนผูสอนและบุคลากรทางการศึกษาตามกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติจังหวัด ละหนึ่งคน ผูแทนสถาบันศึกษาปอเนาะตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยสถาบันศึกษาปอเนาะ จํานวนหนึ่งคน และผูแทนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาจํานวนหนึ่งคน (๖) ผูแทนกลุมสตรีจังหวัดละหนึ่งคน (๗) ผูแทนหอการคาจังหวัดและสภาอุตสาหกรรมจังหวัดซึ่งมีความรูความเขาใจเปนอยางดี ในดานเศรษฐกิจ พาณิชย อุตสาหกรรม แรงงาน หรือเกษตรกรรมจังหวัดละหนึ่งคน (๘) ผูแ ทนสื่อ มวลชนในกิจการหนังสือพิมพ กิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศ น จํานวนหนึ่งคน (๙) ผูทรงคุณวุฒิอื่นซึ่งมิใชขาราชการหรือผูปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐจํานวนไมเกินหาคน การแตงตั้งสมาชิกตาม (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ใหแตงตั้งจากบุคคล ซึ่งไดมาจากการเลือกกัน เองหรือในแตละกลุมอาจเลือกบุคคลอื่นที่เห็นสมควรเพื่อเสนอแตงตั้งเปน ผูแทนสมาชิกในประเภทของตนได หลักเกณฑและวิธีการในการคัดเลือกเพื่อใหไดมาซึ่งสมาชิกตามวรรคหนึ่ง คาตอบแทน และ คาใชจายอื่น ใหเปนไปตามระเบียบที่ ศอ.บต. กําหนดโดยความเห็นชอบของ กพต. ทั้งนี้ หลักเกณฑ ในการไดมาซึ่งสมาชิกใหคํานึงถึงการมีสวนรวมของหญิงและชายประกอบดวย หลักเกณฑและวิธีการตามวรรคสาม เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได หนา ๑๑ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ใหเลขาธิการจัดทําบัญ ชีรายชื่อผูซึ่งไดรับการคัดเลือกตามวรรคหนึ่งเสนอนายกรัฐ มนตรี เพื่อพิจารณาแตงตั้งเปนสมาชิกสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต ใหสมาชิกตามวรรคหนึ่งเลือกกัน เองเปนประธานสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒ นา จังหวัดชายแดนภาคใตหนึ่งคน รองประธานสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดน ภาคใตสองคน และเลขานุการสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตหนึ่งคน สมาชิกตามวรรคหนึ่งมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสามป และอาจไดรับแตงตั้งอีกได แตตองไมเกินสองวาระติดตอกัน เมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับหรือนับแตวันที่สมาชิก สภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตพนจากตําแหนงตามวาระ แลวแตกรณี ในกรณีที่มีเหตุใด ๆ ทําใหการเลือกสมาชิกตามวรรคหนึ่งมีจํานวนไมถึงสี่สิบเกาคนแตมีจํานวนไม นอยกวาสี่สิบคน ใหถือวาสมาชิกจํานวนนั้นประกอบเปนสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒ นา จังหวัดชายแดนภาคใต แตตองดําเนินการใหมีสมาชิกสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัด ชายแดนภาคใตใหครบจํานวนตามวรรคหนึ่งโดยเร็ว และใหสมาชิกที่ไดรับแตงตั้งในภายหลังนั้นอยูใน ตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของสมาชิกซึ่งไดแตงตั้งไวแลว มาตรา ๒๐ สมาชิกสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒ นาจังหวัดชายแดนภาคใตตองมี คุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามดังตอไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) เปนผูมคี วามประพฤติตามหลักการของศาสนาและมีจริยธรรมเปนที่ประจักษ (๓) ไมเปนบุคคลวิกลจริต จิตฟนเฟอนไมสมประกอบ คนไรความสามารถ หรือคนเสมือน ไรความสามารถ (๔) ไมติดยาเสพติดใหโทษ (๕) ไมเปนบุคคลที่ตองคําพิพากษาใหจําคุกและถูกคุมขังอยูโดยหมายของศาล (๖) ไมเคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหออกจากราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตตอหนาที่ หรือประพฤติชั่วอยางรายแรง (๗) ไมเปนบุคคลลมละลายหรือเคยเปนบุคคลลมละลายทุจริต หนา ๑๒ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ มาตรา ๒๑ ในกรณี ที่ตํ า แหนง สมาชิ กสภาที่ ปรึ ก ษาการบริ ห ารและการพั ฒ นาจั ง หวั ด ชายแดนภาคใตวางลงไมวาดวยเหตุใด ๆ และยังมิไดมีการเลือกสมาชิกแทนตําแหนงที่วาง ใหสภาที่ ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตประกอบดวยสมาชิกเทาที่มีอยู ใหดําเนิน การคัดเลือกและแตงตั้งสมาชิกตามมาตรา ๑๙ แทนสมาชิกที่พน จากตําแหน ง ตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในหกสิบวันนับแตวันที่มีเหตุดังกลาว และใหสมาชิกที่ไดรับแตงตั้งอยู ในตําแหนงเพียงเทาวาระที่เหลืออยูของสมาชิกซึ่งตนแทน เวนแตวาระที่เหลืออยูไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวัน จะไมดําเนินการเพื่อแตงตั้งสมาชิกขึ้นใหมแทนก็ได มาตรา ๒๒ นอกจากการพน จากตําแหนงตามวาระตามมาตรา ๑๙ สมาชิกสภาที่ปรึกษา การบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตพนจากตําแหนง เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) สภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตมีมติใหพนจากตําแหนง เพราะขาดคุณสมบัติและมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๐ (๒) ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในหา ของสมาชิกเทาที่มีอยู (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๐ (๑) (๓) (๔) (๕) (๖) หรือ (๗) มาตรา ๒๓ สภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) ใหความเห็นในนโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตที่สํานักงาน สภาความมั่นคงแหงชาติจัดทําหรือปรับปรุงเพื่อเสนอสภาความมั่นคงแหงชาติพิจารณา (๒) ใหคําปรึกษา เสนอแนะ รวมมือ และประสานงานกับ ศอ.บต. ในการปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ (๓) ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ของ ศอ.บต. แลวรายงาน ตอเลขาธิการ และนายกรัฐมนตรีเพื่อทราบ (๔) ใหความเห็น ในเรื่องที่น ายกรัฐ มนตรี หรือเลขาธิการเห็น วา สมควรไดรับฟงความ คิดเห็นของสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตเพื่อประกอบการพิจารณาใน การบริหาร การพัฒนา และการแกไขปญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต หนา ๑๓ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ (๕) แสวงหาขอเท็จจริง ขอมูลขาวสาร หรือขอคิดเห็นจากแหลงตาง ๆ เพื่อใชประกอบการ ดําเนินงานตามอํานาจหนาที่ (๖) เสนอความเห็นตอเลขาธิการเพื่อประกอบการพิจารณาในการสั่งใหเจาหนาที่ของรัฐ ฝายพลเรือนออกไปจากจังหวัดชายแดนภาคใตตามมาตรา ๑๒ และหากมีกรณีฉุกเฉินหรือมีเหตุจําเปน เรงดวน ประธานสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตจะเสนอความเห็นไป กอนก็ได แลวรายงานใหสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตทราบโดยเร็ว (๗) พิจารณาเรื่องรอ งเรียนของประชาชนที่เ กี่ยวกับป ญหาความไมเป น ธรรมหรือไดรั บ ความเดือ ดร อ นอั น เนื่ องมาจากการปฏิ บั ติ ห รือ ละเวน การปฏิ บั ติ ห นา ที่ โ ดยมิ ช อบหรื อ การละเลย การปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐ เพื่อการนี้อาจเชิญเจาหนาที่ของรัฐที่เกี่ยวของมาใหขอเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นหรือใหจัดสงเอกสารหรือขอมูลเพื่อประกอบการพิจารณาไดตามความจําเปน (๘) แตงตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อชวยเหลือหรือปฏิบัติงานไดตามความเหมาะสม (๙) ออกระเบียบเกี่ยวกับการประชุมและระเบียบอื่นที่จําเปนในการปฏิบัติงานตามอํานาจหนาที่ มาตรา ๒๔ ให น โยบายเสริ ม สร า งสั น ติ สุ ข ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ต ามคํ า สั่ ง สํานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๒๐๖/๒๕๔๙ ลงวันที่ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ เปนนโยบายการบริหาร และการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตตามมาตรา ๔ จนกวาจะไดจัดทํานโยบายขึ้นใหมหรือปรับปรุง ตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๒๕ ใหถือวายุทธศาสตรการแกไขปญหาความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต (พ.ศ. ๒๕๕๐ - พ.ศ. ๒๕๕๔) ในสวนที่เกี่ยวกับดานการพัฒนา เปน ยุทธศาสตรดานการพัฒนา จังหวัดชายแดนภาคใตตามมาตรา ๙ (๑) จนกวาศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใตจะจัดทํา ยุทธศาสตรดานการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๒๖ ในระหวางที่ยังมิไดแ ตงตั้งประธานสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒ นา จังหวัดชายแดนภาคใตและยังมิไดมีการคัดเลือกผูแทนภาคประชาชนโดยสภาที่ปรึกษาการบริหารและ การพัฒ นาจังหวัดชายแดนภาคใตเ ปน กรรมการยุทธศาสตรดา นการพั ฒนาจั งหวัดชายแดนภาคใต ใหคณะกรรมการยุทธศาสตรดานการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตประกอบดวย กรรมการโดยตําแหนง หนา ๑๔ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ที่เหลืออยูตามมาตรา ๖ และปฏิบัติหนาที่คณะกรรมการยุทธศาสตรดานการพัฒนาจังหวัดชายแดน ภาคใตตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางกอนจนกวาจะมีการแตงตั้งประธานสภาที่ปรึกษาการบริหารและ การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตและผูแ ทนภาคประชาชนซึ่งได รับการคัดเลือกโดยสภาที่ปรึกษา การบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต มาตรา ๒๗ ใหสภาที่ปรึ กษาเสริม สรา งสัน ติ สุขจั งหวัด ชายแดนภาคใต ตามคําสั่ง สํานั ก นายกรั ฐ มนตรี ที่ ๒๐๗/๒๕๔๙ ลงวั น ที่ ๓๐ ตุล าคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ทํ า หนา ที่ สภาที่ ปรึ ก ษา การบริ หารและการพั ฒ นาจัง หวัด ชายแดนภาคใต ตามพระราชบั ญ ญัติ นี้ ไปพลางก อ นจนกว าจะมี การแตงตั้งสมาชิกสภาที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งตองไมเกินหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ทั้งนี้ มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๐ มาใชบังคับกับการดํารงตําแหนงของสมาชิกสภาที่ปรึกษาเสริมสรางสันติสุขจังหวัด ชายแดนภาคใต มาตรา ๒๘ ใหโอนบรรดากิจการ ทรัพยสิน สิทธิ หนาที่ ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง และอั ต รากํ า ลั ง เฉพาะของศู น ย อํ า นวยการบริ ห ารจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ต ามมาตรา ๒๖ แห ง พระราชบั ญ ญั ติ ก ารรั ก ษาความมั่ น คงภายในราชอาณาจั ก ร พ.ศ. ๒๕๕๑ มาเป น ของศู น ย อํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใตตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๒๙ ใหโอนงบประมาณและหนี้สิน ของกองอํานวยการรักษาความมั่น คงภายใน ราชอาณาจั ก รในส ว นที่ เ กี่ ย วกั บ ภารกิ จ ของศู น ย อํ า นวยการบริ ห ารจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ต าม พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ มาเปนของศูนยอํานวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใตตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๓๐ ใหผูดํารงตําแหนงผูอํานวยการศูน ยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารรัก ษาความมั่ น คงภายในราชอาณาจั ก ร พ.ศ. ๒๕๕๑ ในวั น ก อ นวั น ที่ พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ปฏิบัติหนาที่เลขาธิการศูนยอํานวยการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต ตามพระราชบัญญัตินี้ จนกวาจะมีการแตงตั้งเลขาธิการศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต ตามพระราชบัญญัตินี้ หนา ๑๕ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ให ผู ดํ า รงตํ า แหน ง รองผู อํ า นวยการศู น ย อํ า นวยการบริ ห ารจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ตามพระราชบัญญั ติการรักษาความมั่น คงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ อยูใ นวัน กอ นวัน ที่ พระราชบัญญัตินี้ใ ชบังคับ ปฏิบัติหนาที่รองเลขาธิการศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต ตามพระราชบัญญัตินี้ จนกวาจะมีการแตงตั้งรองเลขาธิการศูน ยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดน ภาคใตตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๓๑ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผูรับสนองพระบรมราชโองการ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี หนา ๑๖ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๘๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ หมายเหตุ :- เหตุ ผลในการประกาศใช พระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บนี้ คื อ โดยที่ พื้ น ที่ จั งหวั ดชายแดนภาคใต เปนพื้นที่ที่มีลักษณะพิเศษในดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเชื่อมโยงสัมพันธกับตางประเทศ ที่มีประชากรสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม อีกทั้งมีสถานการณความไมสงบในบางพื้นที่ของจังหวัดชายแดน ภาคใตเปนปญหาที่สงผลกระทบตอความสงบสุขของประชาชนและการพัฒนาของประเทศ จึงสมควรกําหนดใหมี กฎหมายวาดวยการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต เพื่อใหมีหนวยปฏิบัติงานหลักที่สามารถดําเนินการ บูรณาการในการพัฒนาและแกไขปญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตใหเปนระบบ มีเอกภาพทัง้ ในเรือ่ งนโยบาย ยุทธศาสตร การบังคับบัญชา และการปฏิบัติ รวมทั้งการใหความสําคัญกับกระบวนการมีสวนรวมของภาคประชาชน อันจะสงผลใหเกิดการพัฒนาและแกไขปญหาในจังหวัดชายแดนภาคใตไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงจําเปนตองตรา พระราชบัญญัตินี้