การเลี้ยงโคเนื้อ PDF
Document Details
Uploaded by RestfulMoldavite3461
MSU
Tags
Summary
This document discusses different types of beef cattle raised in Thailand, including indigenous breeds and imported breeds. It also provides information about raising and managing the cattle at different stages of their life. It details the characteristics, feeding, and health care specific to different breeds.
Full Transcript
การเลี้ยงโคเนื้อ พันธุ์โคเนื้อสาคัญ ๆ ที่เลี้ยงในประเทศไทย สำหรับพันธุ์โคเนื้อที่สำคัญและนิยมเลี้ยงในประเทศไทยนั้น จะขอกล่ำวเฉพำะพันธุ์โคเนื้อที่เลี้ยงใน ประเทศไทย ซึ่งอำจเป็นโคเนื้อดังเดิมของไทย และโคพันธุ์เนื้อจำกต่ำงประเทศ ที่นำเข้ำทั้งในรูปสัตว์พันธุ์ น้ำเชื้อ เพื่อกำรพัฒนำกำรเลี...
การเลี้ยงโคเนื้อ พันธุ์โคเนื้อสาคัญ ๆ ที่เลี้ยงในประเทศไทย สำหรับพันธุ์โคเนื้อที่สำคัญและนิยมเลี้ยงในประเทศไทยนั้น จะขอกล่ำวเฉพำะพันธุ์โคเนื้อที่เลี้ยงใน ประเทศไทย ซึ่งอำจเป็นโคเนื้อดังเดิมของไทย และโคพันธุ์เนื้อจำกต่ำงประเทศ ที่นำเข้ำทั้งในรูปสัตว์พันธุ์ น้ำเชื้อ เพื่อกำรพัฒนำกำรเลี้ยงโคเนื้อในประเทศไทย ซึ่งส่วนใหญ่จะพบเห็นได้ในพื้นที่ทั่วไป ดังนี้ โคพื้นเมืองไทย (Thai indigenous cattle) โคพื้นเมืองไทย เป็นโคเนื้อเมืองร้อนในตระกูลโคอินเดีย (Bos indicus) โคพื้นเมืองไทยมีลักษณะใกล้เคียง กับโคพื้นเมืองของประเทศเพื่อนบ้ำนในแถบเอเชีย ลักษณะรูปร่ำงกะทัดรัด ลำตัวเล็ก ขำเรียวเล็ก ยำว เพศผู้มี หนอกขนำดเล็ก มีเหนียงคอ แต่ไม่หย่อนยำนมำก หูเล็ก หนังใต้ท้องเรียบ มีสีไม่แน่นอน เช่น สีแดงอ่อน เหลืองอ่อน ดำ ขำวนวล น้ำตำลอ่อน และอำจมีสีประรวมอยู่ด้วย ข้อดีคือ เลี้ยงง่ำย หำกินเก่ง ไม่เลือกอำหำร เพรำะผ่ำนกำรคัดเลือกแบบธรรมชำติในกำรเลี้ยง แบบไล่ต้อนโดยเกษตรกร และสำมำรถปรับตัวให้เข้ำกับกำร เลี้ยงโดยใช้ทรัพยำกรที่มีอยู่อย่ำงจำกัดในพื้นที่ได้เป็นอย่ำงดี ให้ลูกดก ส่วนใหญ่ให้ปีละตัว ทนทำนต่อโรคและ แมลงและสภำพอำกำศในบ้ำนเรำได้ดี สำมำรถใช้แรงงำนได้ดี แม่โคพื้นเมืองเหมำะที่จะนำมำผสมพันธุ์กับพ่อพันธุ์ หรือผสมเทียมกับพันธุ์อื่น เช่น โคพันธุ์บรำห์มัน โคพันธุ์ตำก โคกำแพงแสน หรือ โคกบินทร์บุรี มีเนื้อแน่น เหมำะกับกำรประกอบอำหำรแบบไทย แต่ข้อเสีย ก็คือ เป็นโคขนำดเล็ก เพรำะถูกคัดเลือกมำในสภำพกำรเลี้ยงที่ มีอำหำรจำกัด ไม่เหมำะที่จะนำมำเลี้ยงขุน เพรำะมีขนำดเล็กไม่สำมำรถทำน้ำหนักซำกได้ตำมที่ตลำดโคขุน ต้องกำรคือ น้ำหนักมีชีวิต 450 กิโลกรัม และเนื้อไม่มีไขมันแทรก เนื่องจำกแม่โคมีขนำดเล็กจึงไม่เหมำะที่จะผสม กับโคพันธุ์ยุโรปที่มีขนำดใหญ่ เช่น ชำร์โรเล่ส์ ซิมเมนทอล หรือโคพันธุ์ยุโรปขนำดใหญ่พันธุ์อื่นๆ เพรำะอำจมี ปัญหำกำรคลอดยำก โคพื้นเมืองไทย แบ่งออกตำมลักษณะรูปร่ำงภำยนอกและวัตถุประสงค์กำรเลี้ยงได้ 4 สำยพันธุ์ คือ 1.) โคพื้นเมืองอีสาน ลักษณะประจาพันธุ์ มีขนสั้นเกรียน โดยทั่วไปมีลำตัวสีน้ำตำลแกมแดง แต่อำจมีสีแตกต่ำงกันหลำยสี เช่น ดำ แดง น้ำตำล ขำว เหลือ เป็นต้น หน้ำยำยบอบบำง หน้ำผำกแคบ ตะโหนกเล็ก เหนียงคอ และหนังใต้ท้อง ไม่มำกนักมีรูปร่ำงขนำดเล็ก น้ำหนักแรกเกิด 16 กิโลกรัม น้ำหนักหย่ำนมเมื่ออำยุ 200 วัน 94 กิโลกรัม น้ำหนักโตเต็มที่ เพศผู้ 300 - 350 กิโลกรัม เพศเมีย 22 - 250 กิโลกรัม อำยุเมื่อให้ลูกตัวแรก 2.71 ปี ระยะกำร อุ้มท้อง 270 - 275 วัน ช่วงห่ำงกำรให้ลูก 395 วัน 2.) โคขาวลาพูน ลักษณะประจาพันธุ์ เขำ และกีดเท้ำ มีสีน้ำตำลส้ม ขอบตำ และเนื้อจมูก มีสีชมพูส้ม ขนพู่หำง สีขำวไม่มี เหนียง สะดือ ขนำดเหนียงคอปำนกลำงไม่พับย่นมำกเหมือนกับโคบรำห์มันน้ำหนักแรกเกิด 18 กก. น้ำหนัก หย่ำนมเมื่ออำยุ 200 วัน 122 กิโลกรัม น้ำหนักโตเต็มที่เพศผู้ 350 - 450 กิโลกรัม เพศเมีย 300 - 350 กิโลกรัม อำยุเมื่อให้ลูกตัวแรก 2.5 ปี ระยะกำรอุ้มท้อง 290 - 295 วัน ช่วงห่ำงกำรให้ลูก 460 วัน จะพบเห็นมำกที่สุดใน เขตพื้นที่ของจังหวัดลำปำง ลำพูน และเชียงใหม่ เท่ำนั้น 3.) โคพื้นเมืองภาคใต้ (โคชน) ลักษณะประจาพันธุ์ มีสีแดง สีน้ำตำลอ่อน ดำ และด่ำง ไม่มีเหนียงสะดือ มีเหนียงคอบำง น้ำหนักแรก เกิด 15 กิโลกรัม น้ำหนักหย่ำนมเมื่ออำยุ 200 วันเฉลี่ย 88 กิโลกรัม น้ำหนัก โตเต็มที่ เพศผู้ 280 - 320 กิโลกรัม เพศเมีย 230 - 280 กิโลกรัม อำยุเมื่อให้ลูกตัวแรก 3 ปี ระยะกำรอุ้มท้อง 270 - 275 วัน โคชนมีมำกที่สุดใน จังหวัดนครศรีธรรมรำช พัทลุง ตรัง และสงขลำ 4.) โคลาน (โคพื้นเมืองภาคกลาง) ลักษณะประจาพันธุ์ นิสัยปรำดเปรียว ตื่นตกใจง่ำย ลำตัวยำวบำง มีสีแดง สีน้ำตำลอ่อน น้ำตำลแก่ ดำ และด่ำง ไม่มีเหนียงสะดือ มีเหนียงคอบำง น้ำหนักแรกเกิด 14 กิโลกรัม น้ำหนักหย่ำนมเมื่ออำยุ 200 วัน 78 กิโลกรัม น้ำหนักโตเต็มที่ เพศผู้ 280-300 กิโลกรัม เพศเมีย 200-260 กิโลกรัม อำยุเมื่อให้ลูกตัวแรก 3 ปี ระยะกำรอุ้มท้อง 270-275 วัน นิยมเลี้ยงกันมำกในภำคกลำง โดยเฉพำะจังหวัดเพชรบุรี รำชบุรี กำญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ นครปฐม และสุพรรณบุรี โคพันธุ์อเมริกันบราห์มัน (American Brahman) เป็นโคเนื้อเมืองร้อนในตระกูลโคอินเดีย (Bos indicus) ได้รับกำรปรับปรุงพันธุ์จำกประเทศอเมริกำ โดยนำไปปรับปรุงและคัดเลือกพันุธ์ ทำงตอนใต้ของอเมริกำ ซึ่งเป็นแถบที่มีอำกำศร้อนและมีเห็บมำก โคพันธุ์นี้ถูก ปรับปรุงพันธุ์ขึ้นมำจำกโคพันธุ์ในประเทศอินเดีย เช่น กูจำรำต เนลลอร์ และเกอร์รี่ กับพันธุ์อินดูบรำซิลจำก ประเทศบรำซิล ดังนั้น จึงตั้งชื่อว่ำ บรำห์มัน ซึ่งแผลงมำจำกคำว่ำพรำหมณ์ และใส่อเมริกันไว้ข้ำงหน้ำ เพื่อให้ ทรำบว่ำปรับปรุงพันธุ์จำกประเทศอเมริกำ กรมปศุสัตว์ได้ทดลองนำเข้ำโคพันธุ์นี้ครั้งแรกจำกประเทศอเมริกำเมื่อ ปี พ.