คู่มือเตรียมสอบความรู้เพื่อขอใบอนุญาตนายหน้าประกันชีวิต PDF

Document Details

Uploaded by Deleted User

Tags

ประกันชีวิต กฎหมายประกันภัย นายหน้าประกันภัย ความรู้ทั่วไป

Summary

คู่มือเตรียมสอบความรู้เพื่อขอรับใบอนุญาต "นายหน้าประกันชีวิต" รวบรวมเนื้อหาและข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับวิชาจรรยาบรรณและความรู้เกี่ยวกับการประกันชีวิต รวมถึงประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยการประกันชีวิต พรบ.ประกันชีวิต และหลักการประกันชีวิต

Full Transcript

คู่มือเตรียมสอบความรู้ เพื่อขอรับใบอนุญาต “นายหน้ าประกันชีวติ ” คูม่ ือเตรี ยมสอบชุดนี ้จัดทําขึ ้นเพือ่ รวบรวมความรู้ และข้ อมูลต่างๆที่สาํ คัญโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ ใช้ ในการ เตรี ยมความพร้ อมในการสอบความรู้เพื่อขอรับใบอนุญาตเป็ น " นายหน้ าประกันชีวติ " โดยทางผู้จดั ทําหวังเป็...

คู่มือเตรียมสอบความรู้ เพื่อขอรับใบอนุญาต “นายหน้ าประกันชีวติ ” คูม่ ือเตรี ยมสอบชุดนี ้จัดทําขึ ้นเพือ่ รวบรวมความรู้ และข้ อมูลต่างๆที่สาํ คัญโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ ใช้ ในการ เตรี ยมความพร้ อมในการสอบความรู้เพื่อขอรับใบอนุญาตเป็ น " นายหน้ าประกันชีวติ " โดยทางผู้จดั ทําหวังเป็ นอย่างยิ่งว่า เอกสารชุดนี ้จะเป็ นประโยชน์แก่ทกุ ท่านในการนําความรู้นี ้ไปใช้ หรื อแนะนําให้ กบั ลูกค้ า ผู้เอาประกัน บุคคลทัว่ ไปได้ อย่าง ถูกต้ องเหมาะสมและเกิดประโยชน์สงู สุด เนื้อหาวิชา และเกณฑ์ การสอบ หมวดวิชำ จำนวนข้อสอบ คะแนนเต็ม เกณฑ์กำรผ่ำน 1.วิชำจรรยำบรรณ 70% 10 ข้อ 20 คะแนน 14 คะแนน 2.วิชำควำมรู ้เกี่ยวกับกำรประกันชีวติ 60% 2.1 ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิ ชย์วำ่ ด้วยกำรประกันชีวติ 20 ข้อ 40 คะแนน 2.2 พรบ.ประกันชีวติ พ.ศ.2535 แก้ไขเพิม ่ เติมโดย พรบ.ประกัน 20 ข้อ 40 คะแนน 108 คะแนน ชีวติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 50 ข้อ 100 คะแนน 2.3 หลักกำรประกันชีวติ รวม 100 ข้อ 200 คะแนน 122 คะแนน หมายเหตุ คิดคะแนนสอบข้ อละ 2 คะแนน จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 1 1. กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ องกับนายหน้ าประกันชีวติ  ประมวลกฏหมำยแพ่งและพำณิ ชย์วำ่ ด้วยกำรประกันชีวติ  พระรำชบัญญัติประกันชีวติ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชบัญญัติประกันชีวติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ประเภทของสั ญญาประกันภัย 1. สัญญาประกันวินาศภัย สัญญำซึ่งบุคคลหนึ่งตกลงจะใช้คำ่ สิ นไหมทดแทนหรื อใช้เงินจำนวนหนึ่งให้ ในกรณี มีวนิ ำศภัย หรื อเหตุอย่ำงอื่น ใดในอนำคตดัง่ ได้ระบุไว้ในสัญญำ และในกำรนี้บุคคลอีกคนหนึ่งตกลงจะส่งเงินที่เรี ยกว่ำ “ เบี้ยประกันภัย ” 2. สัญญาประกันชีวติ สัญญำที่คู่สญ ั ญำฝ่ ำยผูร้ ับประกันภัยตกลงชดใช้เงินจำนวนหนึ่งให้ เมื่อมีเหตุอย่ำงหนึ่งในอนำคตตำมที่ระบุไว้ใน สัญญำ กำรชดใช้เงินของผูร้ ับประกัน อำศัยควำมทรงชีพหรื อควำมมรณะของผูเ้ อำประกัน ลักษณะของสั ญญาประกันภัย ( มาตรา 861 ) ลักษณะของสัญญำประกันภัย เป็ นสัญญำซึ่งบุคคลหนึ่งตกลงจะใช้ค่ำสิ นไหมทดแทนหรื อใช้เงินจำนวนหนึ่งให้ ใน กรณี มีวนิ ำศภัย หรื อเหตุอย่ำงอื่นใดในอนำคต ดัง่ ได้ระบุไว้ในสัญญำ และในกำรนี้บุคคลอีกคนหนึ่งตกลงจะส่งเงินที่ เรี ยกว่ำ “เบี้ยประกันภัย” ลักษณะของสัญญาประกันชีวติ  เป็ นสัญญำต่ำงตอบแทน  เป็ นสัญญำเสี่ ยงโชค  เป็ นสัญญำที่ตอ้ งกำรควำมซื่อสัตย์อย่ำงยิง่  เป็ นสัญญำที่ตอ้ งมีหลักฐำนเป็ นหนังสื อ  เป็ นสัญญำที่มีหน่วยงำนภำครัฐกำกับดูแล สัญญาต่ างตอบแทน ผูเ้ อำประกันภัย >>> มีหน้ำที่ส่งเบี้ยประกัน ผูร้ ับประกันภัย >>> มีหน้ำที่ ชดใช้ เงินค่ าสินไหมทดแทน หรื อจำนวนเงินเอำประกันให้ผรู ้ ับ ประโยชน์เมื่อผูเ้ อำประกันเสี ยชีวติ ระหว่ำงสัญญำ จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 2 สัญญาเสี่ยงโชค สัญญำซึ่งกำรชำระหนี้ตำมสัญญำจะทำต่อเมื่อมีเหตุกำรณ์อนั ไม่แน่นอนเกิดขึ้นในอนำคต ฝ่ ำยผูเ้ อำประกันภัย เสี่ ยงโชคโดยกำรชำระเบี้ยประกันภัย ฝ่ ำยผูร้ ับประกันภัย เสี่ ยงโชคที่จะต้องเสี ยค่ำสิ นไหมทดแทน หำกว่ำเกิดภัยนั้นตำมที่ระบุในสัญญำ สัญญาทีต่ ้ องการความซื่ อสัตย์อย่ างยิง่ ผูข้ อเอำประกันภัยต้องแถลงข้อควำมจริ งทั้งหมดที่ผรู ้ ับประกันภัยต้องกำรทรำบ กรณี ผเู ้ อำประกันภัย ปกปิ ด ข้อควำมจริ ง แถลงควำมเท็จในสิ่ งซึ่งเป็ นสำระสำคัญ หากผู้รับประกันภัยทราบภายหลัง จากสัญญามีผลบังคับก็สามารถ บอกล้ างเป็ นโมฆียกรรมได้ สัญญาทีต่ ้ องมีหลักฐานเป็ นหนังสื อ หลักเกณฑ์ในกำรทำสัญญำประกันชีวติ กรมธรรม์ที่สมบูรณ์ตอ้ งมีเนื้อควำมตำมสัญญำ และต้องลงลำยมือชื่อของ ผูร้ ับประกัน กรมธรรม์ประกันภัยที่สมบูรณ์ ต้องประกอบด้วย 1. จำนวนเงินซึ่ งเอำประกัน 2. จำนวนเบี้ยประกันภัย และวิธีส่งเบี้ยประกันภัย 3. เวลำเริ่ มต้น และเวลำสิ้นสุดของสัญญำ 4. ชื่อหรื อยีห่ อ้ ของผูร้ ับประกันภัย 5. ชื่อหรื อยีห่ อ้ ของผูเ้ อำประกันภัย 6. ชื่อผูร้ ับประโยชน์ ถ้ำจะพึงมี (บำงกรณี ไม่ระบุก็ได้) 7. วันทำสัญญำประกันภัย (วันที่ทำสัญญำประกันภัยเกิดขึ้น) 8. สถำนที่ และวันที่ได้ทำกรมธรรม์ประกันภัย (วันที่ออกกรมธรรม์) จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 3 สัญญาทีม่ หี น่ วยงานภาครัฐกากับดูแล ในที่น้ ีหน่วยงำนที่กำกับดูแลได้แก่ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริ มกำรประกอบธุรกิจประกันภัย หรื อ คปภ. สำนักงำนใหญ่ ถนนรัชดำภิเษก บุคคลเกีย่ วข้ องกับสั ญญาประกันภัย 1. ผู้เอาประกันภัย หมำยถึง คู่สญ ั ญำฝ่ ำยซึ่งตกลงจะส่งเบี้ยประกันภัย ( ลูกค้ำ ) 2. ผู้รับประกันภัย หมำยถึง คู่สญ ั ญำฝ่ ำยซึ่งตกลงจะใช้ค่ำสิ นไหมทดแทน หรื อใช้เงินจำนวนหนึ่งให้ ( บริ ษทั ) 3. ผู้รับประโยชน์ หมำยถึง บุคคลผูจ้ ะพึงได้รับค่ำสิ นไหมทดแทนหรื อรับจำนวนเงินใช้ให้ ความสมบูรณ์ ของสั ญญาประกันภัย 1. โดยฝ่ ำยหนึ่ง แสดงเจตนำทำคำเสนอ คือ ลูกค้ำลงชื่อและลงรำยละเอียดในใบคำขอเอำประกัน 2. อีกฝ่ ำยหนึ่งทำคำสนอง คือ บริ ษทั ตกลงอนุมตั ิพจิ ำรณำรับประกัน จึงเกิดสัญญำประกันชีวติ ขึ้น (กรณี ผเู ้ ยำว์เอำประกันชีวติ ต้องได้รับควำมยินยอมจำกพ่อแม่, ผูป้ กครอง) หน้ าทีใ่ นการเปิ ดเผยข้ อความจริง 1. ผูท้ ี่มีหน้ำที่เปิ ดเผยข้อควำมจริ งคือ ผูเ้ อำประกันภัย 2. เวลำที่ตอ้ งเปิ ดเผยข้อควำมจริ งคือ ผูเ้ อำประกันมีหน้ำที่เปิ ดเผยข้อควำมจริ งขณะยืน่ ขอเอำประกันภัยและหน้ำที่จะ มีอยูต่ ่อไปจนกระทัง่ ผูร้ ับประกันตอบตกลงรับประกัน 3. ข้อควำมจริ งอันเป็ นสำระสำคัญที่ตอ้ งเปิ ดเผยคือ เรื่ องที่ผรู ้ ับประกันภัยทรำบแล้ว จะจูงใจให้ผรู ้ ับประกันภัยเรี ยก เบี้ยสูงขึ้น หรื อบอกปั ดไม่ยอมรับประกัน 4. ผลของกำรไม่เปิ ดเผยข้อควำมจริ งกรณี ผเู ้ อำประกันไม่เปิ ดเผยควำมจริ ง หรื อแถลงข้อควำมอันเป็ นเท็จสัญญำ ประกันชีวติ นั้นตกเป็ นโมฆียกรรม 5. กำหนดเวลำในกำรบอกล้ำงบริ ษทั จะต้องกำหนดระยะเวลำในกำรใช้สิทธิบอกล้ำงภำยใน 2 ปี นับแต่วนั ทำสัญญำ หรื อต่ออำยุสญ ั ญำครั้งสุดท้ำย และต้องใช้สิทธิบอกล้ำงภำยใน 1 เดือน นับแต่ทรำบมูลเหตุอนั จะบอกล้ำงได้ มิฉะนั้นสิ ทธิบอกล้ำงตกไป จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 4 การแถลงอายุคลาดเคลื่อน กรณี ที่ 1 : อำยุที่ถูกต้องอยูใ่ นพิกดั อัตรำทำงกำรค้ำปกติ  แถลงอำยุต่ำกว่ำควำมเป็ นจริ ง (ชำระเบี้ยต่ำกว่ำควำมจริ ง) บริ ษทั จะลดเงินเอำประกันตำมส่วน  แถลงอำยุสูงกว่ำควำมเป็ นจริ ง (ชำระเบี้ยสูงกว่ำควำมจริ ง) บริ ษทั จะคืนเบี้ยประกันส่วนที่เกินแก่ผเู ้ อำประกัน กรณี ที่ 2 : อำยุที่ถูกต้องอยูน่ อกพิกดั อัตรำทำงกำรค้ำปกติ  สัญญำประกันชีวติ จะตกเป็ นโมฆียะ บริ ษทั จะคืนเบี้ย และบอกเลิกสัญญำประกันภัย หน้ าที่ของผู้รับประกันภัย 1. หน้ำที่ในกำรออกกรมธรรม์ประกันภัย 2. หน้ำที่ชดใช้เงินตำมสัญญำ  สัญญำประกันชีวติ แบบอำศัยควำมทรงชีพ  สัญญำประกันชีวติ แบบอำศัยควำมมรณะ  สัญญำประกันชีวติ แบบอำศัยทั้งกำรทรงชีพและควำมมรณะ ข้ อยกเว้ นความรับผิดของผู้รับประกันภัย 1. ผูเ้ อำประกันทำอัตวินิบำตกรรมด้วยใจสมัคร ภำยใน 1 ปี นับแต่วนั ทำสัญญำหรื อ ต่ออำยุสญ ั ญำครั้งสุดท้ำย “ ผู้รับประกันจะคืนเบีย้ ประกันภัย ทีไ่ ด้ ชาระให้ แก่ บริษัทแล้ วทั้งหมด ” 2. บุคคลนั้นถูกผูร้ ับประโยชน์ฆ่ำตำยโดยเจตนำ “ ผู้รับประกันภัยจาต้ องใช้ เงินค่ าไถ่ ถอนกรมธรรม์แก่ทายาท ” การเปลีย่ นตัวผู้รับประโยชน์ ผูร้ ับประโยชน์ คือ บุคคลที่ผเู ้ อำประกันภัยกำหนดให้เป็ นผูร้ ับจำนวนเงินเอำประกันภัยกรณี ผเู ้ อำประกันภัยเสี ยชีวติ  ผูร้ ับประโยชน์เป็ นใครก็ได้ไม่จำเป็ นต้องมีส่วนได้เสี ย  กรณี ผรู ้ ับประโยชน์ระบุไว้หลำยคน หำกผูร้ ับประโยชน์คนใด เสี ยชีวติ ก่อนผูเ้ อำประกัน จำนวนเงินเอำ ประกันในส่วนของผูร้ ับประโยชน์คนที่เสี ยชีวติ ก่อนจะตกแก่ผรู ้ ับประโยชน์ที่เหลือ คนละเท่ำๆ กัน  ผูเ้ อำประกันสำมำรถเปลี่ยนตัวผูร้ ับประโยชน์ได้โดยแจ้งให้ผรู ้ ับประกันทรำบ และยินยอม  หำกผูเ้ อำประกันส่งมอบกรมธรรม์ให้ผรู ้ ับประโยชน์แล้ว และ ผูร้ ับประโยชน์ได้แจ้งเป็ นหนังสื อไปยังบริ ษทั ว่ำ ตนจะถือเอำประโยชน์แห่งสัญญำนั้น ผูเ้ อำประกันจะไม่สำมำรถเปลี่ยนตัวผูร้ ับประโยชน์ได้อีกต่อไป จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 5 การบอกเลิกสั ญญาประกันชี วติ  ผูเ้ อำประกันภัย สำมำรถแจ้งยกเลิกภำยใน 15 วัน นับตั้งแต่วนั ที่ได้รับกรมธรรม์ (Free Look Period)  โดยกำรงดไม่ส่งเบี้ยประกันในปี ต่อไป  หำกมีมูลค่ำเงินสดเกิดขึ้นแล้ว ผูเ้ อำประกันจะได้รับมูลค่ำเงินสด (มูลค่ำเงินสดจะเกิดขึ้นหลังกรมธรรม์ปีที่2) สิ ทธิของทายาทผู้เอาประกันภัย ผูร้ ับประกันภัยไม่สำมำรถฟ้องร้องเรี ยกค่ำเสี ยหำยกับบุคคลที่ทำให้ผเู ้ อำประกันเสี ยชีวติ ได้ เพรำะเป็ นสิ ทธิของทำยำทผูเ้ อำ ประกันในกำรเรี ยกร้อง สิ ทธิของเจ้ าหนีข้ องผู้เอาประกันภัย  กรณี ไม่ได้ระบุตวั ผูร้ ับประโยชน์ไว้เฉพำะเจำะจงจำนวนเงินเอำประกันถือเป็ นทรัพย์สินส่วนหนึ่งของกอง มรดกเจ้ำหนี้สำมำรถบังคับชำระหนี้จำกจำนวนเงินดังกล่ำวได้  กรณี