สรุปประเด็นข้อสอบข้าราชการที่ดี PDF
Document Details
Uploaded by FlexibleCalcium
Tags
Related
- Elementos Temáticos de Capacitación Básica para el Ingreso a la Función Pública PDF
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ PDF
- ชุดที่ 6 การบริหารราชการแผ่นดิน (หน้า 31-42) PDF
- LEI 8.112 - Regime Jurídico dos Servidores Públicos Civis - PDF
- Tema 2: Cambio Régimen Jurídico - Cuerpo General Administrativo (PDF)
- Civil Service PDF
Summary
เอกสารสรุปประเด็นข้อสอบวิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี สอบครูผู้ช่วย.
Full Transcript
KLN TUTOR สรุปประเด็นข้อสอบ วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี สอบครูผู้ช่วย : KLN TUTUR สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย พ.ร.บ. บริหารราชการแผ่นดิน ประเด็นที่ 1 การจัดระเบี...
KLN TUTOR สรุปประเด็นข้อสอบ วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี สอบครูผู้ช่วย : KLN TUTUR สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย พ.ร.บ. บริหารราชการแผ่นดิน ประเด็นที่ 1 การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 1. ส่วนกลาง 2.ส่วนภูมิภาค 3. ส่วนท้องถิ่น สำนักนายกรัฐมนตรี องค์การบริหารส่วนจังหวัด จังหวัด จานอำมวรรากกลัหช้ใ จานอำงบ่แรากกลัหช้ใ จานอำยาจะรกรากกลัหช้ใ กระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด เทศบาล ปลัดจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการ ทบวง สุขาภิบาล อำเภอ ราชการส่วนท้องถิ่นอื่น กรม (กทม.,พัทยา,อบต.) นายอำเภอ ปลัดอำเภอ 1. กระทรวง 2. กรม 3.กอง เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย ข้อสอบจริงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Q1. ข้อใดเป็นการจัดระเบียบราชการส่วนภูมิภาค ? ก. จังหวัด ข. จังหวัด อำเถอ ค. จังหวัด อำเภอ ตำบล ง. จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย ส่วนกลาง 1.การจัดระเบียบราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นข้าราชการการเมือง ข้าราชการพลเรือนสามัญ เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย กรณีปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี (1) นายกรัฐมนตรีตาย (2) ขาดคุณสมบัติ (3) ต้องคำพิพากษาให้จำคุก (4) สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจ (5) ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง (6) หรือวุฒิสภามีมติให้ถอดถอนจากตำแหน่ง ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้ >> รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้ รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน ตาย + ขาด + คุก + ใจ + ศาล + ถอน นายกรัฐมนตรี มีอำนาจหน้าที่ดังนี้ (1) กำกับ สั่ง ยับยั้ง สั่งสอบ โดยทั่วไปซึ่งการบริหารราชการแผ่นดิน (2) มอบหมาย ให้รองนายกรัฐมนตรีกำกับการบริหารราชการของกระทรวง (3) บังคับบัญชา ข้าราชการฝ่ายบริหารทุกตำแหน่ง (4) สั่ง ให้ข้าราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบัติราชการสำนักนายกรัฐมนตรี (5) แต่งตั้งข้าราชการ ซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดำรงตำแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรม (6) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นประธานที่ปรึกษา (7) แต่งตั้งข้าราชการการเมือง ให้ปฏิบัติราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี (8) วางระเบียบ ปฏิบัติราชการ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดิน เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย ส่วนกลาง 2. การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหรือทบวง สอบครูผู้ช่วย 3. การจัดระเบียบราชการในทบวงซึ่งสังกัด สำนักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง (1) สำนักงานรัฐมนตรี (2) สำนักงานปลัดทบวง (3) กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น เว้นแต่บางทบวงซึ่ง เห็นว่าไม่มีความจำเป็นจะไม่แยกส่วน ราชการตั้งขึ้นเป็นกรมก็ได้ 4. การจัดระเบียบราชการในกรม (1) สำนักงานเลขานุการกรม (2) กองหรือส่วนราชการที่มีฐานะเทียบกอง อธิบดี 1 คน เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ / เลขาธิการผู้อำนวยการ เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย การตรากฏหมาย 1. กระทรวง 1. ตราพระราชบัญญัติ การจัดตั้ง รวม,โอน กรม (เพิ่มคน) 2. กรม 2. ตราพระราชฎีกา รวม,โอน, ยุบ,เปลี่ยนชื่อกรม (ไม่เพิ่มคน) 3. ตรากฏกระทรวง จัดตั้งกองใหม่ 3.