ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ PDF

Summary

หนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติครอบคลุมหลักทฤษฎีดนตรีสากลขั้นพื้นฐานสำหรับนักเรียนดนตรี เนื้อหาเรียงลำดับจากง่ายไปหายากและประกอบไปด้วยแบบฝึกหัด เหมาะสำรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา

Full Transcript

ทฤษฎีดแนวปฏิ นตรี บัติ สมนึก อุ่นแก้ว ทฤษฎีดนตรี แนวปฏิบัติ สมนึก อุ่นแก้ว [email protected] ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำ นักหอสมุดแห่งชาติ สมนึก อุ่นแก้ว. ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ.-- พิมพ์ครั้งที่ 9.-- อุดรธานี : มิวสิคโก, 2555. 160 หน้า. 1....

ทฤษฎีดแนวปฏิ นตรี บัติ สมนึก อุ่นแก้ว ทฤษฎีดนตรี แนวปฏิบัติ สมนึก อุ่นแก้ว [email protected] ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำ นักหอสมุดแห่งชาติ สมนึก อุ่นแก้ว. ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ.-- พิมพ์ครั้งที่ 9.-- อุดรธานี : มิวสิคโก, 2555. 160 หน้า. 1. ดนตรี--ทฤษฎี. I. ชื่อเรื่อง. 781 ISBN 978-616-305-842-3 © สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2536 โดย นายสมนึก อุ่นแก้ว ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537 ราคา 125 บาท พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2536 พิมพ์ครั้งที่ 6 มิถุนายน 2544 พิมพ์ครั้งที่ 2 มีนาคม 2537 พิมพ์ครั้งที่ 7 มีนาคม 2547 พิมพ์ครั้งที่ 3 กรกฎาคม 2537 พิมพ์ครั้งที่ 8 มีนาคม 2549 พิมพ์ครั้งที่ 4 พฤษภาคม 2538 พิมพ์ครั้งที่ 9 พฤศจิกายน 2555 พิมพ์ครั้งที่ 5 ตุลาคม 2539 จัดพิมพ์โดย : มิวสิคโก อุดรธานี โทรศัพท์ 0-8672-3908-5 พิมพ์ที่ : ส.เอเซียเพรส (1989) กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2732-3101-6 จัดจำ หน่ายโดย : บริษัท ดวงกมลสมัย จำ กัด 15/234 ซอยเสือใหญ่อุทิศ ถนนรัชดาภิเษก แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ : 0-2541-7375-6, 0-2930-6215-8 โทรสาร : 0-2541-7377, 0-2930-7733 อีเมล : [email protected], [email protected] เว็บไซต์ : www.dktoday.net ก คำ นำ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีดนตรีนั้น นับว่ามีความสำ คัญอย่างมากสำ หรับผู้ที่ เล่นดนตรี อย่างน้อยที่สุดก็ควรจะอ่านโน้ตได้ เพราะโน้ตเป็นภาษาที่ใช้เขียนบันทึก เสียงดนตรีให้อยู่ในรูปของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ทำ ให้สามารถศึกษาดนตรีได้เข้าใจง่ายขึ้น และผู้ที่อ่านโน้ตได้ย่อมสามารถพัฒนาทักษะทางด้านดนตรีได้ดีขึ้นด้วย ในการเรียนรู้เรื่องโน้ตจนสามารถเล่นดนตรีตามโน้ตได้นั้น จะต้องอาศัยเวลา ความมานะพยายาม และต้องศึกษาอย่างต่อเนื่องตามขั้นตอนจึงจะได้ผล การศึกษา ด้วยตนเองอาจทำ ได้ แต่ต้องมีตำ ราที่ดีและมีผู้แนะนำ ในช่วงเริ่มต้น เพื่อวางพื้นฐาน ก่อน แล้วจึงไปศึกษาหาความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ด้วยตนเองได้ หนังสือ ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ ได้เรียบเรียงจากตำ ราหลาย ๆ เล่ม จาก ประสบการณ์การสอนดนตรี และได้ทำ การปรับปรุงแก้ไขหลายครั้งกว่าจะออกมาเป็น รูปเล่มที่เห็นอยู่นี้ เพื่อให้ได้เนื้อหาที่ถูกต้องสมบูรณ์เมื่ออ่านแล้วสามารถนำ ไปปฏิบัติ ได้ทันที เนื้อหาเรียงลำ ดับจากง่ายไปหายาก และครอบคลุมหลักทฤษฎีดนตรีสากล ขั้นพื้นฐาน สามารถใช้เป็นหนังสือประกอบการเรียนการสอนวิชาทฤษฎีดนตรีสากล ในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาได้ หรือใช้เป็นคู่มือสำ หรับนักเรียนดนตรี ครูดนตรี นักดนตรี ตลอดจนผู้ที่สนใจโดยทั่วไป ในการจัดพิมพ์ครั้งนี้ได้ทำ การปรับปรุงแก้ไข คำ ศัพท์ สัญลักษณ์ของคอร์ด ให้เป็นมาตรฐานสากล ได้เพิ่มเติมเนื้อหาเรื่องการดำ เนินคอร์ด และเฉลยแบบฝึกหัด ไว้ในภาคผนวก นอกจากนี้ยังได้ปรับปรุงคำ อธิบายเนื้อหาในบางส่วนเพื่อให้มีความ รัดกุม สมบูรณ์ อ่านแล้วเข้าใจในเนื้อหาได้ง่ายขึ้น ผู้เขียนขอขอบพระคุณครูบาอาจารย์ที่ท่านได้ประสิทธิ์ประศาสน์วิชาความรู้ ทางด้านดนตรี โดยเฉพาะผู้ช่วยศาสตราจารย์วิเชียร วรินทรเวช ที่กรุณาให้คำ แนะนำ และตรวจแก้ต้นฉบับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำ นวย บรรลือวงศ์ ที่เป็นผู้จุดประกายใน การจัดทำ เอกสารทางดนตรีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ตลอดจนผู้เขียนตำ ราที่ได้นำ มา อ้างอิงในบรรณานุกรม ขอขอบพระคุณเป็นพิเศษในความกรุณาของคุณอรประไพ ธรรมตระกล ที่ช่วยตรวจสอบข้อผิดพลาดในการจัดพิมพ์ครั้งก่อน ๆ ให้ถูกต้องยิ่งขึ้น ถึงแม้ไม่เคยรู้จักกันท่านก็มีนํ้าใจ ตรวจสอบทุกตัวอักษรจนได้หนังสือดนตรีที่มีเนื้อหา ถูกต้องสมบูรณ์และเป็นมาตรฐานเล่มนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้คงจะนำ ประโยชน์มาสู่ผู้ที่มีใจรักในดนตรีการตลอดไป แด่ คุณพ่อ - คุณแม่ ครู - อาจารย์ และผู้มีพระคุณ ค สารบัญ หน้า คำ นำ ก สารบัญ............................................................................................................... ค