ศ. 2497 หลังจำกนั้นก็มีกำรนำเข้ำเป็นระยะ ๆ ทั้งจำกหน่วยงำนรำชกำรและเอกชน เพศผู้โตเต็มที่หนัก ประมำณ 800 - 1,200 กิโลกรัม เพศเมียประมำณ 500 – 700 กิโลกรัม ปัจจุบันเป็นที่นิยมของเกษตรอย่ำงมำก โดยเฉพำะภำคอีสำน อีกทั้ง ยังนิยมใช้เป็นโคพื้นฐำนในกำรผสมพันธุ์กับโคเนื้อสำยพันธุ์ยุโรปอื่น ๆ เนื่องจำก สำมำรถเจริญเติบโตได้ดีในสภำพภูมิอำกำศแบบเมืองร้อนและมีควำมทนทำนต่อโรคและแมลงดี เกิดเป็นโคพันธุ์ ผสมทีด่ ีเด่นได้หลำกหลำยพันธุ์ในต่ำงประเทศ เช่น โคพันธุ์ชำร์เบรย์ (Chabray) แบรงกัส (Brangus) บรำห์ฟอร์ด (Brahford) ซิมบรำห์ (Simbrah)เป็นต้น ส่วนในประเทศไทยใช้เป็นโคพื้นฐำนเพื่อสร้ำงโคพันธุ์ใหม่ขึ้นมำ เช่น โค พันธุ์ตำก พันธุ์กำแพงแสน และพันธุ์กบินทร์บุรี เป็นต้น โคพันธุ์ชาร์โรเลส์ (Charolais) เป็นโคสำยพันธุ์ตระกูลยุโรป (Bostaurus) ได้รับกำรเรียกชื่อตำมแหล่งกำเนิด คือเมืองชำร์โรเลส์ ( ทำงตอนกลำงของประเทศฝรั่งเศส ในระหว่ำงปี ค.ศ. 1850 - 1880 มีกำรนำโคพันธุ์ชอร์ทฮอร์น มำผสมข้ำมพันธุ์ เพื่อปรับปรุงให้มีลักษณะของโคเนื้อที่ดียิ่งขึ้น ได้มีกำรยอมรับเป็นพันธุ์โคอย่ำงเป็นทำงกำรในปี ค.ศ. 1864 และ สำมำรถจัดเป็นพันธุ์แท้และจดทะเบียนลักษณะสำยพันธุ์มำตั้งแต่ปี ค.ศ. 1887 โคพันธุ์ชำร์โรเลส์เป็นพันธุ์หลักของ ประเทศฝรั่งเศสที่ใช้ผลิตเป็นพ่อแม่พันธุ์หรือเป็นโคขุนส่งออกไปขำยยังประเทศต่ำง ๆ ทั่วโลก โคพันุนี ธ์ ้ได้มีกำร นำเข้ำมำในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2515 โคพันธุ์ชำร์โรเลส์เป็นโคที่มีคุณสมบัติในกำรถ่ำยทอดพันธุกรรมที่ดีมำก ที่สุดพันธุ์หนึ่ง เป็นที่ยอมรับกันมำกในแหล่งเลี้ยงโคเนื้อทั่วโลกว่ำ สำมำรถให้ลูกผสมที่มีคุณลักษณะทำงเศรษฐกิจ ดีเด่นหลำยประกำร เช่น อัตรำกำรเจริญเติบโตเร็ว ซำกมีขนำดใหญ่ เนื้อนุ่ม เนื้อสันมีไขมันแทรก เป็นที่ต้องกำร ของตลำดเนื้อโคคุณภำพสูง มีโครงร่ำงที่ใหญ่ มีประสิทธิภำพกำรแลกเปลี่ยนอำหำรสูง เหมำะที่จะนำน้ำเชื้อมำ ผสมกับแม่โคบรำห์มันหรือลูกผสมบรำห์มันเพื่อนำลูกมำเลี้ยงเป็นโคขุน แต่ข้อเสีย คือ ถ้ำเลี้ยงเป็นพันธุ์แท้หรือมี สำยเลือดสูงๆ จะไม่ทนต่อสภำพภูมิอำกำศของประเทศไทย และ ไม่เหมำะที่จะใช้ผสมกับแม่โคขนำดเล็ก เช่น โคพื้นเมืองเพรำะอำจทำให้คลอดยำก เพศผู้เมื่อโตเต็มที่หนักประมำณ 1,100 กิโลกรัม เพศเมีย 700 - 800 กิโลกรัม โคพันธุ์แองกัส (Angus) เป็นโคสำยพันธุ์ตระกูลยุโรป (Bos taurus)มีถิ่นกำเนิดอยู่ทำงภำคตะวันออกเฉียงเหนือในแคว้นสก๊อต แลนด์ประเทศอังกฤษ เป็นโคขนำดเล็กถึงขนำดกลำง โคเพศผู้มีน้ำหนักประมำณ 900 กิโลกรัม โคเพศเมีย มีน้ำหนักประมำณ 600 กิโลกรัมโคพันธุ์นี้อำจมีสีดำหรือสีแดงตลอดลำตัว ไม่มีเขำ ถึงวัยเจริญพันธุ์เร็วแม่โคเลี้ยง ลูกเก่ง โคพันธุ์นี้มีไขมันแทรกในกล้ำมเนื้อสูงกว่ำพันธุ์อื่น ๆทำให้เนื้อมีคุณภำพดีเยี่ยม แต่มีข้อเสียคือ เนื่องจำก มีขนำดเล็กอัตรำกำรเจริญเติบโตหลังหย่ำนมไม่ดีนัก พร้อมทั้งปรับตัวเข้ำกับสภำพภูมิอำกำศของประเทศไทย ในสภำพร้อนชื้นได้ไม่ดี ไม่เหมำะที่จะนำพันธุ์แท้เข้ำมำเลี้ยง แต่เหมำะที่จะนำน้ำเชื้อพ่อพันธุ์ดังกล่ำว มำผสมกับ โคพื้นเมืองไทยที่มีขนำดใหญ่ เช่น โคขำวลำพูน โคลูกผสมบรำห์มันหรือแม่โคพันธุ์บรำห์มัน ปัจจุบันได้รับควำม นิยมใช้ผสมพันธุ์เพื่อเป็นโคลูกผสมเพื่อขุนในภำคเหนือและภำคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นจำนวนมำก โคพันธุ์ตาก เป็นโคพันธุ์สังเครำะห์ระหว่ำงพันธุ์ชำร์โรเล่ส์กับพันธุ์บรำห์มัน โดยกรมปศุสัตว์ได้มอบหมำยให้ศูนย์วิจัย และบำรุงพันธุ์สัตว์ตำก ทำกำรคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ให้เป็นโคเนื้อพันธุ์ใหม่ที่โตเร็ว เนื้อนุ่ม เพื่อทดแทนกำร นำเข้ำพันธุ์โคและเนื้อโคคุณภำพดีจำกต่ำงประเทศ กำรสร้ำงพันธุ์ในฝูงปรับปรุงพันธุ์ โดยนำน้ำเชื้อโคพันธุ์ ชำร์โเล่ส์คุณภำพสูงจำกประเทศฝรั่งเศส ผสมกับแม่โคบรำห์มันพันธุ์แท้ ได้โคลูกผสมชั่วที่ 1 (พันธุ์ตำก 1) ที่มีเลือด 50%ชำร์โรเล่ส์ และ 50% บรำห์มัน แล้วผสมแม่โคเพศเมียชั่วที่ 1 ดังกล่ำวด้วยน้ำเชื้อหรือพ่อบรำห์มันพันธุ์แท้ได้ ลูกโคชั่วที่ 2 (พันธุ์ตำก 2) มีเลือด 25% ชำร์โรเล่ส์ และ 75% บรำห์มัน จำกนั้นผสมแม่โคเพศเมียชั่วที่ 2 ด้วย น้ำเชื้อโคพันธุ์ชำร์โรเล่ส์คุณภำพสูง ได้ลูกโคชั่วที่ 3 (พันธุ์ตำก) ซึ่งมีเลือด 62.5% ชำร์โรเล่ส์ และ 37.5% บรำห์มัน แล้วนำโคชั่วที่ 3 ผสมกัน คัดเลือกปรับปรุงพันธุ์ให้เป็นโคเนื้อพันธุ์ใหม่ เรียกว่ำ โคพันธุ์ตำก ข้อดี คือ กำรเติบโต เร็ว เนื้อนุ่ม เนื้อสันมีไขมันแทรก (marbling) ซำกมีขนำดใหญ่ที่สนองควำมต้องกำรของตลำดเนื้อโคคุณภำพดี เลี้ยงง่ำยหำกินเก่ง ไม่เลือกกินหญ้ำ ทนทำนต่อสภำพอำกำศร้อนได้ดีพอสมควร เหมำะที่จะนำมำผสมกับแม่โค พื้นเมืองโคบรำห์มันและลูกผสมบรำห์มันเพื่อนำลูกมำเลี้ยงเป็นโคขุนได้ โคสำวผสมพันธุ์ได้เร็ว แต่ข้อเสีย คือ กำร เลี้ยงต้องอำศัยกำรดูแลเอำใจใส่พอสมควร ไม่เหมำะที่จะนำไปปล่อยเลี้ยงในป่ำโดยไม่ดูแลเอำใจใส่ หำกเลี้ยงใน สภำพเลี้ยงปล่อยทุ่ง โคพันธุ์กาแพงแสน เป็นโคเนื้อที่ได้รับกำรปรับปรุงและสร้ำงขึ้นมำใหม่ โดยมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ วิทยำเขตกำแพงแสน เพื่อให้เหมำะสมกับสภำพแวดล้อมของประเทศไทยที่มีภูมิอำกำศร้อนชื้นและโรค พยำธิและแมลงชุกชุม สำหรับ มำตรฐำนของโคพันธุ์กำแพงแสน ได้มีกำรกำหนดและปรับปรุงครั้งสุดท้ำยเมื่อ ปี พ.ศ.2548 โคพันธุ์กำแพงแสน มี เลือดผสมระหว่ำงโคพันุชำร์ ธ์ โรเลส์ 50เปอร์เซ็นต์ พันุบรำห์ ธ์ มัน 25 เปอร์เซ็นต์ และพื้นเมืองไทย 25เปอร์เซ็นต์ มีสีและลักษณะประจำพันธุ์ คือ ลำตัวสีขำว สีครีมจนถึงสีเหลืองอ่อน มีเหนียงคอ และมีหนังหุ้มลึงคหย่อนยำน เล็กน้อย เป็นโคเนื้อขนำดปำนกลำง น้ำหนักโตเต็มที่ เพศผู้ 800 - 900 กิโลกรัม เพศเมีย 500 - 600 กิโลกรัม การเลี้ยงดแู ละการจดั การโคเนื้อในระยะต่างๆ กำรจัดกำรเลี้ยงดูโคเนื้อนั้น วิธีกำรจัดกำรเลี้ยงโคในแต่ละช่วงอำยุ เพศ ระยะกำรให้ผลผลิต นับว่ำมี ควำมสำคัญมำก และมีขั้นตอนกำรปฏิบัติที่ควำมแตกต่ำงกัน ผู้ที่จะเลี้ยงโคเนื้อจำเป็นจะต้องมีควำมรู้ควำมชำนำญ พอสมควรเพื่อให้กำรเลี้ยงโคเนื้อประสบควำมสำเร็จ มีวิธีกำรปฏิบัติและจัดกำรเลี้ยงโคในแต่ละช่วงอำยุ ดังนี้ การจัดการเลี้ยงดูลูกโค ทันทีที่ลูกโคคลอดออกมำผู้เลี้ยงควรให้ควำมช่วยเหลือโดยเช็ดตัวให้แห้งจัดกำรเอำน้ำเมือกบริเวณปำก และจมูกออกให้หมด บำงครั้งอำจมีน้ำเมือกและของเหลวค้ำงอยู่ในท่อทำงเดินหำยใจของลูกโค ซึ่งสำมำรถช่วยได้ โดยจับขำหลังยกลูกโคขึ้นมำให้หัวห้อยลง ในกรณีที่ลูกโคหำยใจไม่สะดวกอำจต้องช่วยกำรหำยใจด้วยกำรเป่ำปำก เมื่อลูกโคลุกขึ้นยืนได้ควรใช้ด้ำยผูกสำยสะดือให้ห่ำงจำกพื้นท้องประมำณ 3 ถึง 6 เซ็นติเมตร ใช้กรรไกรที่สะอำด ตัดแล้วใช้ยำทิงเจอร์ไอโอดีนชุบที่สำยสะดือ หำกไม่ตัดสำยสะดือที่ยำวจะเป็นช่องทำงให้ลูกโคติดเชื้อจำกพื้นดินทำ ให้ลูกโคมีโอกำสเป็นสะดืออักเสบสูง นอกจำกนี้ลูกโคมีโอกำสเหยียบสำยสะดือของตัวเอง อำจมีผลให้กล้ำมเนื้อภำ ในช่องท้องขำด มีโอกำสเป็นไส้เลื่อนได้ง่ำย ผู้เลี้ยงควรช่วยให้ลูกโคได้กินน้ำนมแม่ให้เร็วที่สุด เพรำะนมโค ระยะแรกที่เรียกว่ำน้ำเหลือง จะมีคุณค่ำทำงอำหำรสูง และภูมิคุ้มกันโรคจำกแม่ถ่ำยทอดมำสู่ลูก หำกลูกโคไม่สมำ รถกินนมแม่ได้เอง ผู้เลี้ยงควรรีดนมจำกแม่มำป้อนให้ลูกโคกินจนแข็งแรง จนกระทั่งสำมำรถดูดนมได้ด้วยตัวเอง สำหรับแม่และลูกโคที่คลอดใหม่ไม่ควรปล่อยให้ไปตำมฝูงเพื่อแทะเล็มหญ้ำไกลๆ ควรจัดหำอำหำรและน้ำดื่มกักไว้ แยกจำกฝูงต่ำงหำกจนกว่ำลูกโคจะแข็งแรงดีแล้วจึงปล่อยให้ไปตำมฝูงส่วนกำรปฏิบัตินอกเหนือจำกกำรเลี้ยงดูลูก โคอื่นๆ ควรทำดังนี้ 1. ติดเบอร์หูหรือทำเครื่องหมำยลูกโคโดยเร็วที่สุด ซึ่งมีประโยชน์ในกำรจัดทำพันธุ์ประวัติโค วันเดือนปี เกิด พ่อ แม่ พันธุ์ ระดับสำยพันธุ์ลูกโค เป็นต้น 2. เมื่อลูกโคอำยุ 3 สัปดำห์ ควรถ่ำยพยำธิตัวกลม และถ่ำยซ้ำอีกเมื่ออำยุ 6 สัปดำห์ 3. ฉีดวัคซีนป้องกันโรคแท้งติดต่อ (หรือบรูเซลโลซีส) ให้แก่เฉพำะลูกโคเพศเมีย อำยุ 3 ถึง 8 เดือน การหย่านมลูกโคและการเลี้ยงดูโครุ่น เกษตรกรโดยทั่วไปมักจะปล่อยให้ลูกโคอยู่กับแม่โคจนกระทั่งแม่โคคลอดลูกตัวใหม่ ซึ่งจะมีผลเสียทำให้ แม่โคขณะอุ้มท้องใกล้คลอดมีสุขภำพไม่สมบูรณ์ เพรำะต้องกินอำหำรเพื่อเลี้ยงทั้งลูกโคที่อยู่ในท้องและลูกโคตัว เดิมด้วย ดังนั้นจึงควรหย่ำนมลูกโคเมื่ออำยุประมำณ 6 เดือน ถึง 7 เดือนแต่ทั้งนี้ให้คำนึงถึงสุขภำพของลูกโคด้วย กำรหย่ำนมลูกโคได้เร็วเท่ำใดก็จะทำให้แม่โคมีโอกำสฟื้นฟูสุขภำพได้เร็วเท่ำนั้น ลูกโคจะเริ่มหัดกินหญ้ำและอำหำร เมื่ออำยุประมำณ 2-3 เดือน ในช่วงนี้เจ้ำของควรเริ่มหัดให้กินอำหำรผสมด้วย เนื่องจำกหลังจำกคลอดแล้ว3 เดือน แม่โคจะเริ่มผลิตน้ำนมเพื่อเลี้ยงลูกโคลดลงเรื่อยๆ ในขณะที่ลูกโคเจริญเติบโตขึ้นทุกวัน จึงจำเป็นต้องหำอำหำรอื่น มำทดแทน ดังนั้นหำกหัดให้ลูกโคกินหญ้ำและอำหำรได้เร็วลูกโคก็จะเจริญเติบโตได้เต็มที่ หำกลูกโคโตเร็วก็ สำมำรถหย่ำนมลูกโคได้เมื่ออำยุประมำณ 5 เดือน จะมีผลให้แม่โคมีสุขภำพไม่ทรุดโทรมสำหรับลูกโคที่ยังกินหญ้ำ และอำหำรไม่เป็น กำรแยกหย่ำนมจะเป็นระยะเวลำที่ต้องระมัดระวังเป็นอย่ำงมำกเพรำะจะทำให้ลูกโคชะงักกำร เจริญเติบโตไประยะหนึ่ง ควรมีหญ้ำและอำหำรผสมคุณภำพดีไว้ให้กินเต็มที่หำกหย่ำนมลูกโคแล้วแต่ไม่มีหญ้ำและ อำหำรคุณภำพดีให้ลูกโคกินก็ยังไม่ควรหย่ำ และหำกลูกโคยังไม่สมบูรณ์พอก็ให้อยู่กับแม่ไปก่อนจนถึงอำยุ 8 เดือน แต่ก็ทำให้แม่โคมีสุขภำพทรุดโทรมมำก มีผลทำให้เมื่อคลอดลูกตัวใหม่แล้วจะกลับเป็นสัดช้ำลงระยะเวลำกำรให้ลูก ตัวต่อ ๆ ไปจะห่ำงขึ้น ดังนั้นควรหัดให้ลูกโคกินอำหำรเร็วขึ้นจะดีกว่ำ ในกรณีที่แม่โคผอมมำก อำจแยกหย่ำนมลูก โคเมื่อขนำดเล็กๆ ก็ได้ ลูกโคอำยุต่ำกว่ำ 5 สัปดำห์ จะต้องให้อำหำรนมหรืออำหำรแทนนมแบบเดียวกับกำรเลี้ยง ลูกโคนม ควรให้ลูกโคกินอำหำรหยำบพวกหญ้ำไม่เกิน 15% ของน้ำหนักแห้งของอำหำรลู กโค อำหำรหยำบต้องมี คุณภำพ กำรเลี้ยงลูกโคขนำดเล็กดังกล่ำวต้องใช้อำหำรคุณภำพดี ซึ่งมีรำคำค่อนข้ำงแพง ดังนั้นหำกไม่จำเป็นก็ไม่ ควรหย่ำนมลูกโคเร็วเกินไปส่วนโครุ่นสำวหรือโครุ่นเพศผู้ ที่ไม่ถูกคัดเลือกเก็บไว้ทำพันธุ์ในฝูง โครุ่นที่หย่ำนมแล้วที่ เหลือ เจ้ำของอำจขำยออกไปจำกฝูงหรืออำจเลี้ยงไว้ต่อไป เพื่อขำยเป็นโคเนื้อส่งพ่อค้ำชำแหละหรือเป็นโคเพื่อใช้ ทำพันธุ์ วิธีกำรเลี้ยงขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และผลตอบแทนทำงเศรษฐกิจที่เจ้ำของจะได้รับ เช่น เลี้ยงปล่อยตำม ธรรมชำติร่วมกับเสริมอำหำรข้นบ้ำงเพื่อจำหน่ำยให้เกษตรกรรำยอื่นต่อไป หรือ อำจเลี้ยงเป็นโคขุนเพื่อผลิตเนื้อ ดังรำยละเอียดที่จะแนะนำต่อไป การเลี้ยงดูโคสาว โคสำวหำกผสมพันธุ์เร็วเท่ำใดก็จะให้ลูกได้เร็วเท่ำนั้น