ระบุตวั ผูร้ ับประโยชน์ไว้เฉพำะเจำะจงเจ้ำหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ไม่เกินจำนวนเบี้ยประกันภัยที่ผเู ้ อำ ประกันภัยได้ชำระส่งไปแล้วเท่ำนั้น  กรณี ระบุให้เจ้ำหนี้เป็ นผูร้ ับประโยชน์ในกรมธรรม์เจ้ำหนี้มีสิทธิได้รับเงินเอำประกันภัยเต็มจำนวน อายุความ อำยุควำม คือ ระยะเวลำที่กฎหมำยกำหนดให้ใช้สิทธิเรี ยกร้องภำยใน 10 ปี หำกไม่ได้ดำเนินกำรตำมที่กฎหมำยกำหนด คดี ถือว่ำขำดอำยุควำม ผูเ้ อำประกันใช้กรมธรรม์เป็ นหลักฐำนกำรฟ้องร้อง ผูร้ ับประกันใช้ใบคำขอเอำประกันเป็ นหลักฐำนกำร ฟ้องร้อง จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 6 กฏเกณฑ์ การใช้ สิทธิลดหย่อนภาษี ในการซื้อประกันชีวติ เงื่อนไข การใช้ สิทธิ์ลดหย่ อนภาษี 1. ระยะเวลำเอำประกันภัยตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป 1. ระยะเวลำเอำประกันภัยตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป 2. นำเบี้ยฯไปหักลดหย่อนภำษีได้ไม่เกิน 100,000 บำท 2. นำเบี้ย สัญญำหลัก ไปหักลดหย่อนภำษีได้ไม่เกิน (ส่วนตัว) 100,000 บำท (ส่วนตัว) 3. ใบเสร็จ / หนังสื อรับรองกำรชำระเบี้ย 3. แยกรำยกำรในใบเสร็ จรับเงิน โดยให้หกั ลดหย่อน 4. ไม่กำหนดเงื่อนไขกำรจ่ำยเงินคืน ได้เฉพำะเบี้ยชีวติ เท่ำนั้น 4.1 กรณี มีเงินจ่ำยคืนทุกปี เงินจ่ำยคืนแต่ละปี ต้องไม่ เกิน 20% ของเบี้ยฯรำยปี 4.2 กรณี มีเงินจ่ำยคืนเป็ นช่วง เช่น ทุก 3 ปี ทุก 5 ปี เงิน จ่ำยคืนแต่ละช่วงต้องไม่เกิน 20% ของเบี้ยสะสม ในช่วงนั้น 4.3 กรณี ที่จ่ำยเงินคืนไม่เข้ำหลักเกณฑ์ 4.1 และ 4.2 เงิน จ่ำยคืนสะสมต้องไม่เกิน 20% ของเบี้ยสะสม ค่ำลดหย่อนแบบประกันบำนำญ (ส่วนตัว) 1. เป็ นกำรจ่ำยเบี้ยประกันภัยสำหรับกรมธรรม์ ประกันชีวติ แบบบำนำญที่มีกำหนดเวลำตั้งแต่สิบ ปี ขึ้นไป 2. เป็ นกำรประกันชีวติ ที่ได้เอำประกันไว้กบั ผูร้ ับ ประกันภัยที่ประกอบกิจกำรประกันชีวติ ใน รำชอำณำจักร 3. มีกำรกำหนดกำรจ่ำยผลประโยชน์เงินบำนำญเป็ น รำยงวดอย่ำงสม่ำเสมอ ซึ่งจำนวนผลประโยชน์ เงินบำนำญดังกล่ำวจะจ่ำยเท่ำกันทุกงวดหรื อจ่ำย ในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นตำมระยะเวลำกำรเอำประกัน ก็ได้ โดยกำรจ่ำยผลประโยชน์เงินบำนำญจะจ่ำย ตำมกำรทรงชีพที่อำจมีกำรรับรองจำนวนงวดใน กำรจ่ำยที่แน่นอน 4. มีกำรกำหนดช่วงอำยุของกำรจ่ำยผลประโยชน์เงิน บำนำญเมื่อผูม้ ีเงินได้มีอำยุต้งั แต่ 55 ปี ขึ้นไป ถึง อำยุ 85 ปี หรื อกว่ำนั้น และผูม้ ีเงินได้ตอ้ งจ่ำยเบี้ย ประกันภัยครบถ้วนแล้วก่อนได้รับผลประโยชน์ เงินบำนำญ ให้ยกเว้นภำษีเงินได้สำหรับเงินได้ จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 7 เท่ำที่จ่ำยเป็ นเบี้ยประกันภัย สำหรับกำรประกัน ชีวติ แบบบำนำญของผูม้ ีเงินได้เพิม่ ขึ้นอีกในอัตรำ ร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมิน แต่ไม่เกิน 200,000 บำท ทั้งนี้ สำหรับเบี้ยประกันที่จ่ำยตั้งแต่วนั ที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2553 เป็ นต้นไป หักค่ำลดหย่อนประกันชีวติ คู่สมรส ถ้ำควำมเป็ นสำมีภรรยำมีตลอดปี ภำษีและภรรยำมีประกัน ชีวติ นำเบี้ยมำหักเพิม่ ได้ 10,000 บำท หักค่ำลดหย่อนประกันชีวติ บิดำ มำรดำ 1. นำไปหักลดหย่อนภำษีได้เฉพำะ เบี้ยสัญญำ สุขภำพ รวมกันไม่เกิน 15,000 บำท 2. ต้องมีอำยุ 60 ปี บริ บูรณ์ 3. มีเงินได้พึงประเมินไม่เกินคนละ 30,000 บำท จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 8 2. พระราชบัญญัติประกันชีวติ พ.ศ.2535 แก้ไขเพิม่ เติม โดย พระราชบัญญัติประกันชีวติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551  ควบคุมผูป้ ระกอบธุรกิจประกันชีวติ คือ บริ ษทั ในประเทศไทย และสำขำของบริ ษทั ต่ำงประเทศ  ควบคุมบุคลำกรที่เกี่ยวข้องกับกำรประกันภัย คือ ตัวแทน นำยหน้ำ นักคณิ ตศำสตร์ประกันภัยผูป้ ระเมินวินำศภัย และดูแลลูกค้ำผูถ้ ือกรมธรรม์ มำตรำ 5 “นายทะเบียน” หมำยควำมว่ำ เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริ มกำรประกอบธุรกิจประกันภัยหรื อผูซ้ ่ ึง เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริ มกำรประกอบธุรกิจประกันภัยมอบหมำย มำตรำ 6 ให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้ และให้มีอำนำจแต่งตั้งพนักงำนเจ้ำหน้ำที่กบั ออกกฎกระทรวงกำหนดค่ำธรรมเนียมไม่เกินอัตรำในบัญชีทำ้ ยพระรำชบัญญัติน้ ี และกำหนดกิจกำรอื่นเพื่อ ปฏิบตั ิกำรตำมพระรำชบัญญัติน้ ี กับออกประกำศตำมบทแห่งพระรำชบัญญัติน้ ี โครงสร้ างพระราชบัญญัติ พระรำชบัญญัติประกันชีวติ พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระรำชบัญญัติประกันชีวติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 พระรำชบัญญัติท้ งั 2 ฉบับถูกแบ่งออกเป็ น 6 หมวดดังนี้ หมวด 1 บริ ษทั หมวด 2 กำรควบคุมบริ ษทั หมวด 3 กำรเพิกถอนใบอนุญำตประกอบ ธุรกิจประกันชีวติ หมวด 4 ตัวแทนประกันชีวติ และนำยหน้ำประกันชีวติ หมวด 5 กองทุนประกันชีวติ หมวด 6 บทกำหนดโทษ จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 9 สาระสาคัญของพระราชบัญญัติ กฎหมำยที่เกี่ยวกับกำรกำกับ ดูแลควำมมัน่ คงทำงกำรเงิน กำรวำงหลักทรัพย์ประกันไว้กบั นำยทะเบียนบริ ษทั ผูป้ ระกอบ ธุรกิจประกันภัยจะต้องวำงหลักทรัพย์เป็ นเงินสด พันธบัตร หรื อ ทรัพย์สินอื่นๆ ตำมที่กำหนดไว้กบั นำยทะเบียน เพื่อเป็ น หลักประกันสำหรับลูกค้ำ ในอันที่จะได้รับกำรชำระหนี้ก่อนเจ้ำหนี้รำยอื่น วางหลักทรัพย์ ไม่ ตา่ กว่ า 20,000,000 บาท บริษัท กำรประกอบธุรกิจประกันชีวติ จะกระทำได้เมื่อได้จดั ตั้งขึ้นในรู ปบริ ษทั มหำชนจำกัดตำมกฎหมำยว่ำด้วยบริ ษทั มหำชนจำกัด และโดยได้รับใบอนุญำตประกอบธุรกิจประกันชีวติ จำกรัฐมนตรี โดยอนุมตั ิคณะรัฐมนตรี บริษัทประกันชีวติ ต่ างประเทศ จะตั้งสำขำของบริ ษทั เพื่อประกอบธุรกิจประกันชีวติ ตำมพระรำชบัญญัติน้ ีได้ ต่อเมื่อได้รับใบอนุญำตจำกรัฐมนตรี โดยอนุมตั ิคณะรัฐมนตรี ั ชำติไทยถืออยูไ่ ม่ต่ำกว่ำสำมในสี่ ของจำนวนหุน้ ที่จำหน่ำยได้แล้วทั้งหมด บริ ษทั ต้องมีจำนวนหุน้ ที่บุคคลผูม้ ีสญ และต้องมีกรรมกำรเป็ นบุคคลผูม้ ีสญ ั ชำติไทยไม่ต่ำกว่ำสำมในสี่ ของจำนวนกรรมกำรทั้งหมด บริ ษทั ที่ได้รับใบอนุญำตประกอบธุรกิจประกันชีวติ จะควบกับบริ ษทั จำกัดหรื อบริ ษทั มหำชนจำกัดอื่นมิได้ เว้น แต่จะควบกับบริ ษทั ที่ได้รับใบอนุญำตประกอบธุรกิจประกันชีวติ ด้วยกัน กำรควบบริ ษทั เข้ำกัน ให้กระทำได้เมื่อได้รับ ควำมเห็นชอบจำกคณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริ มกำรประกอบธุรกิจประกันภัย ในกรณี ใบอนุญำตประกอบธุรกิจประกันชีวติ ของบริ ษทั ใดสิ้นอำยุ ให้ถือว่ำบริ ษทั นั้นถูกสัง่ เพิกถอนใบอนุญำต ประกอบธุรกิจประกันชีวติ บริ ษทั ที่จะเปิ ดสำขำหรื อย้ำยที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่ หรื อสำนักงำนสำขำต้องได้รับอนุญำตจำกนำยทะเบียนและให้ เป็ นไปตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำรและเงื่อนไขที่คณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริ มกำรประกอบธุรกิจประกันภัยประกำศกำหนด การจัดสรรเบีย้ ประกันภัยไว้ เป็ นเงินสารอง บริ ษทั ต้องจัดสรรเบี้ยประกันภัยไว้เป็ นเงินสำรองประกันภัย สำหรับกรมธรรม์ประกันภัยที่ยงั มีควำมผูกพันอยูแ่ ละเงิน สำรองอื่นตำมที่คณะกรรมกำรประกำศกำหนด จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 10 การดารงเงินกองทุนและสิ นทรัพย์ สภาพคล่ อง บริ ษทั ต้องดำรงเงินไว้ซ่ ึงเงินกองทุนตลอดเวลำที่ประกอบธุรกิจประกันชีวติ เป็ นอัตรำส่วนกับสิ นทรัพย์ หนี้สิน ภำระ ผูกพัน หรื อตำมควำมเสี่ ยง หรื อตำมที่สำนักงำน คปภ. กำหนด ( ไม่ ตา่ กว่ า 50,000,000 บาท ) กฎหมายทีค่ ้ ุมครองประชาชนโดยตรง 1. กฎหมำยที่เกี่ยวกับพฤติกรรมทำงกำรตลำดของบริ ษทั ประกันภัยตัวแทน และนำยหน้ำประกันภัย  แบบและข้อควำมในกรมธรรม์ประกันภัย  วิธีกำรออก และเสนอขำยกรมธรรม์ประกันภัย  กำรกำกับกำรโฆษณำของบริ ษทั ฯ  กำรกำกับบุคลำกรประกันภัย 2. กำรจัดตั้งกองทุนประกันชีวติ ใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันชี วติ 1. บริ ษทั มหำชนจำกัด 2. สำขำของบริ ษทั ประกันภัยในต่ำงประเทศ สิ ทธิในการใช้ คาว่า “ประกันชีวติ ” เช่น บริ ษทั ประกันชีวติ ที่ได้รับใบอนุญำตให้ประกอบธุรกิจประกันชีวติ ตัวแทนประกันชีวติ หรื อนำยหน้ำประกันชีวติ ที่ใช้ เพื่อเป็ นคำแสดงชื่อในธุรกิจกำรเป็ นตัวแทนประกันชีวติ หรื อนำยหน้ำประกันชีวติ ของตน การควบคุมกิจการดาเนินการของบริษัท บริษัทกระทาการและงดเว้ นกระทาการ 1. ห้ำมประกอบธุรกิจประกันวินำศภัย 2. ห้ำมลดทุนโดยมิได้รับอนุญำตจำกคณะกรรมกำร 3. ห้ำมโฆษณำจูงใจอันเป็ นเท็จหรื อเกินควำมจริ งเกี่ยวกับบริ ษทั หรื อธุรกิจประกันชีวติ ของบริ ษทั 4. ห้ำมมิให้บริ ษทั ประวิงกำรใช้เงินแก่ผเู ้ อำประกันภัย หรื อ ผูร้ ับประโยชน์ หรื อประวิงกำรคืนเบี้ยประกันภัยที่ตอ้ ง จ่ำย หรื อคืนโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรื อจ่ำยหรื อคืนไปโดยไม่สุจริ ต จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 11 การกากับการจ่ ายเงินตามสั ญญาประกันชีวติ ให้ เกิดความเป็ นธรรม การประวิงการใช้ เงินตามสัญญาประกันชีวติ  ห้ำมมิให้บริ ษทั ประวิงกำรใช้เงิน หรื อคืนเบี้ยแก่ผเู ้ อำประกันภัยหรื อผูร้ ับประโยชน์ โดยไม่มีเหตุอนั ควรหรื อโดย ไม่สุจริ ต  ฝ่ ำฝื นมีควำมผิดและมีโทษปรับไม่เกิน 500,000 บำท และถ้ำเป็ นควำมผิดต่อเนื่องให้ปรับอีกวันละ 20,000 บำท ตลอดเวลำที่ฝ่ำฝื นอยู่ ตัวแทน / นายหน้ าประกันชีวิต ตัวแทน บริ ษทั มอบหมำยให้ชกั ชวนคนอื่นมำทำประกันชีวติ นำยหน้ำ ผูช้ ้ ีช่อง จัดกำรให้คนมำทำประกันชีวติ ตัวแทน นายหน้ า  ชักชวน  ชี้ช่อง  รับเบี้ยได้เมื่อมีหนังสื อมอบอำนำจ  รับเบี้ยได้เมื่อมีหนังสื อมอบอำนำจ  บุคคลธรรมดำ  บุคคลธรรมดำ / นิติบุคคล  ไม่มีสำนักงำน  ต้องมีสำนักงำน  ไม่ตอ้ งทำสมุดทะเบียน  ทำสมุดทะเบียน / บัญชี คุณสมบัติของผู้รับใบอนุญาตเป็ นนายหน้ าประกันชี วิต 1. บรรลุนิติภำวะ 2. มีภูมิลำเนำในประเทศไทย 3. ไม่เป็ นคนวิกลจริ ตหรื อจิตฟั่นเฟื อนไม่สมประกอบ 4. ไม่เคยต้องโทษจำคุก โดยคำพิพำกษำถึงที่สุดให้จำคุกในควำมผิด เกี่ยวกับทรัพย์ เว้นแต่ได้พน้ โทษมำแล้วไม่นอ้ ย กว่ำ 5 ปี ก่อนวันขอรับใบอนุญำต 5. ไม่เป็ นบุคคลล้มละลำย 6. ไม่เป็ นตัวแทนประกันประกันชีวติ 7. ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญำตเป็ นตัวแทนประกันชีวติ หรื อใบอนุญำตนำยหน้ำประกันชีวติ ภำยในระยะเวลำ 5 ปี ก่อนขอรับใบอนุญำต 8. ได้รับกำรศึกษำวิชำประกันชีวติ จำกสถำบันที่ คปภ. รับรอง และมีหนังสื อรับรองกำรอบรม ตำมหลักสูตรที่ กำหนด จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 12 การยื่นขอรับใบอนุญาตเป็ นนายหน้ าประกันชี วติ เมื่อมีคุณสมบัตคิ รบถ้ วน สามารถขอรับใบอนุญาตได้ จากนายทะเบียน 1. สอบผ่ำนตำมเกณฑ์ที่ คปภ.กำหนด 2. ยืน่ ขอรับใบอนุญำตได้ต้ งั แต่วนั ทำกำรถัดไป ณ สำนักงำน คปภ. ถนนรัชดำภิเษก หรื อ สำนักงำน คปภ.เขตบำง นำ/ท่ำพระ สำนักงำน คปภ.จังหวัด ทุกจังหวัด อัตราค่ าธรรมเนียม กาหนดโดย กฎกระทรวง  ค่ำสมัครสอบควำมรู ้ 200 บำท  ค่ำขอรับใบอนุญำตเป็ นนำยหน้ำ 300 บำท  ค่ำต่อใบอนุญำตเป็ นนำยหน้ำ ขอต่ออำยุใบอนุญำตครั้งที่ 1 200 บำท  ค่ำต่อใบอนุญำตเป็ นนำยหน้ำ ขอต่ออำยุใบอนุญำตครั้งที่ 2 200 บำท  ค่ำต่อใบอนุญำตเป็ นนำยหน้ำ ขอต่ออำยุใบอนุญำตครั้งที่ 3 และครั้งต่อๆ ไป 5ปี 800 บำท บทกาหนดโทษ  กระทำกำรเป็ นนำยหน้ำประกันชีวติ โดยไม่ได้รับอนุญำตจำกนำยทะเบียนจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรื อปรับไม่เกิน 50,000 บำท หรื อทั้งจำทั้งปรับ  นำยหน้ำประกันชีวติ ผูใ้ ดทำสัญญำโดยไม่ได้รับมอบอำนำจเป็ นหนังสื อจำกบริ ษทั จำคุกไม่เกิน 2 ปี หรื อปรับไม่ เกิน 200,000 บำท หรื อทั้งจำทั้งปรับ  นำยหน้ำไม่แสดงใบอนุญำตเป็ นนำยหน้ำประกันชีวติ ทุกครั้งที่มีกำรชี้ช่องให้บุคคลทำสัญญำ หรื อนำข้อควำม เรื่ องภำพโฆษณำ หรื อหนังสื อชี้ช่องที่ไม่ได้รับควำมเห็นชอบจำกบริ ษทั ไปใช้ในกำรชี้ช่องให้บุคคลทำสัญญำ ประกันชีวติ ฝ่ ำฝื นปรับไม่เกิน 30,000 บำท และถ้ำหำกเป็ นเหตุให้เกิดควำมเสี ยหำยแก่บริ ษทั หรื อผูเ้ อำประกันภัย จำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรื อทั้งจำทั้งปรับ จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 13 การอุทธรณ์ คาสั่ งเพิกถอนใบอนุญาต ผูถ้ ูกสัง่ เพิกถอนใบอนุญำตนำยหน้ำมี สิ ทธิยนื่ อุทธรณ์ต่อ คณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริ มกำรประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ) ภำยใน 15 วันนับแต่ ที่ได้ทรำบ และคำสัง่ คำวินิจฉัยกำรอุทธรณ์ของคปภ.ถือเป็ นที่สิ้นสุด กองทุนประกันชี วติ มีฐำนะเป็ นนิติบุคคล มีวตั ถุประสงค์เพื่อคุม้ ครองเจ้ำหนี้ซ่ ึงมีสิทธิได้รับชำระหนี้สินที่เกิดจำกกำรเอำประกันภัยในกรณี ที่ บริ ษทั ล้มละลำยหรื อถูกเพิกถอนใบอนุญำตประกอบธุรกิจประกันชีวติ และเพื่อพัฒนำธุรกิจประกันชีวติ ให้มีควำมมัน่ คง และมีเสถียรภำพ ทีม่ าของเงินกองทุนประกันชี วติ  เงินที่คปภ.กำหนดให้บริ ษทั นำส่ง  เงินค่ำปรับบริ ษทั ประกันชีวติ  เงินค่ำสิ นไหม จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 14 3. หลักการประกันชีวติ  หลักการประกันชีวติ  ประเภทของการประกันชีวติ หลักการประกันชีวติ กำรประกันชีวติ คือ สัญญำซึ่งผูร้ ับประกันภัยตกลงว่ำจะจ่ำยเงินหรื อใช้เงินจำนวนหนึ่งให้เมื่อผูเ้ อำประกันภัยยังคงมีชีวติ อยู่ จนถึงเวลำที่กำหนดไว้ในสัญญำ หรื อถึงแก่มรณะภำยในระยะเวลำของสัญญำ โดยบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกำรประกันชีวติ มีอยู่ ด้วยกัน 3 ฝ่ ำย คือ ผูร้ ับประกันภัย ผูเ้ อำประกันภัย และผูร้ ับประโยชน์ เมื่อสัญญำประกันชีวติ เกิดขึ้นแล้ว คู่สญ ั ญำย่อมมี สิ ทธิและหน้ำที่ตำมสัญญำซึ่งกันและกัน หลักพืน้ ฐานการประกันชีวติ ประกอบด้ วย 1. หลักเกี่ยวกับส่วนได้เสี ยอันอำจเอำประกันภัยได้ 2. หลักสุจริ ตอย่ำงยิง่ 3. หลักกำรใช้จำนวนเงินแน่นอน โดยมีรำยละเอียด ดังนี้ หลักส่ วนได้ เสี ยในการเอาประกันชีวติ ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิ ชย์ มาตรา 863 ระบุว่า “อันสัญญาประกันภัยนั้น ถ้ าผู้เอาประกันภัยมิได้ มสี ่ วนได้ เสียในเหตุทเี่ อาประกันภัยไว้ น้นั ไซร้ ท่ านว่ าย่ อมไม่ ผูกพันคู่สัญญาแต่ อย่ างหนึง่ อย่ างใด”  บุคคลสำมำรถเอำประกันชีวติ ตนเองได้  กรณี กำรเอำประกันชีวติ บุคคลอื่น ผูช้ ำระเบี้ยและผูเ้ อำประกันจะต้องมีส่วนได้เสี ยกัน และส่วนได้เสี ย พิจำรณำในวันที่ทำสัญญำเท่ำนั้น เหตุที่กฎหมำยบังคับให้ผเู ้ อำประกันภัยต้องมีส่วนได้เสี ยในชีวติ ของผูท้ ี่ตนเอำประกันภัยนั้น มีเหตุผล 2 ประกำรคือ (1) เพื่อป้ องกันมิให้ผเู ้ อำประกันภัยไปทำสัญญำประกันชีวติ ของบุคคลอื่นโดยที่ตนมิได้มีส่วนได้เสี ยกับควำมเป็ น หรื อควำมตำยของบุคคลที่ตนนำมำเอำประกันชีวติ นั้น เพรำะจะเป็ นกำรพนันโดยเอำชีวติ คนอื่นเป็ นเดิมพันอัน เป็ นกำรขัดต่อควำมสงบเรี ยบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชำชน (2) เพื่อป้ องกันมิให้กำรฆำตกรรมชีวติ ของบุคคลอื่นที่ตนมิได้มีส่วนได้เสี ยโดยมุ่งหวังที่จะได้รับเงินประกันชีวติ มำ เป็ นประโยชน์ของตนเอง เพรำะถ้ำหำกผูเ้ อำประกันภัยไม่มีส่วนได้เสี ยในชีวติ บุคคลอื่นแล้ว