บทนำ ช ช บทที่ 1 จังหวะ 1. ความหมาย.........................................................................................1 2. ตัวโน้ต และตัวหยุด...........................................................................2 3. การเพิ่มค่าความยาวของโน้ต.............................................................3 4. โน้ตสามพยางค์..................................................................................4 5. ห้องเพลง............................................................................................5 6. เครื่องหมายประจำ จังหวะ6 6 7. เครื่องหมายประจำ จังหวะอื่น ๆ9 9 8. การจัดกลุ่มโน้ต............................................................................... 10 9. การเขียนจังหวะทำ นอง1 12 10. หลักการปฏิบัติจังหวะตามโน้ต....................................................... 14 11. การอ่านจังหวะโน้ต......................................................................... 15 แบบฝึกหัดที่ 1................................................................................ 17 บทที่ 2 ระดับเสียง 1. ความหมาย...................................................................................... 19 2. บรรทัดห้าเส้น................................................................................. 20 3. เส้นน้อย........................................................................................... 20 4. กุญแจประจำ หลัก2 21 5. เปรียบเทียบระดับเสียงของกุญแจประจำ หลัก2 24 6. กุญแจประจำ หลักอื่น ๆ2 25 7. หลักการบันทึกโน้ต......................................................................... 26 8. ระยะห่างของระดับเสียง................................................................. 27 9. เครื่องหมายแปลงเสียง.................................................................... 28 ง 10. เครื่องหมายแปลงเสียงบนคีย์เปียโน................................................ 29 11. ข้อควรจำ เกี่ยวกับเครื่องหมายแปลงเสียง3 30 แบบฝึกหัดที่ 2................................................................................ 31 บทที่ 3 บันไดเสียง 1. ความหมาย...................................................................................... 33 2. ชื่อลำ ดับขั้นของโน้ตในบันไดเสียง3 34 3. บันไดเสียงเมเจอร์........................................................................... 35 4. เททราคอร์ด.................................................................................... 36 5. การสร้างบันไดเสียงเมเจอร์............................................................. 36 6. บันไดเสียงเมเจอร์ทั้งหมด................................................................ 39 7. เครื่องหมายประจำ กุญแจเสียง และกุญแจเสียง4 41 8. เครื่องหมายประจำ กุญแจเสียงเมเจอร์4 42 9. วิธีหาชื่อกุญแจเสียงเมเจอร์............................................................. 42 10. วิธีหาเครื่องหมายประจำ กุญแจเสียงเมเจอร์4 43 11. บันไดเสียงไมเนอร์.......................................................................... 44 12. การสร้างบันไดเสียงไมเนอร์............................................................ 48 13. บันไดเสียงฮาร์โมนิกไมเนอร์........................................................... 49 14. บันไดเสียงเมโลดิกไมเนอร์.............................................................. 51 15. เครื่องหมายประจำ กุญแจเสียงไมเนอร์5 53 16. วิธีหาชื่อกุญแจเสียงไมเนอร์............................................................ 53 17. กุญแจเสียงคู่ขนาน.......................................................................... 54 18. กุญแจเสียงร่วม................................................................................ 55 19. วงจรคู่ห้า........................................................................................ 56 20. บันไดเสียงโครมาติก....................................................................... 57 21. บันไดเสียงอื่น ๆ.............................................................................. 58 แบบฝึกหัดที่ 3................................................................................ 61 จ บทที่ 4 ขั้นคู่เสียง 1. ความหมาย...................................................................................... 65 2. ชื่อขั้นคู่เสียง.................................................................................... 66 3. ชนิดของขั้นคู่เสียง........................................................................... 67 4. ขั้นคู่เสียงผสม.................................................................................. 70 5. การพลิกกลับของขั้นคู่เสียง............................................................. 71 6. ขั้นคู่เสียงบนโน้ตของบันไดเสียงเมเจอร์.......................................... 74 7. ขั้นคู่เสียงบนโน้ตของบันไดเสียงไมเนอร์......................................... 75 8. คุณภาพเสียงของขั้นคู่เสียง.............................................................. 77 9. การวิเคราะห์ขั้นคู่เสียง.................................................................... 78 10. การทดกุญแจเสียง........................................................................... 80 แบบฝึกหัดที่ 4................................................................................ 81 บทที่ 5 คอร์ด 1. ความหมาย...................................................................................... 83 2. ทรัยแอด.......................................................................................... 84 3. คอร์ดซัสเปนเดด.............................................................................. 86 4. คอร์ดเซเวนธ์................................................................................... 87 5. คอร์ดซิกธ์....................................................................................... 90 6. คอร์ดไนธ์........................................................................................ 91 7. คอร์ดอิเลเวนธ์................................................................................ 93 8. คอร์ดเธอทีนธ์................................................................................. 94 9. คอร์ดเทนชัน................................................................................... 95 10. โครงสร้างคอร์ด.............................................................................. 96 11. การสร้างคอร์ด................................................................................ 98 12. คอร์ดพลิกกลับ.............................................................................100 13. คอร์ดในกุญแจเสียงเมเจอร์...........................................................102 14. คอร์ดในกุญแจเสียงไมเนอร์..........................................................106 15. คอร์ดกับโมด.................................................................................108 ฉ 16. การดำ เนินคอร์ด1 110 แบบฝึกหัดที่ 5..............................................................................113 ภาคผนวก ก. ชื่อโน้ตในภาษาต่าง ๆ....................................................................116 ข. ศัพท์ดนตรี....................................................................................117 ค. เครื่องหมายทางดนตรี..................................................................119 ง. เฉลยแบบฝึกหัด............................................................................125 จ. ฝึกปฏิบัติจังหวะ............................................................................137 ฉ. ฝึกอ่านโน้ตออกเสียง.....................................................................140 บรรณานุกรม.....................................................................................................146 ดรรชนี.....................................................................................................148 ช บทนำ ข้าวรพุทธเจ้า เอามโนและศิระกราน นบพระภูมิบาล บุญดิเรก..... เมื่ออ่านประโยคสองบรรทัดข้างบน เป็นเพียงแค่บทร้อยกรองธรรมดาไม่มี จังหวะที่แน่นอน และไม่มีระดับเสียงสูง - ตํ่า แต่ถ้านำ มาร้องเป็นเพลงก็คือเพลง สรรเสริญพระบารมี ซึ่งแตกต่างจากบทร้อยกรอง เพราะมีจังหวะและระดับเสียง สูง - ตํ่า ซึ่งเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของเพลงหรือดนตรี จังหวะก็คือ ความสั้น - ยาว ของเสียง เมื่อร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี โดยเคาะเท้าเป็นจังหวะพร้อมกันไปด้วยจะได้ความสั้น - ยาวของเสียง ดังนี้ คำ ร้อง ข้า ว ร พุท ธ เจ้า จังหวะเคาะ 1 2 3 4 5 6 7 8 ความสั้น - ยาวของเสียง ข้า ยาวสองจังหวะ ออกเสียงตรงจังหวะเคาะที่ 1 ว ยาวครึ่งจังหวะ ออกเสียงตรงจังหวะเคาะที่ 3 ร ยาวครึ่งจังหวะ ออกเสียงตรงจังหวะยกที่ 3 พุท ยาวครึ่งจังหวะ ออกเสียงตรงจังหวะเคาะที่ 4 ธ ยาวครึ่งจังหวะ ออกเสียงตรงจังหวะยกที่ 4 เจ้า ยาวสามจังหวะ ออกเสียงตรงจังหวะเคาะที่ 5 ในขณะที่ร้องเพลงจะมีระดับเสียงสูง - ตํ่า สลับกันไป ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะ ของแต่ละเพลง ระดับเสียงของดนตรีนั้นมีชื่อเรียกเรียงตามลำ ดับจากเสียงตํ่าไปหา เสียงสูงดังนี้คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที เมื่อร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีประโยคแรก จะได้ระดับเสียง ดังนี้ คำ ร้อง ข้า ว ร พุท ธ เจ้า ระดับเสียง โด เร โด เร มี โด จังหวะเคาะ 1 2 3 4 5 6 7 8 ความสั้น - ยาว และความสูง - ตํ่าของเสียง ซ เพื่อให้มีความเข้าใจและเห็นภาพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น จึงนำ ความสัมพันธ์ระหว่าง จังหวะกับระดับเสียง มาเขียนเป็นภาพแผนภูมิได้ดังนี้ ระดับเสียง ฟา มี ธ เร ว พุท โด ข้า ร เจ้า 1 2 3 4 5 6 7 8 จังหวะเคาะ จังหวะ และระดับเสียง (ทำ นองเพลง) ในการร้องเพลงนั้นต้องมีจังหวะและระดับเสียงควบคู่กันไปตลอด ซึ่งเรียกว่า ทำ นองเพลง (Melody) สามารถเขียนบันทึกโดยใช้สัญลักษณ์ที่เรียกว่า โน้ต (Note) ดังนั้น เพลงสรรเสริญพระบารมีเขียนบันทึกเป็นโน้ตได้ดังนี้ สรรเสริญพระบารมี คำ ร้อง : สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทำ นอง : นายเฮวุตเซน ข้า ว ร พุท ธ เจ้า เอา ม โน และ ศิ ระ กราน นบ พระ ภู มิ บาล บุ - ญ ดิ เรก เอก บ ร ม จั - กริน พระ ส ยา - มินทร์ พระ ย ศ ยิ่ง ยง เย็น ศิ ระ เพราะ พระ บ ริ บาล ผล พระคุณ ธ รัก ษา ปวง ประ ชาเป็น สุ ข ศานต์ ขอ บัน ดาล ธ ประ สงค์ - ใด จง สฤษดิ์ ดัง หวัง ว ร ห ฤ ทัย ดุ จ ถ วายชัย ช โย จังหวะ หรือ ความสั้น - ยาวของเสียง เขียนบันทึกด้วย ตัวโน้ต ระดับเสียง หรือ ความสูง - ตํ่าของเสียง เขียนบันทึกด้วย บรรทัดห้าเส้น จังหวะ (TIME) 1 1. ความหมาย จังหวะ1 หมายถึง ช่วงเวลาที่ดําเนินอยู่ในขณะที่บรรเลงดนตรี จะสิ้นสุดลง ก็ต่อเมื่อจบบทเพลงนั้น ๆ แล้ว จังหวะมีหน้าที่คอยควบคุมการเคลื่อนที่ของทํานอง และแนวประสานเสียงต่าง ๆ ให้มีความสัมพันธ์กัน การเดินของจังหวะจะดำ เนินไป อย่างสมํ่าเสมอ จึงเปรียบเทียบจังหวะเหมือนกับเป็นเวลาหรือชีพจรของดนตรี จังหวะเป็นองค์ประกอบที่สำ คัญของดนตรี และเป็นทักษะขั้นพื้นฐานของ ผู้เล่นดนตรี จังหวะที่ควรทำ ความเข้าใจและปฏิบัติให้ถูกต้อง ได้แก่ 1.1 จังหวะเคาะ (Beat) เป็นหน่วยบอกช่วงเวลาของดนตรี ปฏิบัติโดย การเคาะจังหวะให้ดําเนินไปอย่างสมํ่าเสมอขณะที่เล่นดนตรี จนกว่าจะจบบทเพลง ยก ยก ยก ยก การเคาะจังหวะ ตก ตก ตก ตก ความยาวของจังหวะ จังหวะเคาะ 1 & 2 & 3 & 4 & การเคาะจังหวะ 1.2 จังหวะทำ นอง (Rhythm) เป็นช่วงเวลาที่เสียงดังออกมา มีทั้งเสียงสั้น เสียงยาวสลับกันไปหรือบางครั้งอาจสลับด้วยความเงียบด้วยก็ได้ ซึ่งมีความแตกต่าง กันไปแล้วแต่บทเพลง ความสั้น - ยาวของจังหวะทำ นองใช้จังหวะเคาะเป็นเครื่องวัด จังหวะทำ นอง ข้า ว ร พุท ธ เจ้า จังหวะเคาะ 1 2 3 4 5 6 7 8 (ความเงียบ) ความสั้น - ยาว ของจังหวะทำ นอง ความสั้น - ยาว ของเสียงหรือความเงียบในจังหวะทำ นองนั้น สามารถเขียน บันทึกได้ โดยใช้สัญลักษณ์ที่เรียกว่า ตัวโน้ต และตัวหยุด ส.สุรรัตน์์. คู่มือสอบภาคทฤษฎีดนตรีสากล. 2529. หน้า 32. 1 2 ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ 2. ตัวโน้ต และตัวหยุด ตัวโน้ต (Note) เป็นสัญลักษณ์ที่เขียนบันทึกความสั้น - ยาว ของเสียง ตัวหยุด (Rest) เป็นสัญลักษณ์ที่เขียนบันทึกความสั้น - ยาว ของความเงียบ ลักษณะและชื่อของตัวโน้ต และตัวหยุด1 ตัวโน้ต ตัวหยุด ชื่อไทย ชื่ออังกฤษ ชื่ออเมริกัน w ตัวกลม Semibreve Whole h หรือ H ตัวขาว Minim Half Q Î q หรือ ตัวดํา Crotchet Quarter E ä e หรือ เขบ็ตหนึ่งชั้น Quaver Eighth X Å x หรือ เขบ็ตสองชั้น Semi Quaver Sixteenth เปรียบเทียบค่าความยาวของตัวโน้ต w h h q q q q e e e e e e e e x x x x x x x x x x x x x x x x จะเห็นว่า โน้ตตัวขาว มีค่าเท่ากับ 12 ของโน้ตตัวกลม โน้ตตัวดํา มีค่าเท่ากับ 14 ของโน้ตตัวกลม โน้ตเขบ็ตหนึ่งชั้น มีค่าเท่ากับ 18 ของโน้ตตัวกลม โน้ตเขบ็ตสองชั้น มีค่าเท่ากับ 161 ของโน้ตตัวกลม หรือ w = 2h = 4q = 8e = 16x ส่วนตัวหยุด ให้เปรียบเทียบค่าเหมือนกับ ตัวโน้ต พิชัย ปรัชญานุสรณ์. ทฤษฎีดนตรีระดับเกรดหนึ่ง. 2531. หน้า 8, 13. 1 จังหวะ 3 3. การเพิ่มค่าความยาวของโน้ต โดยปกติแล้วค่าความยาวของโน้ต (คำ ว่า โน้ต ในที่นี้มีความหมายรวมไปถึง ตัวโน้ตและตัวหยุด) จะลดลงครึ่งหนึ่งไปตามลำ ดับ เช่น โน้ตตัวขาวยาวเท่ากับครึ่งหนึ่ง ของโน้ตตัวกลม โน้ตตัวดำ ยาวเท่ากับครึ่งหนึ่งของโน้ตตัวขาว โน้ตเขบ็ตหนึ่งชั้นยาว เท่ากับครึ่งหนึ่งของโน้ตตัวดำ เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มค่าความยาวของโน้ต ให้มีความแตกต่างกัน เพื่อให้ค่าความยาวของโน้ตมีความหลากหลายมากขึ้นได้ดังนี้ 3.1 เพิ่มค่าความยาวของโน้ตให้เพิ่มขึ้นเท่ากับโน้ตสองตัวรวมกัน โดยใช้ เครื่องหมายโยงเสียง (Tie) เขียนโยงเสียงโน้ตสองตัวรวมกัน h( h h( h หรือ q( h มีค่าเท่ากับ w h( q หรือ q( q มีค่าเท่ากับ h+q q( q หรือ มีค่าเท่ากับ h   ( q( e หรือ มีค่าเท่ากับ q+e ให้เขียนเครื่องหมายโยงเสียงกํากับไว้บนหัวตัวโน้ตเท่านั้น ไม่ให้เขียนบนหาง QQ หรือ _ ) ส่วนตัวหยุดไม่ต้องใช้เครื่องหมายโยงเสียง _ ตัวโน้ต ( Q Q 3.2 เพิ่มค่าความยาวของโน้ตให้เพิ่มขึ้นอีกครึ่งหนึ่ง โดยใช้เครื่องหมายจุด (Dot) ประไว้ที่หลังตัวโน้ตหรือตัวหยุด เรียกว่า โน้ตประจุด1 (Dotted note) ซึ่ง เครื่องหมายจุดจะมีค่าเท่ากับครึ่งหนึ่งของตัวโน้ตหรือตัวหยุด h. = h( q หรือ q_ q_ q.= Î หรือ Î Î Î q. = q( e หรือ e_e_e Î. = Î ä หรือ ä ä ä e. = e( x หรือ x_x_x ä. = ä Å หรือ Å Å Å ถ้ามีสองจุด จุดตัวหลังจะมีค่าเท่ากับครึ่งหนึ่งของจุดตัวแรก เช่น h.. เท่ากับ h( q_e.. เท่ากับ Î ä q.. เท่ากับ q( e_x Î.. เท่ากับ Î ä Å e.. เท่ากับ e( x_y ä.. เท่ากับ ä Å ¨ 1 พิชัย ปรัชญานุสรณ์. ทฤษฎีดนตรีระดับเกรดสอง. 2532. หน้า 10-11. 4 ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ 4. โน้ตสามพยางค์ โดยปกติแล้ว ถ้าแบ่งโน้ตตัวกลมออกเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน จะได้โน้ตตัวขาว 2 ตัว ถ้าแบ่งออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน จะได้โน้ตตัวดำ 4 ตัว ถ้าแบ่งออกเป็น 8 ส่วนเท่า ๆ กัน จะได้โน้ตเขบ็ตหนึ่งชั้น 8 ตัว และถ้าแบ่งออกเป็น 16 ส่วนเท่า ๆ กัน จะได้โน้ตเขบ็ตสองชั้น 16 ตัว นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วนเท่า ๆ กัน ได้อีก เรียกว่า โน้ตสามพยางค์ (Triplet) โดยสังเกตจากเลข 3 ที่เขียนกำ กับไว้บน กลุ่มของโน้ต ดังนั้นสามารถแบ่งโน้ตออกเป็น 3 ส่วน 5 ส่วน 6 ส่วน หรือ 7 ส่วน ก็ได้ ซึ่งโน้ตที่แบ่งส่วนไม่ปกติเหล่านี้จะเขียนตัวเลขที่แบ่งส่วนกำ กับไว้บนกลุ่มโน้ตเสมอ การแบ่งส่วนของตัวโน้ต ตัวโน้ต แบ่งเป็น 2 ส่วน แบ่งเป็น 3 ส่วน แบ่งเป็น 4 ส่วน w h h h Jh h qqqq q Jq q * h q q iiiq q e e iJiq jjjq e x x jJjq kkkq รูปแบบของโน้ตสามพยางค์ ที่นิยมใช้ 1. q Jq q 5. ä Jiq 2. e Jq 6. ä Jq 3. qJ e 7. Î J e 4. iJiq 8. q. J qq  * โน้ตเขบ็ตตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป ให้เขียนเส้นรวบเขบ็ต (Beam) เข้าด้วยกัน j ส่วนประกอบของโน้ต e =  + + ตัวโน้ต หัว หาง เขบ็ต (Note) (Head) (Stem) (Flag) จังหวะ 5 5. ห้องเพลง ในการเคาะจังหวะจะมีการเน้นจังหวะหนัก - เบา สลับกันไปเป็นกลุ่ม ๆ ดังนี1้ กลุ่มละ 2 จังหวะ หนัก เบา หนัก เบา หนัก เบา หนัก เบา จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 กลุ่มละ 3 จังหวะ หนัก เบา เบา หนัก เบา เบา หนัก เบา เบา จังหวะเคาะ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 กลุ่มละ 4 จังหวะ (จังหวะหนักที่ 3 เบากว่าจังหวะหนักที่ 1) หนัก เบา หนัก เบา หนัก เบา หนัก เบา จังหวะเคาะ 1 2 3 4 1 2 3 4 หนัก - เบา ของจังหวะเคาะ โดยใช้เส้นตรงตั้งฉาก (  ) ซึ่งเรียกว่า เส้นกั้นห้อง  ในการบันทึกโน้ตเพลง ต้องจัดกลุ่มตัวโน้ตออกเป็นกลุ่ม ๆ ตามการเน้นจังหวะ ท่อนเพลงให้กั้นด้วยเส้นคู่  และถ้าจบบทเพลงให้กั้นด้วยเส้นคู่  เส้นคู่ทั้ง 2 แบบนี้ (Bar line) กั้นไว้หน้าจังหวะเน้นของแต่ละกลุ่ม (ยกเว้นการเน้นครั้งแรก) เมื่อจบ เรียกว่า เส้นกั้นห้องคู่ (Double bar) q q  q q  q q  q q  เส้นกั้นห้อง เส้นกั้นห้องคู่ เส้นกั้นห้อง เส้นกั้นห้องคู่ กลุ่มละ 2 จังหวะ หนัก เบา หนัก เบา หนัก เบา หนัก เบา จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 เมื่อใช้เส้นกั้นห้องแล้วจะเกิดเป็นช่องว่างขึ้นเรียกว่า ห้องเพลง (Measure) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ห้อง (Bar) q q q q  q q q q  q q q q  q q q q  ห้องที่ 1 ห้องที่ 2 ห้องที่ 3 ห้องที่ 4 ห้องละ 4 จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 เมื่อแบ่งเป็นห้องเพลงแล้ว จังหวะแรกของห้องจะเป็นจังหวะหนักเสมอ 1 ดุษฎี พนมยงค์. สานฝันด้วยเสียงเพลง มาฝึกร้องเพลงกันเถิด. 2542. หน้า 37. 6 ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ 6. เครื่องหมายประจำ จังหวะ กลุ่มของโน้ตที่เกิดจากการแบ่งห้องเพลงตามจังหวะเคาะนั้น ในแต่ละเพลง สามารถแบ่งออกเป็นห้องละ 2 จังหวะ 3 จังหวะ หรือ 4 จังหวะ แตกต่างกันไป และ มีการกำ หนดตัวโน้ตเป็นเกณฑ์ในการเคาะจังหวะด้วย ซึ่งกำ หนดโดยเครื่องหมาย ที่มีลักษณะคล้ายเลขเศษส่วนแต่ไม่ขีดเส้นคั่น เรียกว่า เครื่องหมายประจำ จังหวะ (Time signature) เช่น เป็นต้น ตัวเลขบน บอกจํานวนตัวโน้ต หรือจังหวะในแต่ละห้อง เลข 2 มีตัวโน้ตได้ 2 ตัว เลข 6 มีตัวโน้ตได้ 6 ตัว เลข 3 มีตัวโน้ตได้ 3 ตัว เลข 9 มีตัวโน้ตได้ 9 ตัว เลข 4 มีตัวโน้ตได้ 4 ตัว เลข 12 มีตัวโน้ตได้ 12 ตัว ตัวเลขล่าง กําหนดลักษณะตัวโน้ตที่ใช้เป็นเกณฑ์ เลข 2 แทนโน้ต h เลข 8 แทนโน้ต e เลข 4 แทนโน้ต q เลข 16 แทนโน้ต x q q  iq iq  q iq  h  ตัวอย่าง จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 อ่านว่า จังหวะสอง-สี่ กําหนดให้แต่ละห้องมีโน้ต q (ตามเลข 4 ล่าง) ได้ 2 ตัว (ตามเลข 2 บน) ปฏิบัติห้องละ 2 จังหวะ โดยให้โน้ต q เป็นตัวละ 1 จังหวะ q. q.  iiq iiq  q. q e  h.  