น้ำหนักแม่โคเป็นปัจจัยสำคัญที่พิจำรณำว่ำควรผสม ได้หรือไม่ น้ำหนักที่ควรผสมพันธุ์คือ260 กก. ขึ้นไป ซึ่งหำกเลี้ยงดูดีโคอำยุ 15 เดือน ควรมีน้ำหนักได้ 260 กก. หำกผสมเมอื่ อำยุ 15 เดือน แม่โคจะคลอดลูกตัวแรกเมอื่ อำยุประมำณ 24 เดือน หรือ 2 ปี กำรผสมในระยะเวลำ ดังกล่ำวไม่มีผลเสียต่อกำรผสมติดหรือกำรให้ลูกในท้องต่อๆ มำ แม้ว่ำแม่โคที่ให้ลูกเร็วเมื่ออำยุ 2 ปี จะให้ลูกเมื่อ หย่ำนมมีน้ำหนักน้อยกว่ำแม่โคที่ให้ลูกตัวแรกเมื่ออำยุ 3 ปี แต่น้ำหนักต่ำงกันไม่มำกนัก เมื่อเทียบที่อำยุ 3 ปี เท่ำกันแล้ว แม่โคตัวแรกย่อมให้ลูกมำกกว่ำและให้ผลตอบแทนดีกว่ำอำยุเมื่อผสมพันธุ์ดังกล่ำวขึ้นอยู่กับพันธุ์โค ด้วย โคพันธุ์ที่มีขนำดใหญ่ในตระกูล โคอินเดีย เช่น โคบรำห์มัน โคฮินดูบรำซิล ส่วนใหญ่จะเป็นสัดช้ำ ดังนั้นกำร คัดเลือกโคเก็บไว้ทำพันธุ์ในฝูงโคของเกษตรกร ควรคัดเลือกโคที่ผสมพันธุ์ได้เร็ว และผสมติดง่ำยด้วย ไม่ควร คำนึงถึงแต่ขนำดใหญ่เพียงอย่ำงเดียว นอกจำกนี้แม่โคที่ขนำดใหญ่ต้องใช้อำหำรเลี้ยงตัวเองมำกกว่ำแม่โคขนำด เล็กกว่ำ หำกสำมำรถผลิตลูกโคเมื่อเลี้ยงส่งโรงฆ่ำแล้วมีน้ำหนักซำกตำมที่ตลำดต้องกำรเช่นเดียวกันแล้ว ควรเลือก พันธุ์ที่แม่โคมีขนำดเล็กกว่ำกำรที่จะเลี้ยงโคสำวอำยุ 15 เดือน ให้ได้น้ำหนัก 260 กก. นั้น ควรเลี้ยงลูกโคเมื่อหย่ำ นมให้ได้น้ำหนักไม่ต่ำกว่ำ 160 กก. และต้องเลี้ยงโคใหเุ ติบโตได้เฉลี่ยวันละไม่ตุำ กว่ำ 420 กรัม จึงจะได้น้ำหนัก 260 กก. เมอื่ อำยุ 15 เดือน ดังนั้นจึงควรให้อำหำรข้นเสริม โดยเฉพำะในฤดูแล้ง แต่หำกมีหญ้ำสดหรือหญ้ำแห้ง คุณภำพดีให้กินตลอดปีก็ไม่จำเป็นตอ้ งใหอ้ ำหำรข้นเสริมก็ได้ สำหรับกำรที่จะคัดโครุ่นสำวในฝูงเพื่อใช้เป็นแม่ พันธุ์ต่อไปนั้น ควรเลือกโคเพศเมียที่มีลักษณะ ดังนี้ 1. เมื่อหย่านม ลูกโคที่มีน้ำหนักหย่ำนมต่ำควรคัดทิ้ง เพรำะแสดงว่ำแม่ของโคตัวนี้มีควำมสำมำรถในกำร ให้นมต่ำ ลักษณะนี้ สำมำรถถ่ำยทอดมำยังลูกได้ เช่นเดียวกับ ลูกโคที่มีน้ำหนักมำกเกินไปก็ไม่ควรใช้ทำพันธุ์เพรำะ จะมีกำรสะสมไขมันบริเวณเต้ำนมมำกเกิน ซึ่งจะมีผลในกำรทำลำยเนื้อเยื่อในกำรสร้ำงน้ำนม ดังนั้นเมื่อหย่ำนม ควรเลือกโครุ่นสำวที่มีขนำดปำนกลำงที่สำมำรถจะโตพอที่จะเลี้ยงให้ได้น้ำหนักตำมอำยุในระยะที่ควรผสมพันธุ์ได้ ตำมที่กล่ำวข้ำงต้น 2. ก่อนระยะผสมพันธุ์ โคสำวที่น้ำหนักน้อยกว่ำ 260 กก. ไม่ควรใช้ผสมพันธุ์เพรำะจะมีโอกำสผสมติด น้อย โคสำวที่ควรเป็นแม่พันธุ์ควรมีลักษณะควำมเป็นแม่โคเพศเมีย เช่น มีหน้ำยำวพอสมควร มีลำคอยำวได้ สัดส่วนต่อเนื่องไปยังไหล่ ด้ำนข้ำงดูเรียบ หนังหนำและนุ่ม ลักษณะเพศเมียนี้แสดงว่ำจะเป็นแม่โคที่ผสมติดง่ำย และให้นมเพื่อเลี้ยงลูกได้มำก โคที่เปรียวควรคัดทิ้ง สำหรับแม่โคที่ดีนั้น ควรมีข้อเท้ำและขำแข็งแรง แต่ลักษณะนี้ จะเห็นได้ชัดในแม่โคที่อำยุมำกแล้วเท่ำนั้น ในโคสำวสำมำรถดูได้เพียงแต่ว่ำโคสำมำรถเดินได้คล่อง ข้อต่อต่ำงๆ ของส่วนขำแข็งแรง ข้อเท้ำสั้น กีบทั้งสองข้ำงเท่ำกันและชี้ไปข้ำงหน้ำไม่บิดหรือโค้งงอ ลักษณะเท้ำที่ผิดปกติจะ ถ่ำยทอดไปยังลูกหลำนได้ 3. หลังการผสมพันธุ์ โคสำวที่ผสมติดยำกควรคัดออกจำกฝูงทันที รวมทั้งโคสำวที่ตั้งท้องแล้ว แต่มีปัญหำ ด้ำนกำรคลอดและกำรเลี้ยงลูก การเลี้ยงดูแม่โคและลูก กำรเลี้ยงดูแม่โคให้มีสุขภำพดี เป็นปัจจัยสำคัญต่อกำรผสมติดและทำให้แม่โคให้ลูกสม่ำเสมอทุกปีนั้นกำร วำงแผนกำรให้อำหำรแม่โคให้ตรงตำมโภชนะที่ต้องกำรในระยะต่ำงๆ ย่อมแตกต่ำงกันไป ซึ่งกำรจัดกำรเลี้ยงดูแม่ โค สำมำรถจำแนกตำมระยะต่ำงๆ ที่ให้ผลผลิต ดังนี้ ระยะที่ 1 กำรเลี้ยงดูแม่โคจำกคลอดลูกถึง 3 เดือนหลังคลอด ระยะนี้เป็นระยะก่อนผสมพันธุ์ เพื่อแม่โค จะได้ผลิตลูกโคตัวต่อไป ปกติแม่โคที่มีควำมสมบูรณ์พันธุ์สูงนั้น จะเริ่มแสดงอำกำรเป็นสัดและผสมติดหลังคลอด ลูกแล้ว จะกลับเป็นสัดอีกภำยใน 30 - 50 วัน แต่ควรผสมหลัง 60 วัน โดยเฉลี่ยประมำณ 60 – 90 วัน กำรให้ อำหำรแม่โคควรให้อำหำรหยำบเป็นหลัก อำจเป็นหญ้ำสดหรือหญ้ำหมัก ประมำณ 30 – 40 กก. ร่วมกับเสริม อำหำรข้นโปรตีน 12 – 14 เปอร์เซ็นต์ ในปริมำณ 1 – 2 กก. ซึ่งกำรเลี้ยงดูและกำรจัดกำรแม่โค ควรเน้นกำรกำร จัดกำรไม่ให้แม่โคผอม เพรำะจะมีผลต่อกำรผสมติด หลังจำกแม่โคได้รับกำรผสมพันธุ์จนติดแล้วตั้งท้อง ซึ่งเฉลี่ย ประมำณ 282 วัน ซึ่งในโคพื้นเมืองไทย จะมีระยะกำรอุ้มท้องระหว่ำง 270 – 275 วัน โคลูกผสมบรำห์มัน หรือโค ลูกผสมอื่นๆ มีระยะกำรอุ้มท้องระหว่ำง 280 – 285 วัน สำหรับโคพันธุ์บรำห์มันซึ่งเป็นโคพันธุ์หนักในตระกูลโค อินเดีย (Bos indicus) จะมีระยะอุ้มท้องระหว่ำง 290 – 295 วัน ดังนั้นผู้เลี้ยงควรจดบันทึกวันที่ผสม แล้วอีก ประมำณ 21 วันต่อไปต้องคอยสังเกตดูว่ำแม่โคกลับเป็นสัดอีกหรือไม่ หำกกลับเป็นสัดแสดงว่ำผสมไม่ติดต้องผสม ใหม่ หำกไม่กลับเป็นสัดแสดงว่ำผสมติดแล้ว แต่อีกทุกๆ 21 วันต่อไป ควรคอยสังเกตอีกเพื่อให้เกิดควำมมั่นใจมำก ขึ้น ควรมีกำรตรวจท้องเพื่อดูว่ำแม่โคได้รับกำรผสมติดจนตั้งท้องจริ งหรือไม่นั้น สำมำรถทำได้โดยกำรคลำตรวจดู มดลูกและรังไข่ผ่ำนทำงทวำรหนักตั้งแต่แม่โคตั้งท้องได้ 2 – 3 เดือน ขึ้นไป โดยผู้ที่มีควำมสำมำรถและมี ประสบกำรณ์เป็นผู้ตรวจให้เท่ำนั้น ในปัจจุบันอำจใช้วิธีตรวจหำระดับฮอร์โมนในเลือดหรือในน้ำนมก็สำมำรถบอก ได้ว่ำตั้งท้องหรือไม่ แต่วิธีนี้ต้องอำศัยห้องปฏิบัติกำรในกำรตรวจ จึงยังไม่เหมำะสมในกำรนำไปใช้กับสภำพกำร เลี้ยงทั่วไป แม่โคที่ไม่ท้องควรคัดออกหรือจำหน่ำย ควรเก็บโคสำวที่ผสมติดเร็วเลี้ยงทดแทนในฝูง ระยะที่ 2 กำรเลี้ยงแม่โคระยะตั้งท้อง 