ก็อำจยอมเสี่ ยงต่อ กฎหมำยในกำรทำกำรฆำตกรรมเพื่อหวังเงินประกันชีวติ จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 15 ดังนั้นกฎหมำยจึงได้บญั ญัติไว้วำ่ หำกเอำประกันชีวติ ของบุคคลที่ตนไม่มีส่วนได้เสี ยแล้ว สัญญำ ประกันชีวติ ฉบับนั้นก็ไม่มีผลแต่ประกำรใด ซึ่งหมำยควำมว่ำคู่สญ ั ญำทั้งสองฝ่ ำย จะเรี ยกร้องให้อีกฝ่ ำยหนึ่ง ปฎิบตั ิตำมสัญญำนั้นไม่ได้ กล่ำวคือ ผูร้ ับประกันภัยก็ไม่มีหน้ำที่ที่จะต้องจ่ำยเงินแก่ผเู ้ อำประกันภัยหรื อผูร้ ับ ประโยชน์ตำมสัญญำประกันภัย ผูเ้ อำประกันภัยก็ไม่มีหน้ำที่ตอ้ งจ่ำยเบี้ยประกันภัย หลักความสุ จริตอย่างยิง่ ผูเ้ อำประกันภัยกับผูร้ ับประกันภัยต้องมีควำมสุจริ ตต่อกันในขณะทำสัญญำ กล่ำวคือผูเ้ อำประกันภัยจะต้องเปิ ดเผย ข้อควำมจริ งทั้งหมดในกำรขอเอำประกันภัย ซึ่งผูร้ ับประกันต้องกำรทรำบเพื่อเป็ นข้อมูลในกำรพิจำรณำรับควำมเสี่ ยง ภัยของผูเ้ อำประกันภัย หำกผูเ้ อำประกันภัยปกปิ ดไม่เปิ ดเผยข้อเท็จจริ ง หรื อแถลงข้อควำมเท็จอันมีสำระสำคัญ ผูร้ ับประกันภัยมีสิทธิบอกล้ำง สัญญำได้ โดยจ่ำยคืนเบี้ยประกันชีวติ ที่ผเู ้ อำประกันภัยชำระไว้ ตามมาตรา 865 ผู้รับประกันภัย มีสิทธิบอกล้ างสัญญา ภายใน 2 ปี หลักสุ จริตอย่ างยิง่ ประกอบด้ วย 1 กำรเปิ ดเผยข้อควำมจริ ง ผูเ้ อำประกันภัยมีหน้ำที่เปิ ดเผยข้อควำมจริ ง ดังนี้ (1) ข้อควำมจริ งที่ตนรู ้หรื อควรรู ้ขอ้ ควำมจริ งนั้น (2) ข้อควำมจริ งที่เป็ นสำระสำคัญต่อกำรพิจำรณำรับประกันชีวติ 2 กำรไม่แถลงข้อควำมเท็จ ขณะทำสัญญำประกันภัย ผูเ้ อำประกันภัยต้องกรอกข้อมูลลงในใบคำขอเอำประกันภัย เพื่อให้ผรู ้ ับประกันภัยพิจำรณำรับประกันชีวติ ข้อมูลนั้นต้องไม่มีลกั ษณะดังนี้ (1) ข้อควำมที่แตกต่ำงจำกข้อควำมจริ งอย่ำงมำก (2) ข้อควำมที่ทำให้ผรู ้ ับประกันภัยเข้ำใจคลำดเคลื่อนและเข้ำทำสัญญำด้วย เมื่อผูร้ ับประกันภัยทรำบว่ำผูเ้ อำประกันภัยไม่เปิ ดเผยข้อควำมจริ งหรื อแถลงข้อควำมเท็จในสำระสำคัญซึ่งหำกผูร้ ับ ประกันภัยรู ้แล้วจะบอกปั ดไม่ทำสัญญำหรื อเรี ยกเบี้ยประกันภัยสูงขึ้น ก็มีสิทธิบอกล้ำงสัญญำได้ ครั้นบอกล้ำงสัญญำแล้ว เท่ำกับว่ำสัญญำนั้นไม่มีผลบังคับตั้งแต่ตน้ ผูร้ ับประกันภัยต้องคืนเบี้ยประกันภัยให้ หำกไม่ใช้สิทธิบอกล้ำง สัญญำนั้นยังคง มีผลบังคับสมบูรณ์ ควำมไม่รู้ของผูเ้ อำประกันภัยไม่ถือว่ำเป็ นกำรปกปิ ดข้อควำมจริ งหรื อแถลงข้อควำมเท็จ จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 16 3 กำรไม่แถลงอำยุคลำดเคลื่อน ผูเ้ อำประกันภัยต้องแถลงอำยุตำมควำมเป็ นจริ ง กำรแถลงอำยุคลำดเคลื่อนมี 3 กรณี (1) กรณี แถลงอำยุนอ้ ยกว่ำควำมจริ ง แต่ยงั อยูใ่ นพิกดั อัตรำที่รับประกันภัยได้ ผูเ้ อำประกันภัยจะได้รับจำนวนเงิน เอำประกันภัยรวมทั้งผลประโยชน์ต่ำง ๆ ลดลงตำมส่วน โดยเทียบอัตรำส่วนกับเบี้ยประกันชีวติ ที่ตอ้ งชำระ ตำมอำยุจริ ง (2) กรณี แถลงอำยุมำกกว่ำควำมจริ งแต่อำยุจริ งยังอยูใ่ นพิกดั ทำให้ผเู ้ อำประกันภัยต้องชำระเบี้ยประกันชีวติ สูง กว่ำอัตรำที่กำหนดไว้ ผูร้ ับประกันภัยจะคืนเบี้ยประกันชีวติ ให้ โดยไม่มีดอกเบี้ย (3) หำกแถลงอำยุคลำดเคลื่อนและอำยุจริ งอยูน่ อกพิกดั อัตรำกำรรับประกันภัย ผูร้ ับประกันภัยมีสิทธิบอกล้ำง สัญญำได้ เช่น ผูร้ ับประกันภัยถือหลักไม่ยอมรับประกันชีวติ ผูท้ ี่อำยุเกิน 60 ปี บริ บูรณ์ แต่ผขู ้ อเอำประกันชีวติ แถลงตอนที่มำขอทำสัญญำประกันชีวติ ว่ำตนมีอำยุ 55 ปี ทั้ง ๆ ที่อำยุเกิน 60 ปี บริ บูรณ์แล้ว เช่นนี้ หำกผูร้ ับ ประกันภัยตกลงทำสัญญำประกันชีวติ ด้วย สัญญำประกันชีวติ นี้ยอ่ มเป็ นโมฆียะ หำกผูร้ ับประกันภัยใช้สิทธิ บอกล้ำงสัญญำ เท่ำกับว่ำสัญญำนั้นไม่มีผลบังคับตั้งแต่ตน้ ผูร้ ับประกันภัยต้องคืนเบี้ยประกันชีวติ ทั้งหมดให้ แต่หำกผูร้ ับประกันภัยไม่ใช้สิทธิบอกล้ำง สัญญำนั้นยังคงมีผลบังคับสมบูรณ์ หลักการใช้ จานวนเงินแน่ นอน ควำมมุ่งหมำยของสัญญำประกันชีวติ มิใช่เพื่อจะชดใช้หรื อทดแทนควำมเสี ยหำยแก่เจ้ำของชีวติ หำกแต่มุ่งช่วยเหลือผูซ้ ่ ึง ต้องอำศัยพึ่งพิงผูซ้ ่ ึงถึงแก่ควำมตำยไปแล้ว หรื อมิฉะนั้นก็เป็ นกำรลงทุนแบบสะสมทรัพย์เพื่อประโยชน์ของตัวเอง ในกรณี ประกันชีวติ โดยอำศัยควำมทรงชีพของตนเองเป็ นประกัน เมื่อผูเ้ อำประกันภัยได้ตกลงกันไว้กบั ผูร้ ับประกันภัยสำหรับกำร ประกันชีวติ เพื่อกำรทรงชีพ ผูเ้ อำประกันภัยก็จะได้รับเงินจำนวนหนึ่งตำมที่ตกลงกัน เมื่อผูน้ ้ นั ยังมีชีวติ อยูจ่ นถึงเวลำตำมที่ ตกลงกันไว้สญ ั ญำชดใช้ค่ำสิ นไหมทดแทนเหมือนกับสัญญำประกันวินำศภัย แต่เป็ น สัญญาที่ ั ญำประกันชีวติ จึงไม่ใช่สญ คู่สัญญาฝ่ ายหนึ่ง (ผู้รับประกันภัย) ต้ องจ่ ายเงินจานวนแน่ นอนให้ แก่ คู่สัญญาอีกฝ่ ายหนึ่ง (ผู้เอาประกันภัย) เมื่อความตายที่ รับประกันภัยไว้ ได้ เกิดขึน้ ทั้งนี้ เนื่องมำจำกว่ำคุณค่ำของชีวติ มนุษย์น้ นั ไม่มีจำกัด ดังนั้น จึงไม่มีเงินจำนวนใดมำกพอที่จะ ชดเชยกำรตำยที่เกิดขึ้นได้ แม้วำ่ ผูเ้ อำประกันภัยจะมีอำยุถึงช่วงที่ชีวติ ของเขำไม่มีคุณค่ำทำงเศรษฐกิจแล้วก็ตำม แต่ผรู ้ ับ ประกันภัยก็ยงั ต้องชดใช้เงินเป็ นจำนวนที่แน่นอนตำมที่ได้ตกลงกันไว้ในสัญญำประกันชีวติ นั้นดังนั้นสัญญำประกันชีวติ จึง มีเหตุแห่งกำรจ่ำยเงินหรื อใช้เงินอยู่ 2 กรณี ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิ ชย์ มำตรำ 861 และประกอบกับมำตรำ 889 คือ 1) กำรใช้จำนวนเงินโดยอำศัยควำมทรงชีพของผูถ้ ูกเอำประกันชีวติ 2) กำรใช้จำนวนเงินโดยอำศัยควำมมรณะของผูถ้ ูกเอำประกันชีวติ จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 17 ธุรกิจประกันชี วติ ของประเทศไทย  เริ่ มต้นในสมัยรัชกำลที่ 5 คณะทูตจำกประเทศอังกฤษได้ขอพระบรมรำชำนุญำตให้บริ ษทั อี๊สต์เอเชียติ๊ก จำกัด ซึ่งเป็ นกิจกำรประกันภัยของชำวอังกฤษเข้ำมำดำเนินธุรกิจรับประกันชีวติ ของประชำชนชำวไทยและชำวต่ำงชำติ ที่อำศัยอยูใ่ นประเทศไทย ในฐำนะตัวแทนของบริ ษทั เอควิตำเบิลประกันภัยแห่งกรุ งลอนดอน ซึ่งพระบำทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยูห่ วั ได้ทรงมีพระบรมรำชำนุญำต โดยมีสมเด็จพระยำบรมมหำศรี สุริยวงศ์เป็ นผูถ้ ือ กรมธรรม์เป็ นคนแรก หลังจำกนั้นธุรกิจประกันชีวติ ไม่ประสบกับผลสำเร็ จ เนื่องจำกกรมธรรม์ตอ้ งส่งมำจำก ประเทศอังกฤษ ประกอบกับคนไทยยังไม่มีควำมสนใจเรื่ องกำรประกันชีวติ ทำให้ธุรกิจต้องหยุดชะงักไปใน ปลำยรัชกำลที่ 5 นัน่ เอง ต่อมำในสมัยพระบำทสมเด็จพระปกเกล้ำเจ้ำอยูห่ วั ทรงพระกรุ ณำโปรดเกล้ำให้ตรำพระรำชบัญญัติควบคุม กิจกำรค้ำขำยอันกระทบถึงควำมปลอดภัยหรื อควำมผำสุกแห่งสำธำรณชนพุทธศักรำช 2471 ขึ้น กระทรวงเศรษฐ กำรในสมัยนั้นจึงได้กำหนดเงื่อนไขประกำศกระทรวงโดยเฉพำะสำหรับผูข้ ออนุญำตประกอบธุรกิจประกันชีวติ และธุรกิจประกันวินำศภัยขึ้น ประกำศใช้เมื่อวันที่ 31 กรกฎำคม พ.ศ. 2472 และต่อมำในปี พ.ศ. 2510 รัฐบำลก็ได้ ตรำพระรำชบัญญัติประกันชีวติ พ.ศ. 2510 และพระรำชบัญญัติประกันวินำศภัย พ.ศ. 2510 ออกใช้บงั คับ และใน ปี พ.ศ. 2535 ได้แก้ไขปรับปรุ งเป็ นพระรำชบัญญัติพระกันชีวติ พ.ศ. 2535 และพระรำชบัญญัติประกันวินำศภัย พ.ศ. 2535 รวมถึงพระรำชบัญญัติคุม้ ครองผูป้ ระสบภัยจำกรถ เพื่อควบคุมและส่งเสริ มธุรกิจประกันภัยให้มีควำม มัน่ คงและเป็ นที่เชื่อถือของประชำชนโดยทัว่ ไป  ปั จจุบนั มี 24 บริ ษทั กรุ งเทพประกันชีวติ กรุ งไทย-แอกซ่ำ ประกันชีวติ เจนเนอรำลี่ ประกันชีวติ ชับบ์ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ โตเกียวมำรี น ประกันชีวติ ทิพยประกันชีวติ ไทยคำร์ดิฟ ประกันชีวติ ไทยซัมซุง ประกันชีวติ ไทยประกันชีวติ ไทยพำณิ ชย์ประกันชีวติ ไทยสมุทรประกันชีวติ ธนชำติประกันชีวติ บำงกอกสหประกันชีวติ พูลเด็นเชียลประกันชีวติ ฟิ ลลิป ประกันชีวติ เมืองไทยประกันชีวติ แมนูไลฟ์ ประกันชีวติ สหประกันชีวติ อลิอนั ซ์ อยุธยำ ประกันชีวติ อำคเนย์ ประกันชีวติ เอฟดับบลิวดี ประกันชีวติ เอ็ม บี เค ไลฟ์ ประกันชีวติ เอไอเอ แอ๊ดวำนซ์ไลฟ์ ประกันชีวติ  ปั จจุบนั อยูภ่ ำยใต้กำรกำกับดูแลของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริ มกำรประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) สังกัดกระทรวงกำรคลัง จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 18 แนวโน้ มของธุรกิจประกันชี วติ ตลอดระยะเวลำ 10 ปี ที่ผำ่ นมำ ผูเ้ อำประกันนิยมทำประกันสะสมทรัพย์มำกที่สุด รองลงมำ คือ ตลอดชีพ และชัว่ ระยะเวลำ เนื่องจำกประชำชนส่วนใหญ่เน้นกำรออมเงินและคุม้ ครองชีวติ ในระยะยำว ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการขยายตัวของธุรกิจประกันชี วติ 1. เสถียรภำพทำงกำรเมือง 2. อัตรำดอกเบี้ย 3. กำรสนับสนุนของภำครัฐ 4. ควำมเข้ำใจประโยชน์ของประกันชีวติ 5. กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ประกันชีวติ 6. ช่องทำงกำรจัดจำหน่ำย 7. ควำมน่ำเชื่อถือของบริ ษทั ประกันชีวติ 8. ควำมน่ำเชื่อถือของตัวแทนและนำยหน้ำประกันชีวติ ประโยชน์ ของการประกันชีวิต 1. การให้ ความคุ้มครอง  เพื่อบรรเทำควำมเดือดร้อนของครอบครัว  เพื่อเป็ นค่ำใช้จ่ำยในกำรศึกษำบุตร  เพื่อเป็ นค่ำใช้จ่ำยในกำรรักษำพยำบำล  เพื่อเป็ นค่ำลดหย่อนภำษี  กำรออมทรัพย์ มีเงินก้อนยำมฉุกเฉิ นหรื อยำมชรำ 2. ประโยชน์ ต่อเศรษฐกิจและสังคม  ระดมทุนเพื่อพัฒนำประเทศ  ลดภำระทำงสังคมและรัฐบำล จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 19 ปัจจัยในการคานวณเบีย้ ประกันภัย 1. อัตรำเบี้ยประกันภัยสุทธิ (Net premium) คือ อัตรำเบี้ยที่คำนวณจำกอัตรำมรณะ อัตรำกำรทรงชีพ และอัตรำ ดอกเบี้ย 2. อัตรำเบี้ยประกันภัยรวม (Gross premium) คือ อัตรำเบี้ยประกันสุทธิ รวมค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินงำนรวมเป็ นเบี้ยที่ เก็บจำกผูเ้ อำประกัน องค์ ประกอบทีใ่ ช้ ในการกาหนดอัตราเบีย้ ประกันภัย 1. อัตรำมรณะ ( อัตรำมรณะที่แตกต่ำงกันมำจำกกำรสำรวจประชำกร หรื อประสบกำรณ์ของผูเ้ อำประกันภัย, อำยุ แตกต่ำง,เพศ, เชื้อชำติ,ถิ่นที่อยู่ ) 2. อัตรำดอกเบี้ย ที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรลงทุน 3. อัตรำค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินงำน สรุ ปสาระสาคัญของการประกันชีวติ การประกันชีวติ แบ่ งได้ เป็ น  2 ชนิด คือ ชนิดมีเงินปั นผล