ตัวอย่าง จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 อ่านว่า จังหวะหก-แปด กําหนดให้แต่ละห้องมีโน้ต e (ตามเลข 8 ล่าง) ได้ 6 ตัว (ตามเลข 6 บน) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 3 ตัว ปฏิบัติห้องละ 2 จังหวะ โดยให้ โน้ต q. เป็นตัวละ 1 จังหวะ จากตัวอย่างจังหวะ และจังหวะ สามารถแบ่งเครื่องหมายประจำ จังหวะ ออกเป็น 2 ประเภท คือ อัตราจังหวะธรรมดา และ อัตราจังหวะผสม จังหวะ 7 6.1 อัตราจังหวะธรรมดา1 (Simple time) สองจังหวะ สามจังหวะ สี่จังหวะ h h h h h h h h h q q q q q q q q q e e e e e e e e e ตัวอย่าง อัตราจังหวะธรรมดา h h  q q h  q q q q  w  จังหวะสอง-สอง ให้แต่ละห้องมีโน้ต h ได้ 2 ตัว ปฏิบัติห้องละ 2 จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 q q  q Î  iq iq  h  จังหวะสอง-สี่ ให้แต่ละห้องมีโน้ต q ได้ 2 ตัว ปฏิบัติห้องละ 2 จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 q q q  h Î  iq iq iq  h.  จังหวะสาม-สี่ ให้แต่ละห้องมีโน้ต q ได้ 3 ตัว ปฏิบัติห้องละ 3 จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 e e e  q ä  e e jq  q.  จังหวะสาม-แปด ให้แต่ละห้องมีโน้ต e ได้ 3 ตัว ปฏิบัติห้องละ 3 จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 จังหวะสี่-สี่ ให้แต่ละห้องมีโน้ต q ได้ 4 ตัว ปฏิบัติห้องละ 4 จังหวะ q q q q  h h  iiiq iiiq  w  จังหวะเคาะ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 เครื่องหมายประจำ จังหวะ เป็นเครื่องหมายประจำ จังหวะที่นิยมใช้ใน บทเพลงโดยทั่วไป อาจใช้เครื่องหมาย เขียนแทนก็ได้ ( เป็นตัวย่อของคำ ว่า  Common time) ถ้าขีดเส้นแบ่งครึ่งตรงกลาง จะเป็นเครื่องหมาย  ใช้แทน เครื่องหมายประจำ จังหวะ James Murray Brown. A Handbook of Musical Knowledge. 1987. p. 15. 1 8 ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ 6.2 อัตราจังหวะผสม1 (Compound time) สองจังหวะ สามจังหวะ สี่จังหวะ h. h. h. h. h. h. h. h. h. q. q. q. q. q. q. q. q. q. e. e. e. e. e. e. e. e. e. ตัวอย่าง อัตราจังหวะผสม จังหวะหก-แปด ให้แต่ละห้องมีโน้ต e ได้ 6 ตัว แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 3 ตัว iiq iiq  q. q.  iiq q.  q. Î.  จะได้โน้ต q. 2 ตัว ปฏิบัติห้องละ 2 จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 จังหวะหก-สิบหก ให้แต่ละห้องมีโน้ต x ได้ 6 ตัว แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 3 ตัว jjq jjq  e. e.  jjq e.  e. ä.  จะได้โน้ต e. 2 ตัว ปฏิบัติห้องละ 2 จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 จังหวะเก้า-แปด ให้แต่ละห้องมีโน้ต e ได้ 9 ตัว แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ๆ ละ 3 ตัว iiq iiq iiq  q eq. Î.  จะได้โน้ต q. 3 ตัว ปฏิบัติห้องละ 3 จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 3 1 2 3 จังหวะสิบสอง-แปด ให้แต่ละห้องมีโน้ต e ได้ 12 ตัว แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ iiq iiq iiq iiq  q. iiq q. Î.  3 ตัว จะได้โน้ต q. 4 ตัว ปฏิบัติห้องละ 4 จังหวะ จังหวะเคาะ 1 2 3 4 1 2 3 4 ในอัตราจังหวะผสมนั้นให้ปฏิบัติเป็นโน้ตสามพยางค์ เพราะใน 1 จังหวะ จะแบ่งย่อยจังหวะออกเป็น 3 ส่วนเท่า ๆ กัน ลักษณะเหมือนกับโน้ตสามพยางค์ ถึงแม้จะไม่ได้เขียนเลข 3 กำ กับไว้ที่ตัวโน้ตก็ตาม James Murray Brown. A Handbook of Musical Knowledge. 1987. p. 24. 1 จังหวะ 9 7. เครื่องหมายประจำ จังหวะอื 1 ่น ๆ 7.1 เครื่องหมายประจำ จังหวะ ประกอบด้วยอัตราจังหวะสองกลุ่มรวมกัน คือ อัตราจังหวะ + หรือ + h q q q  q iq q h  q q q h  q iq q h   q. eiq h  q. eq q q  q. eiq h  1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 q. eq h 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 2 7.2 เครื่องหมายประจำ จังหวะ ประกอบด้วยอัตราจังหวะสองกลุ่มรวมกัน คือ อัตราจังหวะ + หรือ + q iiiq h q q  q q q iiiq h  q q h q. eq  q. eq q h.  1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 7.3 เครื่องหมายประจำ จังหวะ ประกอบด้วยอัตราจังหวะสองกลุ่มรวมกัน คือ อัตราจังหวะ + หรือ + iiq q q  iiq q. e  iiq q q  iiq h  q q q e  q q iiq  q q q e  q q q.  1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 7.4 เครื่องหมายประจำ จังหวะผสม (Mixed time) ในบางครั้งเพลงหนึ่ง ๆ h q q  h q q  h  q q iq q  อาจใช้เครื่องหมายประจำ จังหวะหลาย ๆ แบบแทรกในบางห้องก็ได้ q q iq q  q iq q  q q iq q  h h  พระเจนดุริยางค์์. แบบเรียนดุริยางค์ศาสตร์สากล. 2531. หน้า 65. 1 แหล่งเดิม. หน้า 66. 2 10 ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ 8. การจัดกลุ่มโน้ต การเขียนโน้ตที่ถูกต้องนั้น นอกจากเขียนโน้ตได้ครบตามเครื่องหมายประจำ จังหวะแล้ว และที่สำ คัญต้องจัดกลุ่มโน้ตให้ถูกต้องด้วย เพื่อสะดวกในการอ่านและ ความถูกต้องแม่นยำ ในการปฏิบัติ โดยให้ยึดหลักเกณฑ์ดังนี้ เครื่องหมายประจำ จังหวะ ให้จัดเป็น 2 กลุ่ม เครื่องหมายประจำ จังหวะ ให้จัดเป็น 3 กลุ่ม เครื่องหมายประจำ จังหวะ ให้จัดเป็น 4 กลุ่ม   8.1 ตัวโน้ต1 iq iq หรือ iiiq iq iq iq  หรือ iiiiiq  ไม่ใช่ iiq iiq  1 2 1 2 q. eiq  ไม่ใช่ q. iiq  (ให้จัดเป็น 3 กลุ่ม ๆ ละ 2e) 1 2 3 1 2 3 1 2 3 iiq iiq  ไม่ใช่ iq iq iq  1 2 3 1 2 3 (ให้จัดเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 3e) q. iiq  ไม่ใช่ q. eiq  1 2 1 2 (ให้จัดเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 3e) q iq iq q  ไม่ใช่ q iiiq q  1 2 1 2 (ห้ามรวมจังหวะที่ 2 กับ 3) q eiiq q.  