4 - 6 เดือน เป็นระยะที่ลูกโคโตเต็มที่แล้วและเตรียมตัวหย่ำนม หำกลูกโคกินหญ้ำและอำหำรได้เก่งแล้ว แม่โคก็ต้องกำรอำหำรเพียงเพื่อบำรุงร่ำงกำยเท่ำนั้น ระยะนี้ควำมต้องกำร อำหำรเพื่อเลี้ยงลูกในท้องยังน้อยอยู่ แม่โคจึงต้องกำรอำหำรน้อยกว่ำระยะอื่น สำมำรถประหยัดค่ำใช้จ่ำยในกำร เลี้ยงโดยให้อำหำรคุณภำพต่ำได้ ถ้ำให้อำหำรคุณภำพดีอำจทำให้แม่โคอ้วนเกินไป แต่ก็ควรระวังอย่ำให้แม่โคผอม ควรมีไขมันสะสมอยู่บ้ำง นอกจำกมีหญ้ำไม่เพียงพอ ก็ใช้ฟำงข้ำวเสริมด้วยรำหยำบและอำหำรข้น อำหำรข้นที่ เสริม อำจปรับใช้ตำมวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นและให้มีรำคำถูกที่สุดเพื่อประหยัดค่ำใช้จ่ำย ระยะที่ 3 กำรเลี้ยงแม่โคระยะ 90 วัน ก่อนคลอด เป็นระยะที่สำคัญอีกระยะหนึ่งของแม่โค เพรำะเป็น ระยะที่ลูกในท้องเจริญเติบโตถึง 70 – 80 เปอร์เซ็นต์ และแม่โคเตรียมตัวให้นมด้วย ถ้ำให้อำหำรคุณภำพไม่ดี แม่ โคจะสูญเสียน้ำหนัก ซึ่งจะทำให้กำรกลับเป็นสัดหลังคลอดช้ำลง มีผลทำให้ไม่ได้ลูกปีละตัว ระยะนี้ควรให้แม่โคมี น้ำหนักเพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยน้ำหนักที่จะสูญเสียเมื่อคลอด โดยเฉพำะโคสำวเป็นสิ่งจำเป็นมำก ส่วนกำรให้อำหำร แม่ โคท้องใกล้คลอดจะกินอำหำรน้อยกว่ำเมื่อไม่ท้อง 12 – 14 เปอร์เซ็นต์ แต่กำรกินอำหำรจะเพิ่มขึ้นอย่ำงรวดเร็ว หลังคลอด ดังนั้นระยะนี้จึงจำเป็นต้องให้อำหำรคุณภำพดี หรือหำกจำเป็นต้องให้อำหำรเสริมเพื่อชดเชยจำนวน อำหำรที่แม่โคกินน้อยลง โดยเฉพำะแม่โคอุ้มท้องและเลี้ยงลูกก่อนหย่ำนม ถ้ำให้อำหำรพลังงำนไม่เพียงพอจะมีผล ทำให้อัตรำกำรผสมติดตำ่ อัตรำกำรตำยของลูกโคเมื่อคลอดและหย่ำนมสูง น้ำหนักลูกโคเมื่อคลอดและหย่ำนมต่ำ ดังนั้น ควรแยกเลี้ยงดูต่ำงหำก ให้โคได้กินอำหำรคุณภำพดีและทำให้แม่โคฟื้นตัวหลังคลอดได้เร็ว สำหรับกำร คลอดของแม่โค ก่อนคลอด 1 สัปดำห์ ควรแยกแม่โคให้อยู่ในคอกที่สะอำด มีฟำงหรือหญ้ำแห้งรอง หรือให้อยู่ใน แปลงหญ้ำที่สะอำดสำมำรถดูแลได้ง่ำย ปกติแม่โคจะตั้งท้องตำมที่ได้กล่ำวถึงมำแล้วในกำรเลี้ยงโคในระยะที่ 1 ถ้ำ เลยกำหนดคลอดแล้ว 10 วัน และแม่โคยังไม่คลอดต้องสังเกตและดูแลอย่ำงใกล้ชิดลูกโคที่คลอดปกติจะเอำ เท้ำหน้ำโผล่หลุดออกมำก่อน แล้วตำมด้วยจมูก ปำก หัว ซึ่งอยู่ระหว่ำงขำหน้ำ 2 ขำ ที่โผล่ออกมำในท่ำพุ่งหลำว กำรคลอดท่ำอื่นนอกจำกนี้เป็นกำรคลอดที่ผิดปกติอำจต้องให้ควำมช่วยเหลือ ควรให้เจ้ำหน้ำที่ผู้มีควำมชำนำญ เป็นผู้ดำเนินกำร แม่โคส่วนใหญ่ไม่จำเป็นกำรช่วยในกำรคลอด ควรอยู่ห่ำงๆ ไม่ควรรบกวนแม่โค แม่โคควรคลอด ลูกออกมำภำยใน 2 ชั่วโมงหลังจำกที่ถุงน้ำคร่ำปรำกฏออกมำ หำกช้ำกว่ำนี้ควรให้กำรช่วยเหลือ หำกไม่คลอด ภำยใน4 ชั่วโมง ลูกจะตำย หลังจำกคลอดลูก 8 – 12 ชั่วโมง แต่ถ้ำรกยังไม่หลุดออกมำแสดงว่ำรกค้ำง ต้องให้ เจ้ำหน้ำที่ผู้มีควำมชำนำญมำล้วงออกและรักษำต่อไป การเลี้ยงโครุ่นแบบปล่อยตามธรรมชาติ ในกรณีที่เจ้ำของไม่ต้องกำรรีบขำยอำจเลี้ยงโครุ่นโดยปล่อยเลี้ยงในแปลงหญ้ำธรรมชำติ ในฤดูฝนโคอำจมี หญ้ำกินเพียงพอตำมที่ร่ำงกำยโคต้องกำรทำให้โคเจริญเติบโต ในช่วงฤดูแล้งซึ่งขำดแคลนหญ้ำ โคจะชะงักกำร เจริญเติบโต แต่พอถึงฤดูฝนหำกได้กินหญ้ำเต็มที่แล้วโคจะเจริญเติบโตเร็วกว่ำปกติ เพื่อชดเชยช่วงที่อดอยำก จน เกือบมีอัตรำกำรเจริญเติบโตเกือบเท่ำโคที่เลี้ยงอย่ำงอุดมสมบูรณ์มำตลอด จึงอำจไม่จำเป็นต้องให้อำหำรเสริม โค พวกนี้จะโตช้ำแต่ก็ลงทุนน้อยกว่ำ ยกตัวอย่ำงเช่น หำกเริ่มต้นเลี้ยงโครุ่นอำยุ 1 ปีที่น้ำหนัก 200 กิโลกรัม ใน ประเทศไทย ฤดูฝนที่มีหญ้ำอุดมสมบูรณ์ตั้งแต่เดือนพฤษภำคมถึงเดือนตุลำคม เป็นระยะเวลำ 6 เดือน หรือ ประมำณ 180 วัน โคที่กินหญ้ำธรรมชำติอย่ำงเดียวจะโตได้เต็มที่วันละประมำณ 400 กรัม หรือเฉลี่ยตลอดฤดูโต วันละ 300 กรัม ในระยะเวลำ 6 เดือน ดังกล่ำว จะโต 300 กรัม x 180 วัน = 54,000 กรัม หรือ 54 กิโลกรัม หรือโคอำยุ 1 ปีครึ่ง จะมีน้ำหนัก 200 + 54 = 254 กิโลกรัม ช่วงเดือนพฤศจิกำยนถึงกุมภำพันธ์ เป็นเวลำ 4 เดือน หรือ 120 วัน พอมีหญ้ำหัวไร่ปลำยนำกินอยู่บ้ำง โคอำจโตได้วันละประมำณ 150 กรัม ระยะเวลำ 4 เดือน จะโต 150 กรัม x 120 วัน = 18,000 กรัมหรือ 18 กิโลกรัม ระยะเดือนมีนำคมถึงเมษำยน โคจะขำด อำหำรทำให้ไม่เจริญเติบโต หำกคิดว่ำช่วงนี้น้ำหนักไม่เพิ่มขึ้น (ควำมจริงน้ำหนักโคจะลดลงจำกเดิมอีก) ระยะเวลำ 1 ปี โคจะมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น 54 + 18 = 72 กิโลกรัมหรือโคอำยุ 2 ปี ก็จะได้น้ำหนัก 200 + 75 = 275 กิโลกรัม หำกต้องกำรเลี้ยงโคส่งตลำดที่น้ำหนัก 350 กก. ต้องเลี้ยงโคจนถึงอำยุไม่ต่ำกว่ำ 3 ปี กำรจำหน่ำยโคที่เลี้ยงด้วยวิธี นี้จะได้กำไรมำกควรจำหน่ำยหลังจำกสิ้นสุดฤดูฝนใหม่ๆ เพรำะโคยังมีน้ำหนักดีอยู่ แต่หำกจำหน่ำยในฤดูแล้งโค อำจมีน้ำหนักลดลงสำหรับกำรเลี้ยงโครุ่นเพื่อส่งโรงฆ่ำอำจไม่มีปัญหำ แต่หำกเลี้ยงโคสำวเพื่อเตรียมเป็นแม่โคระยะ ที่โคชะงักกำรเติบโตจะมีผลให้อวัยวะเกี่ยวกับกำรสืบพันธุ์ไม่สมบูรณ์เท่ำที่ควร อำจมีผลทำให้โคเป็นสัดช้ำเริ่มผสม พันธุ์ได้ช้ำ ปกติโคสำวควรเริ่มผสมพันธุ์เมื่ออำยุประมำณ 15 เดือน น้ำหนักประมำณ 260 กิโลกรัม ในกรณีนี้จะ ผสมพันธุ์ได้เมื่ออำยุ 2 ปี ไปแล้วทำให้ได้ลูกช้ำตำมไปด้วย การจัดการและเลี้ยงดูโคพ่อพันธุ์ สำหรับลูกโคตัวผู้ที่ควรจะเลือกเพื่อใช้เป็นโคพ่อพันธุ์นั้นควรเลือกจำกโคที่มีลักษณะ ดังนี้ 1. เมื่อหย่านม ไม่ควรเลือกลูกโคที่แคระแกร็น หรือเกิดจำกแม่โคที่มีปัญหำในกำรเลี้ยงดูจนต้องแยกลูกโค