และชนิดไม่มีเงินปั นผล  3 ประเภท คือ สำมัญ อุตสำหกรรม กลุ่ม  4 แบบ คือ เฉพำะชัว่ ระยะเวลำ ตลอดชีพ สะสมทรัพย์ เงินได้ประจำ หรื อบำนำญ ชนิดของการประกันชีวติ 1. ชนิดมีเงินปั นผล 2. ชนิดไม่มีเงินปั นผล เงินปันผล ได้ มาจากผลกาไร หรื อเงินส่ วนเกินทีเ่ กิดจากการดาเนินงานของบริษัท ดังนี้ 1. อัตรำมรณะจริ ง ต่ำกว่ำ อัตรำที่ใช้คำนวณ 2. อัตรำผลตอบแทนจำกกำรลงทุน สูงกว่ำ อัตรำดอกเบี้ยที่ใช้คำดคะเน 3. อัตรำค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินงำนต่ำกว่ำที่วำงแผนไว้ จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 20 วิธีรับเงินปันผล 4 วิธีคือ 1. ซื้อทุนประกันชีวติ เพิ่ม 2. หักชำระเบี้ยประกันชีวติ งวดถัดไป 3. รับเป็ นเงินสด 4. ฝำกสะสมไว้กบั บริ ษทั โดยได้รับดอกเบี้ย ประกันชี วติ ประเภทสามัญและอุตสาหกรรม สามัญ อุตสาหกรรม  สำหรับรำยได้ปำนกลำงถึงสูง ชำระเบี้ยรำยปี เป็ น  สำหรับรำยได้ปำนกลำงถึงต่ำ ชำระเบี้ยรำยเดือน หลัก เป็ นหลัก  ผ่อนผัน 30 วัน หรื อ 31 วัน  ผ่อนผัน 60 วัน  มีกำรตรวจสุขภำพ  ไม่มีกำรตรวจสุขภำพแต่มี ระยะเวลำรอคอย 180  มี 3 มูลค่ำ คือ เงินสด, ใช้เงินสำเร็จ, ขยำยเวลำ วัน  มี 2 มูลค่ำ คือ เงินสด และ ใช้เงินสำเร็ จ การประกันชี วติ ประเภทกลุ่ม ให้ควำมคุม้ ครอง 5-10 คนขึ้นไป ภำยใต้กรมธรรม์ฉบับเดียว สำหรับสร้ำงสวัสดิกำรให้กบั พนักงำนในองค์กร ไม่มีกำร ตรวจสุขภำพ เน้นคุม้ ครองมรณกรรม ไม่มีกำรออมทรัพย์ แบบชั่วระยะเวลา หรื อ เฉพาะกาล 1. มีระยะเวลำคุม้ ครองระยะสั้นๆ เช่น 5 ปี 10 ปี 2. มีควำมคุม้ ครองชีวติ แต่ไม่มีกำรออม 3. เหมำะสำหรับผูเ้ ดินทำงระยะเวลำสั้น ๆ หรื อ ผูม้ ีหนี้สินหรื อกำลังกูผ้ อ่ นบ้ำน การประกันชีวติ แบบตลอดชี พ 1. มีระยะเวลำคุม้ ครองตลอดชีพ หรื อจนถึง ผูเ้ อำประกันภัยมีอำยุ 90 ปี จึงจบสัญญำ 2. มีท้ งั ควำมคุม้ ครองและกำรออมทรัพย์ 3. เหมำะสำหรับคนต้องกำรควำมคุม้ ครองชีวติ เป็ นกองมรดกสำหรับครอบครัว หรื อเป็ นค่ำใช้จ่ำยครั้งสุดท้ำยของ ชีวติ จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 21 การประกันแบบเงินได้ ประจา หรื อบานาญ 1. จบสัญญำเมื่อผูเ้ อำประกันอำยุครบ 55 หรื อ 60 ปี 2. มีกำรออมเท่ำนั้น ไม่มีควำมคุม้ ครอง 3. เหมำะสำหรับเป็ นค่ำใช้จ่ำยไว้ใช้ยำมชรำเนื่องจำกเป็ นช่วงชีวติ ที่ไม่มีรำยได้ แบบสะสมทรัพย์ 1. มีท้ งั ควำมคุม้ ครองและกำรออมทรัพย์ 2. จ่ำยทุนประกันภัยเมื่อผูเ้ อำประกันภัยเสี ยชีวติ หรื อมีชีวติ อยูค่ รบสัญญำ 3. ประกอบด้วยกำรประกันสองแบบมำรวมกัน คือแบบชัว่ ระยะเวลำกับแบบสะสมทรัพย์แท้จริ ง 4. เหมำะสำหรับเป็ นกองทุนกำรศึกษำให้กบั บุตร แบบทีเ่ กิดจากการผสมแบบประกัน 1. แบบตลอดชีพและแบบเงินได้ประจำ 2. แบบสะสมทรัพย์และแบบเงินได้ประจำ 3. แบบที่มีควำมคุม้ ครองและกำรลงทุน  แบบ Universal life  แบบ Unit Link แบบประกัน Universal Life คือ แบบประกันให้ควำมคุม้ ครองกรณี ผเู ้ อำประกันเสี ยชีวติ ไม่ต่ำกว่ำจำนวนเงินเอำประกันภัย ส่วนผลประโยชน์เมื่อครบ สัญญำขึ้นอยูก่ บั ผลตอบแทนจำกกำรลงทุน บริ ษทั จะนำเบี้ยในส่วนของควำมคุม้ ครองมำลงทุน โดยบริ ษทั เป็ นผูบ้ ริ หำรกำร ลงทุน โดยแยกออกจำกจำนวนเงินลงทุนประกันชีวติ พื้นฐำน และแบ่งผลตอบแทนให้ ผูเ้ อำประกันภัยตำมที่ลงทุนได้จริ ง แบบประกัน Unit Linked คือ แบบประกันชีวติ ควบกำรลงทุนเป็ นกำรขยำยกำรลงทุนในหน่วยลงทุน ผูเ้ อำประกันภัยสำมำรถเลือกควำมเสี่ ยงได้ดว้ ย ตนเองด้วยกำรเลือกลงทุนผ่ำนหน่วยลงทุนระดับที่ตนเองรับได้ผลประโยชน์มรณกรรมไม่ต่ำกว่ำเงินเสี่ ยงภัยสุทธิ ผลประโยชน์เมื่อครบสัญญำขึ้นอยูก่ บั รำคำหน่วยลงทุน จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 22 สั ญญาเพิม่ เติมและบันทึกสลักหลัง ผูเ้ อำประกันสำมำรถเพิ่มสวัสดิกำรให้ตวั เองโดยกำรซื้อสัญญำเพิ่มเติม เพื่อขยำยควำมคุม้ ครอง หรื อเพิ่มผลประโยชน์พิเศษ นอกเหนือจำกควำมคุม้ ครอง ตัวอย่ำงสัญญำเพิ่มเติมที่มีขำยในปัจจุบนั 1. สัญญำแนบท้ำยกำรประกันอุบตั ิเหตุ 2. สัญญำแนบท้ำยกำรประกันสุขภำพ 3. สัญญำเพิ่มเติมกำรยกเว้นเบี้ยแก่ ผูเ้ อำประกัน, ผูช้ ำระเบี้ย 4. สัญญำเพิ่มเติมคุม้ ครองประกันชีวติ ชัว่ ระยะเวลำ 5. คุม้ ครองกำรประกันชีวติ แบบสะสมทรัพย์แท้จริ ง 6. บันทึกสลักหลัง มูลค่ ากรมธรรม์ มูลค่ำจะเกิดขึ้นเมื่อสิ้นปี กรมธรรม์ที่ 2 และเป็ นกรมธรรม์ที่มีกำรออมทรัพย์รวมอยูด่ ว้ ย 1. มูลค่ำเงินสด 2. มูลค่ำใช้เงินสำเร็จ 3. มูลค่ำขยำยเวลำ มูลค่ ากรมธรรม์ คืออะไร ชำระเบี้ยรำยปี ที่ 1 2 3 4 5 สิ้นปี กรมธรรม์ที่ 0 1 2 3 4 มูลค่ากรมธรรม์ มูลค่าใช้ เงิน มูลค่าเงินสด มูลค่าขยายเวลา สําเร็จ จัดทำโดย บริ ษทั ศรี กรุ งประกันชีวิตโบรกเกอร์ จำกัด : www.srikrungbroker.co.th หน้ำ 23 ตัวอย่ างการคานวณมูลค่ ากรมธรรม์ ประกันภัย ตารางมูลค่ าเวนคืนกรมธรรม์ ประกันภัยแบบสะสมทรัพย์ *ทีอ่ ายุ 30 ปี เพศหญิง อัตราเบีย้ ประกันภัยเท่ ากับ 73.83 บาท ต่ อจานวนเงินเอาประกันภัย 1,000 บาท มูลค่ าเงินสด 1. นำมำเวนคืนกรมธรรม์ ในกรณี เลิกสัญญำ  หยุดกำรชำระเบี้ยประกัน ?

Use Quizgecko on...
Browser
Browser