Document Details

CharitableThermodynamics7939

Uploaded by CharitableThermodynamics7939

KMUTT

Tags

hall effect physics experiment electromagnetism lab report

Summary

This document describes a physics experiment on the Hall effect. The experiment involves measuring the Hall voltage and analyzing the relationship between current, magnetic field strength, and other variables. It includes details on the theory, equipment, and procedures.

Full Transcript

91 การทดลองที 10 เรื อง Hall Effect. จุดประสงค์ 1. เพือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกระแสของขดลวดกับความเข้มของสนามแม่เหล็ก 2. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Hall Voltage กับกระแสควบคุม...

91 การทดลองที 10 เรื อง Hall Effect. จุดประสงค์ 1. เพือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกระแสของขดลวดกับความเข้มของสนามแม่เหล็ก 2. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Hall Voltage กับกระแสควบคุม 3. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กับความเข้มของสนามแม่เหล็ก 4. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Hall Voltage กับความเข้มของสนามแม่เหล็ก และคํานวนหาค่าคงที ของฮอลล์, mobility ของประจุพาหะ และความหนาแน่นของประจุพาหะ. ทฤษฎี ถ้ามีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านแผ่นตัวนําซึ งมีสนามแม่เหล็กในทิศตังฉากกับแผ่นตัวนํา สนามแม่เหล็กจะออกแรง กระทําต่อประจุซึงเคลือนทีในแผ่นตัวนํา โดยทิศของแรงทีกระทําต่อประจุจะตังฉากกับทิศการเคลือนทีของประจุ ทําให้ ประจุถูกผลักไปสะสมทีขอบของแผ่นตัวนําทังสองด้าน ดังรู ป การสะสมของประจุทีขอบของแผ่นตัวนําจะทําให้เกิดความ ต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขอบทังสองของแผ่นตัวนํา ซึงเรี ยกว่า Hall Voltage (VH) การเกิดความต่างศักย์ระหว่างขอบของแผ่น ตัวนําทีมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านในสนามแม่เหล็กนี เรี ยกว่า Hall Effect ซึงพบโดย E.H.Hall ในปี 1879 VH I B - + - + - FE + - + - + - F + -W + + m d - - + I รู ปที ในตัวนําโลหะอิเล็กตรอนจะไหลในทิศตรงข้ามกับทิศของกระแสไฟฟ้า ทําให้เกิดแรงผลักอิเล็กตรอนไปทางขอบ ซ้ายของแผ่นตัวนํา แรงลอเรนซ์ทีกระทําต่อประจุหาได้จาก   FM  e (v x B) (1) = evB จาก I = nAve (2) IB แทนใน (1) จะได้ FM  (3) nA ในขณะเดียวกันจะเกิดแรงไฟฟ้ากระทําต่อประจุในทิศตรงข้ามด้วยขนาด KMUTT 92   FE   eE (4) eVH FE  w ขณะเกิดสภาวะสมดุล FM  FE IB eV  H nA w IBw IB VH   (5) neA ned เมือมีสนามแม่เหล็กกระทําต่อแผ่นโลหะ จะทําให้ความต้านทานของแผ่นโลหะเพิมขึน เนืองจาก mean free path ของอิเล็กตรอนซึงเคลือนทีในแผ่นโลหะลดลง ทําให้อเิ ล็กตรอนมีการชนบ่อยขึน ถ้าใช้สารกึงตัวนําแทนแผ่นโลหะ ในย่านของ Intrinsic conductivity สภาพนําไฟฟ้าจะเป็ นไปตามสมการ Eg    0.e 2 kT (6) E g 1 ln   ln  0  T (7) 2k โดย  = สภาพนําไฟฟ้า Eg = energy bandgap k = ค่าคงทีของ Boltzmann T = อุณหภูมิสัมบูรณ์ ถ้าพล็อตกราฟระหว่างค่า ln ของความนําไฟฟ้ากับ T- ตามสมการที ( ) จะได้กราฟเส้นตรงทีมีความชัน Eg b   (8) 2k นอกจากนัน charge mobility H , ความหนาแน่นของประจุพาหะ n และค่าคงทีของฮอลล์ (Hall constant) RH มีความสัมพันธ์กนั ดังต่อไปนี V d RH  H. (9) B I กําหนดให้ d = 1 x 10-3 m μ H  R H.