มำเลี้ยงดูต่ำงหำก เพรำะถึงแม้ลูกโคจะโตเร็วก็โตเนื่องจำกกำรเลี้ยงดูเป็นพิเศษทำให้ได้เปรียบลูกโคตัวอื่นแม้ว่ำลูก โคตัวอื่นจะมีพันธุกรรมดีกว่ำ 2. หลังจากหย่านม ควรตั้งเป้ำหมำยว่ำลูกโคหลังจำกหย่ำนมแล้วจนถึงโตที่จะเป็นพ่อพันธุ์ได้ ควรมีอัตรำ กำรเจริญเติบโต เฉลี่ยวันละ 1 กิโลกรัม แต่ไม่ใช่โคที่อ้วน เพรำะพ่อโคที่อ้วนเกินไปจะมีปัญหำในกำรขึ้นผสมพันธุ์ โดยเฉพำะเมื่ออำยุ 2 ถึง 3 ปีขึ้นไป จะมีปัญหำเกี่ยวกับข้อขำ จึงควรดูลักษณะอื่น ประกอบด้วย โดยเฉพำกำร พัฒนำของลูกอัณฑะระหว่ำงอำยุ 9 เดือนถึง 15 เดือน ถ้ำอ้วนเกินไปจะมีไขมันสะสมที่บริเวณลูกอัณฑะทำให้ ลูกอัณฑะไม่เจริญตำมปกติ 3. การเลือกโคหนุ่มเป็นโคพ่อพันธุ์ ในกำรเลือกซื้อโคพ่อพันธุ์ หรือลูกโคในฝูงที่จะเป็นพ่อพันธุ์ ควรใช้ หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1.) เกิดจำกพ่อแม่พันธุ์ที่มีลักษณะดี ให้ลูกดกหรือให้ลูกทุกปี 2.) มีอำยุระหว่ำง 3 ปี ถึง 10 ปี หำกจำเป็นใช้พ่อพันธุ์เร่งด่วน อำจใช้พ่อโคหนุ่มอำยุ 2 ปีขึ้นไป 3.) มีสัดส่วนร่ำงกำย โดยมีควำมสูงเมื่อวัดที่ส่วนสูงขำหลัง 130 เซนติเมตร ขึ้นไป และมีควำมยำวรอบอก เมื่อวัดตรงซอกขำหน้ำไม่ต่ำกว่ำ 195 เซนติเมตร 4.) มีอวัยวะเพศสมบูรณ์ ไม่ผิดปกติ 5.) เชื่อง ไม่ดุร้ำย 6.) มีลักษณะตรงตำมแนวพันธุ์ และโครงร่ำงของร่ำงกำยแข็งแรง โดยเฉพำะในส่วนของขำหน้ำและ ขำหลัง ลูกอัณฑะควรมีขนำดใหญ่ ทั้ง 2 ข้ำงควรมีขนำดเท่ำกันหรือใกล้เคียงกัน เมื่อดูลักษณะภำยนอก พ่อโค ควรจะมีหน้ำตำเป็นโคตัวผู้ ได้แก่ หน้ำค่อนข้ำงสั้นกว่ำตัวเมีย ปำกและกรำมใหญ่กว่ำโคเพศเมีย หน้ำผำกกว้ำง สันจมูกกว้ำง ใบหน้ำไม่มีส่วนผิดปกติ ขำหน้ำยืนได้มั่งคงดี ไม่โก่งออกหรือโค้งเข้ำหำกันขำหลังแข็งแรง เมื่อยืน ตำมปกติขำหลังจะเอียงทำมุมกับเส้นตั้งฉำกที่ ลำกจำกก้นกบห่ำงกันประมำณ 2-3 นิ้ว ขำที่ตรงเกินไปจะเป็น สำเหตุให้เกิดอำกำรบวมน้ำที่เหนือข้อเข่ำเพรำะต้องรับน้ำหนักมำก ข้อเท้ำสั้นและแข็งแรง กีบขนำดพอเหมำะไม่ ยำวเกินไป ทำมุมกับข้อเท้ำเล็กน้อย กีบกับข้อเท้ำที่ตรงเกินไปน้ำหนักตัวจะลงมำกจะทำให้เท้ำบวม แต่ถ้ำทำมุม กันมำกเกินไปจะทำให้กำรทรงตัวไม่ดีลักษณะของลูกอัณฑะเป็นสิ่งสำคัญอีกอย่ำงหนึ่งของโคพ่อพันธุ์ โดยโคที่มี ขนำดของลูกอัณฑะใหญ่จะผลิตน้ำเชื้อได้มำกทำให้มีโอกำสผสมติดได้ดี ลักษณะนี้ถ่ำยทอดไปยังลูกได้ ลูกที่เกิด จำกพ่อพันธุ์ที่มีขนำดลูกอัณฑะใหญ่จะผสมพันธุ์ได้เร็วกว่ำลูกที่เกิดจำกพ่อพันธุ์ขนำดเล็ก ขนำดของลูกอัณฑะวัด จำกขนำดเส้นรอบลูกอัณฑะ ใช้อุ้งมือข้ำงหนึ่งกำที่ข้ำงลูกอัณฑะแล้วบีบไล่ให้ลูกอัณฑะทั้งสองข้ำงมำอยู่ตอนปลำย สุดใช้สำยเทปวัด ซึ่งโคพันธุ์บรำห์มัน อำยุ2 ปี ควรมีเส้นรอบลูกอัณฑะยำวไม่ต่ำกว่ำ 28 เซนติเมตร และอำยุ 3 ปี ควรยำวไม่ต่ำกว่ำ 30 เซนติเมตรโคหนุ่มอำยุ 2 ปีขึ้นไป อำจสำมำรถใช้เป็นพ่อพันธุ์ได้หำกมีควำมแข็งแรงและ สมบูรณ์เพียงพอ อย่ำงไรก็ตำมควรใช้พ่อโคหนุ่มเฉพำะกับแม่โคที่ตัวเล็กไม่สำมำรถผสมกับพ่อโคตัวโตได้เท่ำนั้น ไม่ ควรให้พ่อโคได้ผสมพันธุ์กับลูกสำวหรือแม่โคที่เป็นพี่น้องกัน เพรำะจะเป็นกำรผสมแบบเลือดชิด จะทำให้ได้ลูกที่มี ลักษณะไม่ดี ดังนั้นควรเปลี่ยนพ่อโคทุกๆ 3 หรือ 4 ปีกำรให้อำหำรพ่อพันธุ์ ถ้ำมีพืชอำหำรสัตว์สมบูรณ์ดี ก็อำจไม่ จำเป็นจะต้องใช้อำหำรผสม เว้นแต่พ่อโคยังไม่เจริญเติบโตได้อย่ำงเต็มที่ (อำยุยังไม่เกิน 6 ปี) ควรจะให้อำหำรผสม 2 – 3 กิโลกรัมต่อวัน ทั้งนี้ ให้พิจำรณำจำกสภำพควำมสมบูรณ์ของโคด้วย โดยปกติพ่อโคที่มีน้ำหนัก 400 – 500 กิโลกรัม โดยพ่อโคพ่อโค 1 ตัว ควรได้รับหญ้ำสดวันละประมำณ 40 – 50 กก. หรือได้รับพืชตระกูลถั่ววันละ 15 – 20 กิโลกรัม หรือหญ้ำแห้งวันละประมำณ 12 กก. ควรให้อำหำรแร่ธำตุแก่พ่อโค โดยตั้งให้กินหรือเลียโดย อิสระในคอก ตลอดจนให้มีน้ำสะอำดที่จะให้โคกินได้เสมอจะช่วยให้กำรผสมติดดีขึ้นถ้ำจำเป็นต้องเลี้ยงในคอกที่มี เนื้อที่จำกัด (ขนำด 3 x 4 ตำรำงเมตร) หรือใต้ถุนบ้ำนควรรักษำพื้นคอกให้สะอำด หมั่นเอำมูลโคออก และหำฟำง รองพื้นเปลี่ยนให้บ่อยๆ และต้องจูงให้พ่อโคเดินออกกำลังกำยในช่วงเช้ำ (ระหว่ำงเวลำ 06.00 – 08.00 น.) ด้วย นอกจำกนี้ควรจัดหำน้ำสะอำดตั้งให้โคกินได้ตลอดเวลำ พ่อโคตัวหนึ่งจะกินน้ำวันละประมำณ 2 – 2.5 ปิ๊บ หรือ 40 – 50 ลิตร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภำพภูมิอำกำศและขนำดของโคพ่อพันธุ์ควรแปรงขนให้พ่อโค ตำมลำดับตัวหลังจำก เดินออกกำลังกำย จะทำให้พ่อโคสบำยและเชื่องกับผู้เลี้ยงมำกขึ้น และอย่ำเลี้ยงพ่อโคให้อ้วนเกินไป เพรำะพ่อโคที่ อ้วนมำกมักอุ้ยอ้ำยและผสมไม่เก่ง ควรให้พ่อโคเดินออกกำลังกำยเป็นประจำ ควรถ่ำยพยำธิและกำจัดพยำธิ ภำยนอกเป็นประจำ ตำมคำแนะนำของเจ้ำหน้ำที่กรมปศุสัตว์กำรนำพ่อโคเข้ำผสมพันธุ์ โดยกำรจูงเข้ำผสม ได้แก่ กำรจูงแม่โคมำให้พ่อโคผสม ผู้เลี้ยงจะต้องทำคอกพ่อโคไว้แยกต่ำงหำกจำกแม่โค เวลำแม่โคตัวใดเป็นสัดก็นำแม่โค ตัวนั้นไปขังรวมกับพ่อโคหรือจูงเข้ำไปหำพ่อโคคอยจนกว่ำพ่อโคจะผสมได้ 1-2 ครั้ง แล้วค่อยแยกแม่โคออกไป ในกรณีที่เป็นพ่อโคบรำห์มัน เวลำจูงแม่โคหรือโคสำวเข้ำไปผสมพันธุ์อย่ำให้มีคนไปยืนดูกำรผสมมำกนัก ปกติพ่อ โคค่อนข้ำงขี้อำย เวลำที่จะผสมพันธุ์ บำงทีอำจไม่ยอมผสมพันธุ์ก็ได้ ทำงที่ดีถ้ำจะดูมันผสมพันธุ์ก็ควรยืนห่ำงๆ และเงียบอย่ำให้มีเสียงอึกทึก จะได้ไม่มีปัญหำเรื่องกำรไม่ผสมพันธุ์ อย่ำงไรก็ตำมหำกแม่โคมีขนำดเล็ก แต่พ่อโคมี ขนำดใหญ่จะทำให้ผสมพันธุ์ลำบำก ควรจัดทำซองสำหรับผสมพันธุ์จะทำให้พ่อโคขึ้นผสมได้สะดวกและไม่เกิน