ไม่ใช่ q iiiq q.  1 2 3 4 1 2 3 4 (จัดเป็น 3 กลุ่ม ๆ ละ 3e) 1 2 3 1 2 3 ควรหลีกเลี่ยงโน้ตโยงเสียง เพื่อให้แสดงเฉพาะโน้ตที่ต้องปฏิบัติเท่านั้น q. e แทน q( iq q. eq แทน q( iq q eq. แทน iq_q q q. e แทน q q( iq eq e แทน iq_iq q q. eq แทน q q( iq q q eq e แทน q iq_iq q h q แทน q q( q q Eric Taylor. The AB Guide to Music Theory Part I. 1989. p. 33. 1 จังหวะ 11 8.2 ตัวหยุด1 e ä Î  ไม่ใช่ e Î ä   อัตราจังหวะธรรมดา หรือ e Î. ä e e  หรือ Î. e 1 2 1 2 1 2 Î ไม่ใช่ ä Î q Î Î  ไม่ใช่ q  (ให้แยกตัวหยุดออกเป็น 1 2 1 2 1 2 Î Î q  ไม่ใช่ q  (ให้แยกตัวหยุดออกเป็น 1 2 3 1 2 3 ตัวละ 1 จังหวะ)  ไม่ใช่ h Î Î  (จังหวะที่ 3 และ 4 รวม 1 2 3 1 2 3 ตัวละ 1 จังหวะ) h   (จังหวะที่ 1 และ 2 รวม 1 2 3 4 1 2 3 4 เป็นกลุ่มเดียวกันได้) h ไม่ใช่ Î Î h q Î Î q  ไม่ใช่ q q  (ไม่ควรรวม จังหวะที่ 2 1 2 3 4 1 2 3 4 เป็นกลุ่มเดียวกันได้)  ไม่ใช่ q.  (ไม่ควรรวม จังหวะที่ 2, 3 1 2 3 4 1 2 3 4 และ 3 เป็นกลุ่มเดียวกัน) q Î Î q  ไม่ใช่ q  (ไม่ควรรวม จังหวะที่ 1, 2 1 2 3 4 1 2 3 4 และ 4 เป็นกลุ่มเดียวกัน). 1 2 3 4 1 2 3 4 และ 3 เป็นกลุ่มเดียวกัน) q ä Î.  หรือ q ä Î ä  ไม่ใช่ q Î Î  หรือ q  อัตราจังหวะผสม  หรือ eää Î ä  ไม่ใช่ eÎ Î.  หรือ eä  1 2 1 2 1 2 1 2 eää Î. q. Î. Î.  หรือ q. Î ä Î ä  ไม่ใช่ q..  1 2 1 2 1 2 1 2 Î. Î. q.  หรือ Î ä Î ä q.  ไม่ใช่. q.  1 2 3 1 2 3 1 2 3 q. Î. Î. q.  หรือ q. Î ä Î ä q.  ไม่ใช่ q. q.  1 2 3 1 2 3 1 2 3. 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 Eric Taylor. The AB Guide to Music Theory Part I. 1989. p. 34-36. 1 12 ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ 9. การเขียนจังหวะทำ นอง การเขียนจังหวะทำ นองง่าย ๆ เพียง 4 ห้อง จะทำ ให้เข้าใจและสามารถเขียน จังหวะทำ นองที่มีความซับซ้อนมากขึ้นได้ หลักการเขียนจังหวะทำ นองพอสรุปได้ดังนี1้ q q q q q q q q q qqqqqqqq q  9.1 ซํ้าจังหวะทำ นองของห้องที่ 1 และ 2 ในห้องที่ 3 และ 4 Î Î q q q q q q Î qqq q q q Î  q q q q q q q q q q q h  9.2 ซํ้าจังหวะทำ นองของห้องที่ 1 ในห้องที่ 3 q q q q q q q h q qqq qq  w  h q q q q  q q q q q q q  q q q q q q q  h.  9.3 ซํ้าจังหวะทำ นองของห้องที่ 2 ในห้องที่ 3 q. eq q  q q q q q  q q q q q  w  qqqqq qq qqq h  9.4 ซํ้าจังหวะทำ นองในรูปแบบอื่น ๆ qqqqq q q q q q q  q q q q  q q q q  h h  q  q q q  q q q q q  h.  9.5 ไม่มีการซํ้าจังหวะทำ นอง h q q q h q qqq qq  w  q qqh qqqqq q q q h  9.6 พลิกกลับจังหวะทำ นองของห้องแรก ในห้องที่ 3 q q q q q q q h  qqqqq qqqq 1 Loh Phaik Kheng. A Handbook of Music Theory. 1991. p. 18-20. จังหวะ 13 q q q qq q q q q q q h  9.7 ห้องที่ 3 ใช้โน้ตที่มีค่าน้อยกว่าโน้ตในห้องแรก q q q q q q h qqqqqqqq  w  h qqqqq q q q q q h  9.8 ห้องที่ 3 ใช้โน้ตที่มีค่ามากกว่าโน้ตในห้องแรก q q q q q q q q q q q  q q q  q q q q q  h.  q q q q q q q Î h  9.9 ซํ้าตัวโน้ตในจังหวะต่าง ๆ ด้วยตัวหยุด q q. eq. e  q q h  q. e q Î  w  q  q q q q q q h  9.10 ซํ้าตัวหยุดในจังหวะต่าง ๆ ด้วยตัวโน้ต qqqq Î q q qq Î q qq Î  q q q q h  q q q q q q q q q q  w  การลงจบ ในการเขียนจังหวะทำ นอง 4 ห้อง จะมีการลงจบในห้องที่ 4 ตรงจังหวะเคาะ q  q q q  q q q q  ไม่ดี ที่ 1, 2 หรือ 3 ไม่ควรลงจบด้วยโน้ตเขบ็ต เพราะให้ความรู้สึกเหมือนยังไม่จบ q q q q q q q q h  ใช้ได้ q q q q  q Î   Î  q Î Î  ตัวอย่าง การลงจบในห้องที่ 4 h h. h h h  h. Î   q q  w  qÎ 14 ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ 10. หลักการปฏิบัติจังหวะตามโน้ต   10.1 โน้ตตัวกลม w จังหวะเคาะ 1( 2( 3 ( 4* (1) (2) (3) (4)** เครื่องหมายประจำ จังหวะ กําหนดให้แต่ละห้องมีโน้ต w ได้ 1 ตัว ปฏิบัติ ครั้งเดียว ตรงจังหวะที่ 1 แล้วลากเสียงยาวออกไปจนครบ 4 จังหวะ ตัวหยุด มีความยาวของจังหวะเท่ากับโน้ต w แต่ไม่ต้องออกเสียง h  10.2 โน้ตตัวขาว h h จังหวะเคาะ 1 ( 2 3 ( 4 1 ( 2 (3) (4) เครื่องหมายประจำ จังหวะ กําหนดให้แต่ละห้องมีโน้ต h ได้ 2 ตัว ปฏิบัติ 2 ครั้ง ตรงจังหวะที่ 1 กับจังหวะที่ 3 แต่ละครั้งให้ลากเสียงยาวเท่ากับ 2 จังหวะ ตัวหยุด มีความยาวของจังหวะเท่ากับโน้ต h แต่ไม่ต้องออกเสียง q q q q  q Î Î q  q Î q Î  q q q Î  10.3 โน้ตตัวดํา จังหวะเคาะ 1 2 3 4 1 (2) (3) 4 1 (2) 3 (4) 1 2 3 (4) เครื่องหมายประจำ จังหวะ กําหนดให้แต่ละห้องมีโน้ต q ได้ 4 ตัว ปฏิบัติ 4 ครั้ง ตรงจังหวะที่ 1, 2, 3 และ 4 แต่ละครั้งให้ลากเสียงยาวเท่ากับ 1 จังหวะ ตัวหยุด Î มีความยาวของจังหวะเท่ากับโน้ต q แต่ไม่ต้องออกเสียง iiiq iiiq  q  10.4 โน้ตเขบ็ตหนึ่งชั้น  e  e q จังหวะเคาะ 1 & 2 & 3 & 4 & 1 (2) & (3) & 4 เครื่องหมายประจำ จังหวะ กําหนดให้แต่ละห้องมีโน้ต e ได้ 8 ตัว ปฏิบัติ 8 ครั้งภายใน 4 จังหวะ หรือปฏิบัติ 2 ครั้งภายใน 1 จังหวะ ตัวหยุด  มีความยาวของจังหวะเท่ากับโน้ต e แต่ไม่ต้องออกเสียง * จังหวะเคาะที่มีเครื่องหมายโยงเสียง หมายถึง จังหวะที่มีเสียงยาวติดต่อกัน ** จังหวะเคาะที่อยู่ในวงเล็บ หมายถึง จังหวะที่ไม่ต้องออกเสียง หรือจังหวะของตัวหยุด จังหวะ 15 jjjq jjjq jjjq jjjq  xxxjq q Î  10.5 โน้ตเขบ็ตสองชั้น จังหวะเคาะ 1 - & - 2 - & - 3 - & - 4 - & - 1 & 2 & - 3 (4) เครื่องหมายประจำ จังหวะ กําหนดให้แต่ละห้องมีโน้ต x ได้ 16 ตัว ปฏิบัติ 16 ครั้งภายใน 4 จังหวะ หรือปฏิบัติ 4 ครั้งภายใน 1 จังหวะ ตัวหยุด  มีความยาวของจังหวะเท่ากับโน้ต x แต่ไม่ต้องออกเสียง เครื่องหมายประจำ จังหวะ เป็นเครื่องหมายประจำ จังหวะในขั้นพื้นฐานที่ นิยมใช้ในบทเพลงทั่วไปซึ่งเหมาะสำ หรับผู้ที่เริ่มต้นฝึกหัดเล่นดนตรี ส่วนเครื่องหมาย ประจำ จังหวะอื่น ๆ ที่พบบ่อย คือ และ มีหลักการปฏิบัติเหมือนกับเครื่องหมาย ประจำ จังหวะ แตกต่างกันเฉพาะจำ นวนจังหวะในแต่ละห้องเท่านั้น 11. การอ่านจังหวะโน้ต การอ่านจังหวะโน้ต ให้อ่านออกเสียงเป็นตัวเลขตามจังหวะโน้ต โดยใช้เท้า เคาะเป็นจังหวะเคาะให้สมํ่าเสมอพร้อมกันไปด้วย ส่วนจังหวะในวงเล็บไม่ต้องอ่าน  11.1 รูปแบบของโน้ตเขบ็ตหนึ่งชั้น และวิธีอ่านจังหวะโน้ต1 รูปแบบที่ 1 q q q q ได้มาจาก iiiq  อ่านว่า หนึ่ง และ สอง และ 1 & 2 & รูปแบบที่ 2 q q q ได้มาจาก i_iiq e  อ่านว่า หนึ่ง สอง และ 1 2 & รูปแบบที่ 3 eq ได้มาจาก ii_iq  อ่านว่า หนึ่ง และ (สอง) และ 1 & (2) & รูปแบบที่ 4 q q q ได้มาจาก iii_q e  อ่านว่า หนึ่ง และ สอง 1 & 2 รูปแบบที่ 5 q. ได้มาจาก i_i_iq  อ่านว่า หนึ่ง (สอง) และ 1 (2) & รูปแบบที่ 6 e q. ได้มาจาก ii_i_q อ่านว่า หนึ่ง และ (สอง) 1 & (2) 1 Laurence Canty. How to play Bass Guitar. 1989. p. 43. 16 ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ 11.2 รูปแบบของโน้ตเขบ็ตสองชั้น และวิธีอ่านจังหวะโน้ต รูปแบบที่ 1 jjjq ได้มาจาก jjjq หรือ xxxx หนึ่ง กะ และ ละ 1 - & - รูปแบบที่ 2 q qq ได้มาจาก j_jjq หรือ e xx หนึ่ง และ ละ 1 & - รูปแบบที่ 3 qq q ได้มาจาก jj_jq หรือ xe x หนึ่ง กะ ละ 1 - - รูปแบบที่ 4 qqq ได้มาจาก jjj_q หรือ xxe หนึ่ง กะ และ 1 - & รูปแบบที่ 5 q. q ได้มาจาก j_j_jq หรือ e. x หนึ่ง ละ 1 - รูปแบบที่ 6 q q. ได้มาจาก jj_j_q หรือ xe. หนึ่ง กะ 1 - โน้ตเขบ็ตสองชั้น ปฏิบัติ 4 ครั้ง เท่ากับ โน้ตเขบ็ตหนึ่งชั้น 2 ตัว หรือเท่ากับ โน้ตตัวดำ 1 ตัว jjjq เท่ากับ iq หรือ q การอ่านจังหวะโน้ตเป็นการเตรียมความพร้อมให้สามารถแบ่งอัตราส่วนจังหวะ ของโน้ตได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ สำ หรับนำ ไปใช้ในการปฏิบัติเครื่องดนตรีตามโน้ต เพราะจังหวะเป็นองค์ประกอบที่สำ คัญของดนตรี ที่ผู้เล่นดนตรีต้องฝึกให้เกิดความ เคยชินจนขึ้นใจ และมีทักษะในด้านจังหวะที่ถูกต้อง สรุป จังหวะ เป็นองค์ประกอบดนตรีในแนวนอน ซึ่งเป็นคุณสมบัติข้อแรกของผู้เรียน ดนตรีที่จะต้องทำ ความเข้าใจจนสามารถปฏิบัติจังหวะตามโน้ตได้ ตัวโน้ตและตัวหยุด เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนบันทึกความสั้น - ยาว ของจังหวะทำ นอง โดยใช้จังหวะเคาะ เป็นเครื่องวัดอัตราความสั้น - ยาว เมื่อเข้าใจเรื่องจังหวะก็สามารถเรียนรู้ดนตรีได้ดีขึ้น จังหวะ 17 แบบฝึกหัดที่ 1 1. จงเติม ตัวโน้ต ลงในช่องว่างใต้เครื่องหมายดอกจัน (*) โดยให้มีจํานวนจังหวะ *   q q * e  q q Î  ถูกต้องตามเครื่องหมายประจำ จังหวะที่กําหนดให้ 1.1 q q q q h *    Î Î  * 1.2 q q q q qh qqq q q    Î q.  * * 1.3 q q q q. e. qqqqqq  Î.  q q q q. q.  q q q * q.  q q q q. Î.  * 1.4 q q q 2. จงเติม ตัวหยุด ลงในช่องว่างใต้เครื่องหมายดอกจัน (*) โดยให้มีจํานวนจังหวะ  * q  q q *  q h  ถูกต้องตามเครื่องหมายประจำ จังหวะที่กําหนดให้ 2.1 q q q *    q  * 2.2 q q q q h q qqq q q    eq.  * * 2.3 q. qqq q q q q q. q e q.  q q q q. q.  q q q q.  q q q q. q.  * * 2.4 3. จงเขียนเครื่องหมายประจำ จังหวะที่ถูกต้องไว้หน้าห้องของแต่ละข้อ q qqq  qqqqq q  q q q q q  q Î q Î  3.1 3.2 3.3 3.4 qq  q q q q q q   eq q  q q q q. q.  3.5 3.6 3.7 3.8 q 18 ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ 4. จงแบ่งห้องของโน้ตต่อไปนี้ ให้ได้จํานวนจังหวะตามเครื่องหมายประจำ จังหวะ ที่กําหนดให้ 4.1 h q qq h q q 4.2 q q q q q q q q q Î Î h. 4.3 q Î Î q q q q q  eh h w 4.4 q q q q eq q q q. q q q q. q eq. 4.5 q q q q. q. q q q q. Î. q q q q. Î eq. q. Î. 5. จงเขียนตัวโน้ตลักษณะต่าง ๆ ลงในแต่ละห้องให้ได้จํานวนจังหวะตามเครื่องหมาย ประจำ จังหวะที่กําหนดให้ และถูกต้องตามหลักการเขียนจังหวะทำ นอง 5.1         5.2     5.3     5.4     5.5 6. ฝึกปฏิบัติจังหวะ ในภาคผนวก จ. ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ ISBN 978-616-305-842-3 www.dktoday.net 9 786163 058423 ราคา 125 บาท หมวดดนตรี

Use Quizgecko on...
Browser
Browser