กอง รวม,โอน, ยุบ,เปลี่ยนชื่อกอง 4. ประกาศกระทรวง จัดตั้งโรงเรียนใหม่ 4. สถานศึกษา กระทรวง ทบวง กรมใดมีเหตุพิเศษ จะตราพระราชกฤษฎีกาแบ่งท้องที่ออกเป็นเขต เพื่อให้ มีหัวหน้าส่วนราชการ ประจำเขตแล้วแต่จะเรียกชื่อ เพื่อปฏิบัติงานทางวิชาการ ก็ได้ เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย ข้อสอบจริงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๐/ Q1. ข้อใดตราเป็นพระราชบัญญัติ ? ก. ตั้ง...กระทรวง ทบวง กรม ข. ยุบ...ทบวง กรม ค. ยุบกรมไปรวมกับกรมอื่น ง. เปลี่ยนชื่อกรม Q2. การจัดตั้งรวมโอนส่วนราชการสำนักนายกรัฐมนตรีให้ตราเป็นกฏ หมายใด? ก. ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ข. ให้ตราเป็นพระราชบัญญัตติ ค. ให้ออกเป็นกฎกระทรวง ง. ให้ออกเป็นประกาศกระทรวง เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย การปฏิบัติราชการแทน การมอบอำนาจ คือ มีผู้ดำรงตำแหน่งอยู่แต่เป็นการกระจายอำนาจหน้าที่ * ผู้ว่าราชการจังหวัด >> มอบอำนาจต่อไปได้ การรักษาราชการแทน การรักษาราชการแทน คือ ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ระดับ ผู้บริหารส่วนราชการ รักษาราชการแทน1 รักษาราชการแทน2 1. กระทรวง 1. นายกรัฐมนตรี 1. รองนายกรัฐมนตรี 1. คณะรัฐมนตรีมอบ รองฯ 2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง 2. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง 2. คณะรัฐมนตรีมอบ รมช.ฯ 3. เลขานุการรัฐมนตรี 3. ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี 3. คณะรัฐมนตรีมอบ ผู้ช่วย 4. ปลัดกระทรวง 4. รองปลัดกระทรวง 4. นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งรองปลัดฯ 2. กรม อธิบดี รองอธิบดี ปลัดกระทรวงแต่งตั้งรองอธิบดี ถ้าไม่มีมีรองอธิบดี ให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้ง ข้าราชการในกรม การบริหารราชการในต่างประเทศ คณะผู้แทน คือ ผู้ดำรงตำแหน่งในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล สถานรองกงสุล หัวหน้าคณะผู้แทน คือ ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศได้รับแต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่งหัวหน้าคณะผู้แทน รองหัวหน้าคณะผู้แทน คือ ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศได้รับแต่งตั้งให้ ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนหัวหน้าคณะผู้แทน เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค จังหวัด อำเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ,ปลัดอำเภอ มีฐานะเป็นนิติบุคคล ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอำเภอ ให้ตราพระราชบัญญัติ ให้ตราเป็น พระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการของจังหวัด เป็น 2 ส่วน การแบ่งส่วนราชการอำเภอ 1.สำนักงานจังหวัด 1. สำนักงานอำเภอ 2.ส่วนราชการประจำจังหวัด 2. ส่วนราชการประจำอำเภอ คณะบุคคลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท หน้าที่คณะกรรมการจังหวัด 1. ประชาชนที่คู่กรณีฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตอำเภอ ในเรื่องที่ 1. เป็ นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัด พิพาททางแพ่งเกี่ยวกับที่ดินมรดก และข้อพิพาททางแพ่งอื่นที่มีทุนทรัพย์ 2. การบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น ไม่เกิน 200,000 บาทหรือมากกว่านั้น ตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา 3. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติของคณะ รัฐมนตรีกำหนด 2. ให้นายอำเภอโดยความเห็นชอบของคณะกรมการจังหวัดจัดทำบัญชี รายชื่อบุคคล ที่จะทำหน้าที่เป็ นคณะบุคคลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยและ ประนอมข้อพิพาท โดยคัดเลือกจากบุคคลที่มีความรู้หรือมีประสบการณ์ ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับ เหมาะสม กับการทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับ ชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นใน จำ : ผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท = นายอำเภอ จังหวัด คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด “ก.ธ.จ.” บรรดาความผิดที่มีโทษทางอาญาที่เกิดขึ้นในเขตอำเภอใดหากเป็ นความผิดอันยอมความ - สอดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วย ได้ และ 1. มิใช่เป็ นความผิดเกี่ยวกับเพศ ถ้าผู้เสียหายและผู้ถูกกล่าวหายินยอม หรือแสดงความ งานของรัฐในจังหวัด ให้ใช้วิธีการบริหารกิจการบ้าน จำนงให้นายอำเภอของอำเภอนั้นหรือปลัดอำเภอที่นายอำเภอดังกล่าวมอบหมายเป็ นผู้ เมืองที่ดี ไกล่เกลี่ยตามควรแก่กรณี และเมื่อผู้เสียหายและผู้ถูกกล่าวหายินยอมเป็ นหนังสือตามที่ ไกล่เกลี่ยและปฏิบัติตามคำไกล่เกลี่ยดังกล่าวแล้วให้คดีอาญาเป็ นอันเลิกกันตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2. ในกรณีที่ผู้เสียหายและผู้ถูกกล่าวหาไม่ยินยอมตามที่ไกล่เกลี่ย ให้จำหน่ายข้อพิพาท นั้น แต่เพื่อ ประโยชน์ในการที่ผู้เสียหายจะไปดำเนินคดีต่อไป อายุความการร้องทุกข์ตาม การรักษาราชการแทนผู้ว่าราชการจังหวัด ประมวลกฎหมายอาญา ให้เริ่มนับแต่ วันที่จำหน่ายข้อพิพาท รองผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ช่วยรองผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดจังหวัด การรักษาราชการแทน “นายอำเภอ” หัวหน้าส่วนราชการจังหวัด ปลัดอำเภอ หัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอผู้มีอาวุโส เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย ข้อสอบจริงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Q1. ใครเป็นผู้ไกล่เกลี่ย ในการพิจารณาอาญา ? ก. นายอำเภอ ข. อัยการจังหวัด ค. ปลัดอำเภอ ง. ข้าราชการอาวุโส เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 1. นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็ นประธาน (1 คน) 2. รัฐมนตรีหนึ่งคนที่นายกรัฐมนตรีกำหนด เป็ นรองประธาน (1 คน) 3. ผู้ซึ่งคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มอบหมาย (1 คน) 4. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน 10 คน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ในทางด้านนิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์รัฐศาสตร์ การบริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงินการคลัง จิตวิทยาองค์การ และสังคมวิทยาอย่างน้อย ด้านละ 1 คน 5. ในกรณีที่มีความจำเป็ นเพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุผล คณะรัฐมนตรีจะกำหนดให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่น้อยกว่า 3 คนแต่ไม่เกิน 5 คนต้องทำงานเต็มเวลาก็ได้ 6. เลขาธิการ ก.พ.ร. เป็ นกรรมการและเลขานุการโดยตำแหน่ง (1 คน) หน้าที่ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ “ก.พ.ร.” (1) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานของรัฐอย่างอื่น (2) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานอื่นของรัฐที่มิได้อยู่ในกำกับของราชการฝ่ ายบริหารตามที่ หน่วยงานดังกล่าวร้องขอ (3) รายงานต่อคณะรัฐมนตรี ในกรณีที่มีการดำเนินการขัดหรือไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่กำหนดใน (4) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดตั้ง การรวม การโอน การยุบ เลิก การกำหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ การกำหนดอำนาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของส่วนราชการที่เป็ นกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น (5) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกา และกฎที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ (6) ดำเนินการให้มีการชี้แจงทำความเข้าใจแก่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไป (7) ติดตาม ประเมินผล และแนะนำเพื่อให้มีการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ และรายงานต่อคณะรัฐมนตรีพร้อมทั้งข้อเสนอ (8) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ (9) เรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบการพิจารณา (10) จัดทำรายงานประจำปี เกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราชการและงานของรัฐอย่างอื่นเสนอต่อ คณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา (11) แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ (12) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย จำ : “ก.พ.ร.” ชอบ “เสนอ” เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์หลักการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ส่วนราชการที่บังคับใช้ในกำกับของราชการฝ่ายบริหาร ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมาย การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปนี้ (1) เกิดประโยชน์สุขของประชาชน (หมวด 2) = เป้าหมายสูงสุด (2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (หมวด 3) (3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (หมวด 4) (4) ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น (หมวด 5) (5) มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ (หมวด 6) (6) ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ (หมวด 7) (7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ (หมวด 8) ป. 1 ประโยชน์สุขของประชาชน ป.1 เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 1 ผล ผลสัมฤทธิ์ ป. 2 ประสิทธิภาพ การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน 7 เป้า ป. 3 ปฏิบัติงาน หมายถึง การปฏิบัติราชการที่มีเป้าหมายเพื่อให้ 6 ป 1 ผล 1. เกิดความผาสุก 2. ความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ป. 4 ปรับปรุงภารกิจ 3. ความสงบและปลอดภัยของสังคมส่วนรวม ป. 5 ประชาชน 4. ตลอดจนประโยชน์สูงสุดของประเทศ ป. 6 ประเมินผล การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์ สุขของประชาชน ส่วนราชการจะต้อง ดำเนินการโดยถือว่า “ประชาชนเป็น ศูนย์กลาง” ที่จะได้รับการบริการจากรัฐ เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย 1 ผล การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ให้ส่วนราชการปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (1) จัดทำแผน ปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า (2) แพลนขั้นตอน (ขั้นตอน ระยะเวลาและงบประมาณ) (3) มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการ (4) ในกรณีที่การปฏิบัติภารกิจ เกิดผลกระทบต่อประชาชน ต้องดำเนินการแก้ไขหรือบรรเทาผลกระ ทบนั้น หรือเปลี่ยนแผนปฏิบัติราชการให้เหมาะสม จำ : จัดทำแผน + แพลนขั้นตอน + ติดตามประเมินผล + บรรเทาผลกระทบ การจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ 1.จัดทำเป็นแผน 5 ปี 2. ระบุสาระสำคัญเกี่ยวกับนโยบาย เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน 3. เสนอต่อรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแผน สำนักงบประมาณดำเนินการจัดสรรงบประมาณ 4. สิ้นปีงบประมาณจัดทำรายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของแผน เสนอต่อคณะรัฐมนตรี ป.2 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าเชิงภารกิตของรัฐ เพื่อให้การปฏิบัติราชการภายในส่วนราชการ การจัดซื้อหรือจัดจ้าง เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ให้ส่วนราชการ : 1. ดำเนินการโดยเปิ ดเผยและเที่ยงธรรม 1. กำหนดเป้าหมาย 2. ต้องคำนึงถึงคุณภาพและการดูแลรักษาเป็นสำคัญ 2. ทำแผนการทำงาน ไม่ต้องถือราคาต่ำสุดในการเสนอซื้อหรือจ้างเสมอไป 3. ระยะเวลาแล้วเสร็จ 4. งบประมาณที่ต้องใช้ การสั่งราชการโดยปกติ 5. เผยแพร่ให้ข้าราชการและประชาชนทราบ 1. ให้กระทำเป็น “ลายลักษณ์อักษร” 2. กรณีจำเป็นสั่งราชการด้วยวาจาก็ได้ แต่บันทึกคำสั่งด้วยวาจาไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ป.3 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ให้ส่วนราชการจัดให้มีการกระจายอำนาจ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การตัดสินใจ เกี่ยวกับ 1. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพิ่มประสิทธิภาพและประหยัด 1. การสั่ง ค่าใช้จ่าย ไม่เกิดผลเสียหายแก่ราชการ 2. การอนุญาต 2. ใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง ที่สำนักงานพัฒนารัฐบาล 3. การอนุมัติ ดิจิทัล (องค์การมหาชน) จัดทำให้มี 4. การปฏิบัติราชการ 3. ศูนย์บริการร่วม 5.การดำเนินการอื่น เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย ข้อสอบจริงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Q1. การจัดซื้อจัดจ้างส่วนราชการต้องทำอย่างไร? ก. การจัดซื้อจัดจ้างสิ่งที่เห็นว่าถูกต้องที่สุด ข. การจัดซื้อจัดจ้างต้องให้ประชาชนรับรู้เพียงส่วนหนึ่ง ค. การจัดซื้อจัดจ้างต้องปกปิดเป็นความลับราชการ ง. เปิดเผยและเที่ยงธรรม เห็นแก่ประโยชน์ทางราชการ เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย ป.4 การปรับปรุงภารกิจของส่วน ให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตนว่าภารกิจใดมีความจำเป็น หรือ สมควรที่ จะยกเลิก ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงการดำเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคำนึงถึง 1. ยุทธศาสตร์ชาติ 2. แผนแม่บท 3. แผนการปฏิรูปประเทศ 4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 5. นโยบายของคณะรัฐมนตรี ที่แถลงต่อรัฐสภา 6. แผนอื่นที่เกี่ยวข้อง 7. กำลังเงินงบประมาณของประเทศ 8. ความคุ้มค่าของภารกิจ 9. สถานการณ์อื่น ป.5 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน 1. ส่วนราชการต้องตอบคำถามหรือแจ้งให้ประชาชนทราบภายใน 15 วัน 2. ให้ส่วนราชการจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ ระบบเครือข่ายสารสนเทศ ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจัดให้มีระบบ เครือข่ายสารสนเทศกลางขึ้น 3. การร้องเรียนหรือเสนอแนะ แจ้งผ่าน ก.พ.ร. 4. ส่วนราชการต้องจัดให้มีการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ งบประมาณรายจ่ายแต่ละปี รายการเกี่ยวกับการจัดซื้อหรือจัดจ้าง สัญญาใด ๆ ที่ได้มีการอนุมัติให้จัดซื้อหรือจัดจ้างแล้ว ให้ประชาชนสามารถขอดูหรือ ตรวจสอบได้ ณ สถานที่ทำการของส่วนราชการ และระบบเครือข่ายสารสนเทศของ ส่วนราชการ ป.6 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ จัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วน ราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของ ประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ อาจจัดให้มีการประเมินภาพรวมของผู้บังคับบัญชาแต่ละระดับ ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการเพื่อประโยชน์ในการบริหารงานบุคคล ให้ ส่วนราชการประเมินโดยคำนึงถึง 1. ผลการปฏิบัติงานเฉพาะตัวของข้าราชการผู้นั้นในตำแหน่งที่ปฏิบัติ 2. ประโยชน์และผลสัมฤทธิ์ที่หน่วยงานที่ข้าราชการสังกัดได้รับจากการปฏิบัติงานของ ข้าราชการผู้นั้น เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย หลักธรรมาภิบาล หลักธรรมาภิบาล คือ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีซึ่งเรารู้จักกันในนาม“Good Governance” มีองค์ประกอบที่สำคัญ 6 ประการดังนี้ 1. หลักนิติธรรม (The Rule of Law) : กฎ ระเบียบข้อบังคับและกติกาต่าง ๆ 2. หลักคุณธรรม (Morality) : การยึดถือและเชื่อมั่นในความถูกต้องดีงาม 3. หลักความโปร่งใส (Accountability) : เปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ตรวจสอบความถูกต้องได้ 4. หลักความมีส่วนร่วม (Participation) : มีส่วนร่วมรับรู้และร่วมเสนอความเห็น 5. หลักความรับผิดชอบ (Responsibility ) : ตระหนักในสิทธิหน้าที่ แก้ไขที่สิ่งที่ผิดพลาด 6. หลักความคุ้มค่า (Cost – effectiveness or Economy) : จัดการทรัพยากรที่มีจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง “เจ้าหน้าที่” บุคคล คณะบุคคล นิติบุคคล “วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” : การเตรียมการและการดำเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัด ให้มีคำสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึงการดำเนินการใด ๆ “การพิจารณาทางปกครอง” : การเตรียมการและการดำเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มี คำสั่งทางปกครอง คสั่งทางปกครอง : การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ ที่มีผลเป็ นการสร้างนิติ สัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลไม่ว่าจะเป็ นการถาวรหรือชั่วคราว อันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่ หมายความรวมถึงการออกกฎ กฎ” : พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อ บังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็ นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใด หรือบุคคลใดเป็ นการเฉพาะ “คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท” : คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีการจัด องค์กรและวิธีพิจารณาสำหรับการวินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย จำ : วิ มีกฏ พิ ไม่มีกฏ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองไม่บังคับใช้กับ (1) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี (2) องค์กรที่ใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ (3) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในงานทางนโยบายโดยตรง (4) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาคดี การ บังคับคดี และการวางทรัพย์ (5) การพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์และการสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา (6) การดำเนินงานเกี่ยวกับนโยบายการต่างประเทศ (7) การดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารหรือเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ทางยุทธการร่วมกับทหารในการ ป้ องกันและรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ (8) การดำเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (9) การดำเนินกิจการขององค์การทางศาสนา เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย ข้อสอบจริงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Q1. พรบ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองไม่บังคับใช้กับข้อใด ? ก. สำนักงานสภาการศึกษา ข. กระทรวงศึกษาธิการ ค. สภาการศึกษา ง. รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย สรุปคำสั่งทางปกครอง เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย คำสั่งทางปกครอง คำสั่งทางปกครอง จะต้องกระทำโดย “เจ้าหน้าที่” ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในเรื่องนั้น เจ้าหน้าที่พิจารณาทางปกครองไม่ได้ (1) เป็ นคู่กรณีเอง (2) เป็ นคู่หมั้นหรือคู่สมรสของคู่กรณี (3) เป็ นญาติของคู่กรณี คือ เป็ นบุพการีหรือผู้สืบสันดานไม่ว่าชั้นใด ๆ หรือเป็ นพี่น้องหรือลูกพี่ ลูกน้องนับได้เพียงภายในสามชั้น หรือเป็ นญาติเกี่ยวพันทางแต่งงานนับได้เพียงสองชั้น (4) เป็ นหรือเคยเป็ นผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้พิทักษ์หรือผู้แทนหรือตัวแทนของคู่กรณี (5) เป็ นเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ หรือเป็ นนายจ้างของคู่กรณี (6) กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง กฎกระทรวง กําหนดกรณีอื่นที่เจ้าหน้าจะทำการพิจารณาทางปกครองไม่ได้ พ.