อันตรำยกับแม่โคได้ การผสมพันธุ์โค เมื่อแม่โคคลอดลูกแล้วปกติจะกลับเป็นสัดอีกภำยใน 30 - 50 วัน แต่ควรผสมหลังคลอดลูกแล้ว 60 วัน กำรผสมภำยใน 40 วันหลังคลอด อำจมีปัญหำทำให้เกิดกำรติดเชื้อจำกแบคทีเรีย ควรผสมหลัง 60 วัน กำรที่จะ ให้แม่โคให้ลูกปีละตัว แม่โคจะต้องได้รับกำรผสมอีกภำยใน 80 วัน ถ้ำแม่โคผอมจะกลับเป็นสัดช้ำลงแม่โคจะผสม ติดได้จะต้องอยู่ในระยะที่เป็นสัดซึ่งเป็นระยะที่แม่โคจะแสดงอำกำรมีอำรมณ์ทำงเพศและพร้อมที่จะยอมให้ผสม แม่โคที่เป็นสัดจะมีอำกำรกระวนกระวำยกว่ำปกติ ไล่ขึ้นทับตัวอื่นหรือยอมให้ตัวอื่น ขึ้นทับอวัยวะเพศจะบวมกว่ำ ปกติ ผนังด้ำนในช่องคลอดเมื่อใช้เมือเปิดออกดูจะมีสีชมพูออกแดง ในช่วงต้นของกำรเป็นสัดอำจมีเมือกใสๆ ไหล ออกมำก ในช่วงหลังๆ น้ำเมือกจะข้นและเหนียวขึ้น แม่โคจะเป็นสัดอยู่นำนประมำณ 24 -36 ช.ม. ถ้ำไม่ได้รับกำร ผสมหรือผสมไม่ติด อีกประมำณ 20 - 22 วัน (เฉลี่ย 21 วัน) จะกลับเป็นสัดใหม่อีกช่วงกำรเป็นสัดได้แก่ระยะกำร เป็นสัดจำกครั้งก่อนถึงครั้งหลัง ช่วงกำรเป็นสัดของโคเฉลี่ย 21 วัน แต่แม่โคในฝูงประมำณ 84% จะมีช่วงกำรเป็น สัดในระยะ 18 - 24 วัน อีก 5% เป็นสัดก่อน 18 วัน และ 11% เป็นหลัง 24 วัน กำรเก็บประวัติกำรเป็นสัดของ แม่โค จึงเป็นสิ่งสำคัญในกำรช่วยสังเกตกำรเป็นสัดของแม่โคที่ใช้กำรผสมเทียมและกำรจูงผสม วิธีการผสมพันธุ์ ท่นี ิยมในประเทศไทย มีอยู่ 3 วิธี คือ 1. การปล่อยให้พ่อพันธุ์คุมฝูง เป็นกำรปล่อยพ่อพันธุ์ให้คุมฝูงแม่โคและให้มีกำรผสมพันธุ์ ตำมธรรมชำติซึ่งมีข้อดีคือ ผู้เลี้ยง ไม่ต้องคอยสังเกตกำรเป็นสัดของแม่พันธุ์ พ่อพันธุ์จะทรำบและผสมเอง แต่มีข้อเสียคือ ถ้ำแม่พันธุ์เป็นสัดหลำยตัว ในเวลำใกล้เคียงกัน จะทำให้พ่อพันธุ์มีร่ำงกำยทรุดโทรม วิธีแก้ไข โดยขังพ่อพันธุ์ไว้เมื่อปล่อยแม่พันธุ์ออกไปเลี้ยง ในแปลงหญ้ำ แล้วนำพ่อพันธุ์เข้ำผสมเมื่อฝูงแม่พันธุ์กลับเข้ำคอก ในพ่อโคอำยุ 3 ปีขึ้นไป ควรใช้คุมฝูงแม่โค ประมำณ 20 - 30 แม่/พ่อโค 1 ตัว แต่ในพ่อโคอำยุ 2 ปีถึง 2 ปีครึ่ง ควรใช้คุมฝูงแม่โคประมำณ 12 - 25 ตัว/ พ่อโค 1 ตัว ในทุกๆ วันที่ปล่อยแม่โคออกไปในทุ่งหญ้ำ ควรขังพ่อโคไว้ในคอกพร้อมทั้งหญ้ำและน้ำสะอำดอย่ำง เพียงพอ มีร่มเงำให้พ่อโค พ่อโคจะมีเวลำอยู่กับแม่โคและผสมกับแม่โคที่เป็นสัดในช่วงเช้ำ เย็น และกลำงคืน แต่ ทั้งนี้ จะต้องไม่มีพ่อโคตัวอื่นอยู่ในทุ่งหญ้ำด้วย มิฉะนั้นจะถูกแอบผสมก่อน กำรขังพ่อโคไว้ดังกล่ำวเพื่อให้พ่อโคมี สุขภำพสมบูรณ์แข็งแรง ซึ่งจะช่วยให้ประสิทธิภำพกำรผสมพันธุ์สูงขึ้น พร้อมที่จะผสมกับแม่โคได้เสมอ และอำยุ กำรใช้งำนของพ่อโคจะยำวนำนขึ้น 2. การจูงผสม เป็นกำรผสมโดยจูงพ่อพันธุ์มำผสมกับแม่พันธุ์หรือจูงแม่พันธุ์มำผสมกับพ่อพันธุ์ กำรผสมโดยวิธีนี้ ควรแยกพ่อพันธุ์ออกเลี้ยงต่ำงหำก เพรำะจะทำให้พ่อพันธุ์มีสุขภำพสมบูรณ์ดี และพ่อพันธุ์สำมำรถผสมกับแม่พันธุ์ ได้จำนวนมำกกว่ำกำรใช้คุมฝูง แต่มีข้อเสียคือผู้เลี้ยงต้องคอยสั งเกตกำรเป็นสัดเองปกติพ่อโคสำมำรถใช้ผสมได้ สัปดำห์ละ 5 ครั้ง หำกมีกำรเลี้ยงดูที่ดีเกษตรกรรำยย่อยเลี้ยงแม่โครำยละประมำณ 5 - 10 แม่ กำรที่จะเลี้ยง พ่อพันธุ์ไว้ใช้คุมฝูงอำจะไม่คุ้มกับกำรลงทุน เพรำะพ่อโค 1 ตัวสำมำรถใช้คุมฝูงได้ 25 - 50 ตัว ดังที่กล่ำวมำแล้ว หำกอยู่นอกเขตบริกำรผสมเทียม จึงควรรวมตัวกันเป็นกลุ่มแล้วจัดซื้อหรือจัดหำพ่อพันธุ์มำประจำกลุ่มเมื่อแม่โค เป็นสัดจึงนำแม่โคมำรับกำรผสมจำกพ่อโค เจ้ำของแม่โคอำจต้องเสียค่ำบริกำรผสมบ้ำง เพรำะผู้เลี้ยงพ่อพันธุ์ก็มี ค่ำใช้จ่ำยในกำรเลี้ยงดูพ่อพันธุ์แม่โคที่จะผสมกับ พ่อโคจะต้องปรำศจำกโรคแท้งติดต่อ (หรือโรคบรูเซลโลซีส ) ดังนั้น พ่อโคและแม่โคของสมำชิกกลุ่มทุกตัวจะต้องได้รับกำรตรวจโรคและปลอดโรคแท้งติดต่อ เพรำะหำก พ่อพันธุ์เป็นโรคแล้วจะแพร่โรคให้แม่โคทุกตัวที่ได้รับกำรผสมด้วย 3. การผสมเทียม เป็นวิธีกำรผสมที่นำน้ำเชื้อพ่อพันธุ์มำผสมกับแม่พันธุ์ที่เป็นสัด โดยผู้ที่ทำกำรผสมเทียมจะสอด หลอดฉีดน้ำเชื้อเข้ำไปในอวัยวะเพศของแม่โคที่เป็นสัด ปกติจะสอดหลอดผ่ำนคอมดลูก (cervix) เข้ำไปปล่อย น้ำเชื้อในมดลูกของแม่โค การผสมเทียมมีข้อดี คือ 1) ไม่ต้องเสียค่ำใช้จ่ำยในกำรซื้อและเลี้ยงโคพ่อพันธุ์ 2) ในกรณีฟำร์มปรับปรุงพันธุ์ที่ต้องใช้พ่อพันธุ์คุมฝูงละตัว ต้องแบ่งแปลงหญ้ำตำมจำนวนฝูงดังกล่ำว แต่ ถ้ำใช้ผสมเทียม ไม่จำเป็นต้องแบ่งแปลงมำกขนำดนั้น 3) สำมำรถเก็บสถิติในกำรผสมและรู้กำหนดวันคลอดที่ค่อนข้ำงแน่นอน 4) สำมำรถใช้น้ำเชื้อโคพันธุ์ดีจำกที่ต่ำงๆ ได้สะดวก ทำให้ควำมก้ำวหน้ำในกำรปรับปรุงพันธุ์เร็วขึ้น 5) ถ้ำใช้ควบคู่กับฮอร์โมนควบคุมกำรเป็นสัด จะทำให้กำรจัดกำรเกี่ยวกับกำรผสมสะดวกขึ้น ข้อเสียของการผสมเทียม คือ 1) ต้องใช้แรงงำนสังเกตกำรณ์เป็นสัดหรือใช้โคตรวจจับกำรเป็นสัด 2) ต้องใช้คอกและอุปกรณ์ในกำรผสมเทียม เสียเวลำต้อนแยกโคไปผสมในขณะที่มีลูกติดแม่โคอยู่ 3) แปลงเลี้ยงโคควรใกล้บริเวณผสมเทียม มิฉะนั้นจะเสียเวลำต้อนโคจำกแปลงที่ไกล 4) เสียค่ำใช้จ่ำยในกำรจ้ำงคนหรือฝึกอบรมคนผสมเทียมของฟำร์มเอง 5) อัตรำกำรผสมติดขึ้นอยู่กับควำมสำมำรถในกำรตรวจจับกำรเป็นสัดและควำมชำนำญของคนผสม 6) เสียค่ำใช้จ่ำยในกำรซื้อน้ำเชื้อ อาหารและการให้อาหารโคเนื้อ วัตถุดิบอำหำรสัตว์ (feedstuffs) หมำยถึง สำรใด ๆ ก็ตำมที่ให้โภชนะที่เกิดประโยชน์แก่สัตว์ที่กินเข้ำไป โดยวัตถุดิบอำหำรสัตว์อำจได้มำจำกแหล่งธรรมชำติ เช่น พืช สัตว์ ฯลฯ หรืออำจได้จำกกำรสังเครำะห์ทำงเคมี เช่น กรดอะมิโน