σ 0 (10) 1 n  (11) e.RH KMUTT 93 จากสมการที ( ) ถ้าพล็อตกราฟระหว่าง VH กับ ความเข้มของสนามแม่เหล็ก B จะได้กราฟเส้นตรง ทีมีความชัน V เท่ากับ H เมือแทนในสมการที ( ) จะหาค่า RH ได้ ส่วนค่า 0 หาได้จาก B L 0  (12) R0A โดย 0 = สภาพนําไฟฟ้าของสารตัวอย่างขณะยังไม่มีสนามแม่เหล็ก L = ความยาวของแผ่นสารตัวอย่าง [2 x 10-2 m] R = ความต้านทานของแผ่นสารตัวอย่างขณะยังไม่มีสนามแม่เหล็ก A = พืนทีหน้าทีตัดของแผ่นสารตัวอย่าง [1 x 10-5 m2]. อุปกรณ์ การทดลอง 1. Hall-effect n-Ge carrier board 11802-00 1 ชุด 2. Coil, 600 turns 2 ชุด 3. Iron core U-shape 1 ชุด 4. Resistor 330  1 W 1 ตัว 5. Potentiometor 560  1 ตัว 6. Bridge rectifier 250 V/5A 1 ชุด 7. Capacitor 2000 µF/25V 1 ตัว 8. Digital Tesla meter 1 เครื อง 9. Hall probe 1 อัน 10. Power supply 0-12 V DC / 6 V AC , 12 V AC 1 เครื อง 11. Digital multimeter 3 เครื อง 12. Tripod base 1 อัน 13. Connecting cord 16 เส้น KMUTT 94. วิธีทดลอง.. การต่ อวงจร.. นําแผ่น Hall-effect carrier board ติดตังระหว่างขัวแม่เหล็กของขดลวดโดยยึดไว้บนขาตัง ดังรู ปที ด้วย ความระมัดระวังไม่ให้หกั หรื องอ รู ปที การติดตัง Hall effect board.. ต่อสายไฟจากขัว V AC ของ Power supply ไปยังขัว AC ของ Bridge rectifier และต่อ Capacitor 2000 µF/25V เข้ากับ output ของ Bridge rectifier สังเกตขัวบวก-ลบ ของ Capacitor ให้ถูกต้อง โดย ต่อวงจรดังรู ปที VR ปรับกระแสควบคุม หม้อแปลง 330 AC + V A 0 6 12 V - Bridge rectifier ต่อเข้าขดลวดสนามแม่เหล็ก ต่อเข้า Heater ขัว , รู ปที การต่อ Power supply.. ต่อสายไฟจากตัวต้านทาน โอห์มผ่าน milliam-meter (digital multimeter) เข้ากับจุด 1 และต่อ ขัวลบเข้ากับจุด 2 บนแผ่น Hall effect board ดังรู ปที 9 10 4 1 2 3 Ge 6 7 5 KMUTT 95 รู ปที Hall effect board.. ต่อ digital Voltmeter เข้ากับขัว 4 และ 5 บนแผ่น Hall effect board เพือวัด Hall voltage VH.. สอด Hall probe เข้าระหว่างขัวแม่เหล็กให้ชิดกับแผ่น Ge และต่อสายสัญญาณจาก probe เข้ากับ Tesla meter เพือวัดค่าความเข้มของสนามแม่เหล็ก.. ต่อสายไฟจากขัวบวก-ลบ V DC ของ Power supply เข้ากับขดลวดเพือสร้างสนามแม่เหล็กดังรู ป ที โดยปรับ V ขึนจนสุ ด ส่วน A ปรับไว้ทีศูนย์ เมือต้องการปรับความเข้มของสนามแม่เหล็กจึง ค่อย ๆ ปรับ A ขึนพร้อมกับอ่านค่าสนามแม่เหล็กจาก Tesla meter รู ปที การต่อไฟเข้าขดลวด 4.1.7 (กรณีทีมีการศึกษาผลของอุณหภูมิ) ต่อ digital Voltmeter เข้ากับขัว 6 และ 7 ของแผ่น Hall effect board เพือวัดอุณหภูมิของแผ่น Ge ก่อนเพิมอุณหภูมิของแผ่น Ge ให้นาํ Hall probe ออกจากแผ่น บอร์ ดก่อนเพือป้ องกัน probe เสี ย หาย. เมือต้องการเพิมอุณหภูมิของแผ่น Ge ให้ต่อสายไฟ จากขัว VAC ของ Power supply เข้ากับขัว และ บนแผ่น Hall effect board พร้อมกับอ่าน ค่าความต่างศักย์ของเทอร์โมคับเปิ ลจาก digital Voltmeter แล้วคํานวณอุณหภูมิจากสู ตร V T  T  T0 (6) α โดย T = อุณหภูมิ (K) VT = ความต่างศักย์ไฟฟ้าจากเทอร์โมคับเปิ ล (V)  = 40 µV/K T0 = อุณหภูมิห้อง (K) KMUTT 96.. ดําเนินการทดลอง 4.2.1 ปรับความเข้มของสนามแม่เหล็กคงที mT ณ อุณหภูมิห้อง วัดค่า Hall voltage VH เมือปรับ กระแสควบคุมค่าต่าง ๆ ระหว่าง – mA แล้วพล็อตกราฟระหว่าง Hall voltage VH กับ กระแส ควบคุม I ชนิ ดของประจุพาหะสามารถหาได้จากทิศของแรงทีกระทําต่อประจุ ซึงมีผลต่อเครื อง หมายของ VH จากกราฟให้หาความสัมพันธ์ระหว่าง VH กับ I ตามสมการ VH =  I เมือ  เป็ นค่าคงที (หาจาก slope ของกราฟ).. ปรับกระแสควบคุมให้คงที mA ณ อุณหภูมิห้อง วัดความต่างศักย์คร่ อมแผ่น Ge แล้วคํานวณหา ค่าความต้านทานของแผ่น Ge ขณะทีปรับสนามแม่เหล็กเป็ นศูนย์ โดย R0 หาจากสมการ R0 = VGe/ I (สนามแม่เหล็กเป็ นศูนย์) หลังจากนันให้เพิมสนามแม่เหล็กขึนจาก - mT พร้อมกับวัดความต่างศักย์คร่ อมแผ่น Ge ที ความเข้มสนามแม่เหล็กค่าต่าง ๆ แล้วคํานวณหาความต้านทาน RB ของแผ่น Ge ตามสมการ RB = VGe/ I (สนามแม่เหล็กค่าต่าง ๆ) R R แล้วพล็อตกราฟระหว่าง B 0 กับความเข้มของสนามแม่เหล็ก B R0.. วัดค่า Hall voltage VH ณ อุณหภูมิห้อง และกระแสควบคุมคงที โดยเปลียนค่าความเข้มของ สนามแม่เหล็ก B แล้วพล็อตกราฟระหว่าง VH กับ B เพือคํานวณหา Energy band gap (Eg), Hall constant RH , Hall mobility µH , และความหนาแน่นของประจุพาหะ n KMUTT

Use Quizgecko on...
Browser
Browser