ศ. 2566 1. เคยเป็ นคู่หมั้นหรือคู่สมรสของคู่กรณี 2. เป็ นหรือเคยเป็ นผู้ซึ่งอยู่กินกันฉันสามีภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรสกับคู่กรณี 3. เป็ นหรือเคยเป็ นผู้ซึ่งอยู่กินกับคู่กรณีที่เป็ นบุคคลเพศเดียวกันโดยกำเนิดในลักษณะ เดียวกันกับชายหญิงที่อยู่กินกันฉันสามีภริยา 4. เป็ นบุพการีหรือผู้สืบสันดานในความเป็ นจริงไม่ว่าชั้นใด ๆ หรือเป็ นพี่น้องหรือลูกพี่ลูกน้อง ในความเป็ นจริงนับได้เพียงภายในสามชั้นของคู่กรณี 5. เป็ นหรือเคยเป็ นบุตรบุญธรรมของคู่กรณี หรือเป็ นหรือเคยเป็ นผู้รับคู่กรณีเป็ นบุตรบุญธรรม 6. เป็ นลุง ป้ า น้า อา ของคู่กรณี 7. เป็ นผู้พักอาศัยอยู่ร่วมกับคู่กรณีในสถานที่เดียวกันในลักษณะครัวเรือนเดียวกัน 8. เป็ นลูกจ้างหรือที่ปรึกษาซึ่งได้รับค่ตอบแทนของคู่กรณี จำ : คนที่เคยอยู่กินฉันสามีเพศเดียวกัน มันถึงมีบุพการีแลบุญธรรม ป้ าลุง ผู้อาศัย รวมลูกจ้างเรือนเดียวกัน เมื่อมีคู่กรณีคัดค้าน ให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้นหยุดการพิจารณาเรื่องไว้ก่อน และแจ้ง ให้ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งทราบ ผู้ที่กระทำการพิจารณาทางปกครองไม่ได้ (1) ผู้ซึ่งบรรลุนิติภาวะ (2) นิติบุคคล หรือคณะบุคคล (3) ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ผู้ซึ่งมีกฎหมายกำหนดเฉพาะ ผู้ซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย วิเคราะห์คำสั่งทางปกครอง 1. คำสั่งการปกครองโดยกฏหมาย (1) การบรรจุ การแต่งตั้ง การเลื่อนขั้นเงินเดือน การสั่งพักงาน หรือ การสั่งให้ออกจากงานไว้ก่อน หรือ การให้พ้นจากตำแหน่ง (2) การแจ้งผลการสอบ หรือ การวัดผลความรู้ หรือ ความสามารถของบุคคล (3) การไม่ออกหนังสือเดินทางสำหรับการเดินทางไปต่างประเทศ (4) การไม่ตรวจลงตราหนังสือเดินทางของคนต่างด้าว (5) การไม่ออกใบอนุญาต หรือ การไม่ต่ออายุใบอนุญาตทำงานของคนต่างด้าว (6) การสั่งให้เนรเทศ (7) การสั่งรับหรือไม่รับคำเสนอขาย รับจ้าง แลกเปลี่ยน ให้เช่า ซื้อ เช่า หรือ ให้สิทธิ ประโยชน์ (8) การอนุมัติสั่งซื้อ จ้าง แลกเปลี่ยน เช่า ขาย ให้เช่า หรือ ให้สิทธิประโยชน์ (9) การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคำเสนอ หรือ การดำเนินการอื่นใดในลักษณะเดียวกัน (10) การสั่งให้เป็ นผู้ทิ้งงาน (11) การให้ หรือ ไม่ให้ทุนการศึกษา 2. คำสั่งการปกครองโดยเนื้อหา 1. เป็ นการกระทำโดย “เจ้าหน้าที่” 2. เป็ นการ”ใช้อำนาจ” ทางปกครองตามกฏหมาย 3. เป็ นการกระทำที่มีผลเป็ นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล หรือมีผลกระทบต่อ สถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่บุคคล 4. เป็ นการกระทำที่มุ่งใช้บังคับแก่บุคคลใดเป็ น “การเฉพาะ” 5. เป็ นการกระทำที่มีผลออกไปสู่ภายนอกโดยตรง จำ : คำสั่งที่เป็ นผลเฉพาะบุคคล เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย ข้อสอบจริงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Q1. ข้อใดเป็นคำสั่งทางปกครอง ก. แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยร้ายแรง ข. สั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน ค. สั่งให้ยื่นคำร้องฟ้องคดีความ ง. แต่งตั้งคณะทำงานการเงิน Q2. ข้อใดเป็นคำสั่งทางปกครอง ก. ประกาศสอบแข่งขันข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษา ข. ประกาศผลการสอบแข่งขันข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ค. ระเบียบ กคศ. ง. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการให้ปรับปรุงห้องน้ำ เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย หน้าที่และความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ประเด็นที่ 1 พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา 2499 1.ข้าราชการ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็ น เจ้าพนักงาน 2. เจ้าพนักงาน ได้รับการแต่งตั้งให้เป็ น เจ้าพนักงานมีหน้าที่ นาย A เป็ นเจ้าพนักงานฝ่ ายบริหารทั่วไปของสำนัก ก. นาย B เป็ นเจ้าพนักงานฝ่ ายบริหารทั่วไปของสำนัก ก. นาย C เป็ นเจ้าพนักงานฝ่ ายบริหารทั่วไป ปฏิบัติหน้าที่การเงิน ของสำนัก ก. สำนักงาน ก. การกระทำโดยมิชอบ คือ การทำผิดกฏหมาย (ผิดหน้าที่) ไม่ใช่การแสวงหาผลประโยชน์ การกระทำโดยทุจริต คือ การผิดกฏหมาย (ผิดหน้าที่) มีการแสวงหาผลประโยชน์ เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย การกระทำที่เป็นละเมิด 1. กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ 2. กระทำโดยผิดกฎหมาย 