แร่ธำตุ วิตำมินต่ำง ๆ หรือทำงชีววิทยำ เช่น โปรตีน จำกพืชหรือสัตว์เซลล์เดียวก็ได้ ซึ่งสำมำรถ จำแนกวัตถุดิบอำหำรสัตว์ออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ดังนี้ 1. อาหารหยาบ (roughages) อำหำรหยำบ หมำยถึง วัตถุดิบที่มีโภชนะต่อหน่วยน้ำหนักต่ำ มีเยื่อใยสูงกว่ำ 18 เปอร์เซ็นต์ แบ่งออกเป็น 3 พวก คือ 1) อำหำรหยำบสด (green roughages หรือ green forages) อำหำรหยำบที่อยู่ในสภำพสด มีควำมชื้นสูง 70 – 85 เปอร์เซ็นต์ ได้แก่ พืชที่ตัดสดมำให้โคกิน (soilage) และพืชอำหำรสัตว์ในทุ่งที่สัตว์เข้ำไป แทะเล็ม(pasture) อำหำรหยำบสด ประกอบด้วย 1.1) พืชตระกูลหญ้ำ (gramineae) ได้แก่ หญ้ำขน (Para grass หรือ Mauritius grass) หญ้ำกินนี (guinea grass) หญ้ำเนเบียร์ (Napier grass) หญ้ำรูซี่ (Ruzi grass) ฯลฯ พืชตระกูลหญ้ำเป็นพืชที่ให้ คำร์โบไฮเดรตเป็นหลัก (แป้งหรือเยื่อใย) บำงทีเรียกว่ำ carboneceous plants 1.2) พืชตระกูลถั่ว (leguminosae) ได้แก่ ถั่วลำยหรือถั่วเซนโตรซีมำ (centrosema) ถั่วชีรำโตร (siratro) ถั่วสไตโล (stylo) ฯลฯ พืชตระกูลถั่วจะให้คุณค่ำทำงโภชนะ เช่น โปรตีน สูงกว่ำพืชอื่น มักนิยมปลูกผสม กับหญ้ำทำเป็นทุ่งหญ้ำผสมเพื่อเพิ่มคุณค่ำทำงอำหำรให้แก่สัตว์ บำงทีเรียกว่ำ proteineceous plants 1.3) พืชอำหำรอื่นๆ(others)ได้แก่ ผักตบชวำ (water hyacinth) ต้นข้ำวโพด (corn stem) ต้น ข้ำวฟ่ำง (sorghum stem) และเศษเหลือจำกอุตสำหกรรมอำหำร เช่น ไหมข้ำวโพด เปลือกข้ำวโพด ฯลฯ 2) อำหำรหยำบแห้ง (dry roughages หรือ dry forages) อยู่ในรูปที่มีควำมชื้นไม่เกิน 15 เปอร์เซ็นต์เพื่อจุดประสงค์ในกำรเก็บรักษำไว้ใช้ในยำมขำดแคลนอำหำร โดยนำเอำอำหำรหยำบสดมำระเหย ควำมชื้นออกด้วยกำรตำกแดด 2 – 3 แดด หรือกำรอบด้วยควำมร้อนให้เหลือควำมชื้นไม่เกิน 15 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งอยู่ในสภำพที่เชื้อรำและรำเมือกเจริญได้ยำก จึงสำมำรถเก็บได้นำนขึ้น ตัวอย่ำงของอำหำรหยำบแห้ง ได้แก่ หญ้ำแห้ง (hay)เป็นหญ้ำที่เก็บเกี่ยวในระยะที่มีคุณค่ำทำงอำหำรสูงแล้วนำมำระเหยควำมชื้นออกไป นอกจำกนี้ อำหำรหยำบแห้งยังรวมถึงฟำงข้ำว (rice straws) อีกด้วย 3) อำหำรหยำบหมัก (ensile roughages หรือ ensile forages) อยู่ในรูปที่มีควำมชื้น 70 – 75 เปอร์เซ็นต์ ระดับ pH ประมำณ 4.2 ในหลุมหมักที่มีสภำพไร้ออกซิเจนเพื่อจุดประสงค์ในกำรเก็บรักษำไว้ ใช้ในยำมขำดแคลนอำหำร และสำมำรถเก็บรักษำไว้ได้นำนนับสิบปีถ้ำไม่เปิดหลุ มหมักโดยกำรนำอำหำรหยำบ สดที่เก็บเกี่ยวในระยะคุณค่ำทำงอำหำรสูง และมีปริมำณของ คำร์โบไฮเดรตมำกพอ มีควำมชื้น 70 – 75 เปอร์เซ็นต์ นำมำสับเป็นท่อนเล็ก ๆ บรรจุอัดแน่นลงหลุมหมักหรือบ่อหมัก (silo) ปิดปำกหลุมหมักให้สนิทแน่น ป้องกันไม่ให้อำกำศเล็ดลอดเข้ำไป ประมำณ 21 วัน ขบวนกำรหมักก็จะเสร็จสมบูรณ์ ตัวอย่ำงอำหำรหยำบหมัก ได้แก่ พืชหมัก (silage)แต่ถ้ำใช้อำหำรหยำบสดที่มีควำมชื้น 55 – 60 เปอร์เซ็นต์มำทำกำรหมัก เรียกว่ำ พืชหมักแห้ง (haylages) 2. อาหารข้น (concentrate)อำหำรข้น หมำยถงึ วัตถุดิบที่มีควำมเข้มข้นของโภชนะต่อหน่วยน้ำหนัก สูง มีเยื่อใยต่ำกว่ำ 18เปอร์เซ็นต์ แบ่งออกเป็น 2 พวก ได้แก่ 1) อำหำรหลักหรืออำหำรพลังงำน (basal feed หรือ energy feed) คือ วัตถุดิบอำหำรสัตว์ที่ ให้พลังงำนสูงหรือมีคำร์โบไฮเดรตมำก มีโปรตีนต่ำกว่ำ 20 เปอร์เซ็นต์ ที่เรียกว่ำ “อำหำรหลัก” เพรำะเป็นวัตถุดิบ ที่ใช้ในปริมำณมำกถึง 50 – 80 เปอร์เซ็นต์ ในกำรประกอบสูตรอำหำรสัตว์ ได้แก่ 1.1) ได้จำกพืช ได้แก่ เมล็ดธัญพืชต่ำงๆ เช่น ข้ำวโพด ข้ำวฟ่ำง ปลำยข้ำว รำละเอียด เป็นต้น พืชหัว เช่น มันสำปะหลัง (มันเส้น) มันเทศ เป็นต้น และน้ำมันพืชต่ำง ๆ 1.2) ได้จำกสัตว์ เช่น ไขมันโค – กระบอื (tallow) ไขมันสุกร (lard) เป็นต้น 1.3) อื่นๆ ได้แก่ กำกน้ำตำล เศษเหลือจำกอุตสำหกรรมอำหำร เช่น เปลือกสับปะรด เป็นต้น 2) อำหำรเสริม (supplements) คือ วัตถุดิบที่เสริมลงไปในอำหำรหลัก ในกำรประกอบสูตร อำหำรสัตว์เพื่อให้มีโภชนะครบสมบูรณ์ตำมควำมต้องกำรของสัตว์ แบ่งย่อยออกเป็น 2.1) อำหำรเสริมโปรตีน (protein supplements) คือ วัตถุดิบที่เป็นแหล่งโปรตีน มีโปรตีน มำกกว่ำ 20 เปอร์เซ็นต์ ได้แก่ (1) ได้จำกพืช ได้แก่ ผลพลอยได้จำกขบวนกำรแปรรูปอำหำร พลังงำน เช่น ส่ำเหล้ำ ผลพลอย ได้จำกอุตสำหกรรมพืชน้ำมัน เช่น กำกถั่วเหลือง กำกถั่วลิสง กำกมะพร้ำว กำกเมล็ดฝ้ำย กำกเมล็ดนุ่น กำกเมล็ด ปำล์ม กำกเมล็ดยำงพำรำ เป็นต้น ใบพืชต่ำง ๆ คือ ใบกระถิน ใบมันสำปะหลัง ใบปอ เป็นต้น (2) ได้จำกสัตว์ เช่น ปลำป่น เนื้อป่น เลือดป่น เครื่องในป่น ขนไก่ป่น เป็นต้น (3) ได้จำกกำรสังเครำะห์ เช่น โปรตีนจำกพืชหรือสัตว์เซลล์เดียว (single cell proteins) เช่น สำหร่ำยเซลล์เดียว ยีสต์ เป็นต้น กรดอะมิโนสังเครำะห์ เช่น ไลซีน เมทไธโอนีน ฟินิลอะลำนีน เป็นต้น 2.2) อำหำรเสริมแร่ธำตุ (mineral supplements) คือ วัตถุดิบที่มีควำมเข้มข้นของแร่ธำตุสูง เสริมลงไปในอำหำรหลักเพื่อให้มีแร่ธำตุครบสมบูรณ์ตำมควำมต้องกำรของสัตว์ ได้แก่ (1) วัตถุดิบที่เป็นแหล่งของแคลเซียม เช่น หินปูน (CaCO3) ปูนขำว (CaO) เปลือกหอยป่น (2) วัตถุดิบที่เป็นแหล่งของแคลเซียมและฟอสฟอรัส เช่น กระดูกป่น ไดแคลเซียมฟอสเฟต (3) วัตถุดิบที่เป็นแหล่งของโซเดียมและคลอรีน เช่น เกลือทะเล (4) วัตถุดิบที่เป็นแหล่งของโปตัสเซียม เช่น กำกน้ำตำล 2.3) อำหำรเสริมวิตำมิน (vitamin supplements) คือ วัตถุดิบที่มีควำมเข้มข้นของ วิตำมินสูง ?