3. การกระทำก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น /หน่วยงานของรัฐ 4. ความเสียหายเป็ นผลมาจากการกระทำดังกล่าวนั้น ประเด็นความรับผิดทางละเมิด 1. ความผิดทางละเมิดเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ 1. หน่วยงานรับผิดแทนเจ้าหน้าที่ 2. ถ้าเจ้าหน้าที่ไม่มีหน่วยงานสังกัด >>กระทรวงการคลังรับผิด 2. ความผิดทางละเมิดเกิดจากกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ 1. ฟ้ องหน่วยงานของรัฐไม่ได้ 2. ฟ้ องเจ้าหน้าที่ทำผิด 3. เจ้าหน้าที่รับผิดชอบจ่ายค่าสินไหมทดแทนเอง 3. กรณีที่การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน ให้รับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเฉพาะส่วนของตน จำ : ประมาทจงใจรับผิดเอง + ผิดหน้าที่หน่วยงานเคลียร์ให้ + ไร้สังกัดการคลังรับจบ การจ่ายค่าสินไหมทดแทน กรณีที่จะเรียกให้อีกฝ่ ายหนึ่งชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ตนให้มีกำหนดอายุความ 1 ปี กรณีละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนมีอายุความ 2 ปี กรณีที่กระทรวงการคลังเห็นว่าต้องรับผิด สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมมีอายุความ 1 ปี เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย ประเด็นที่ 2 พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย สรุปประเด็นข้อสอบครูผู้ช่วย ประเด็นที่ 3 พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม มาตรฐานทางจริยธรรม คือ หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ซ่ึง จะต้องประกอบ มี 7 ประการ ดังนี้ (1) ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และ การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข (2) ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกท่ีดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่ (3) กล้าตัดสินใจและกระทำในสิ่งท่ีถูกต้องชอบธรรม (4) คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว และมีจิตสาธารณะ (5) มุ่งผลสัมฤทธ์ิของงาน (6) ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็ นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ (7) ดำรงตนเป็ นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ จำ : บัน + สัตย์ +ตัดสินใจ + รวม + ผล + ธรรม + ดำรงตน ประเด็นที่ 4 ประมวลจริยธรรมข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (1) ยึดม่ันในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข (2) ซ่ือสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และต่อผู้เกี่ยวข้องในฐานะ ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (3) กล้าคิด กล้าตัดสินใจ กล้าแสดงออก และกระทำในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม (4) มีจิตอาสา จิตสาธารณะ มุ่งประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัวหรือพวกพ้อง (5) มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงานมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานอย่างเต็มกำลังความสามารถ ที่สะท้อนถึงคุณภาพ ผู้เรียนและคุณภาพการศึกษา (6) ปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเป็ นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ (7) ดำรงตนเป็ นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (8) เคารพในศักดิ์ศรีความเป็ นมนุษย์ คำนึงถึงสิทธิเด็ก และยอมรับความแตกต่างของบุคคล จำ : บัน + สัตย์ +ตัดสินใจ + รวม + ผล + ธรรม + ดำรง + สิทธิเด็ก เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย ข้อสอบจริงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Q1. ใครเป็นผู้ดำเนินการจัดทำมาตรฐานจริยธรรมการเมือง ? ก. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ข. คณะรัฐมนตรี ค. สภากลาโหม ง. รัฐสภา Q2. ใครเป็นผู้มีอำนาจวินิจฉัยมาตรการจริยธรรม? ก. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ข. คณะรัฐมนตรี ค. สภากลาโหม ง. รัฐสภา เฉพาะครูที่สมัครเข้าคอร์สเท่านั้นห้ามละเมิดลิขสิทธิ์ : KLN TUTUR ดำเนินความผิดตามกฏหมาย