Human Behavior & Neuroscience (Handout) PDF

Document Details

EminentCarnelian307

Uploaded by EminentCarnelian307

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ผศ.พญ.จริยา จิรานุกูล

Tags

human behavior neuroscience neurotransmitters psychology

Summary

This document provides an overview of human behavior and neuroscience, covering different aspects such as definitions, types (overt/covert, normal/deviant), causes, the nervous system, neurotransmitters, and memory. It also includes information on the endocrine system and emotions.

Full Transcript

ั้ ที่ 1 หล ักสูตรแพทยศาสตรบ ัณฑิต ชนปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาล ัยมหาสารคาม รายวิชา 1501 112 เวชศาสตร์พฤติกรรม ห ัวข้อ HUMAN BEHAVIOR and NEUROSCIENCE โดย ผศ.พญ.จริยา จิรานุกล ู HUMAN BEHAVIOR WHAT IS BEHAVIOR? DEFINITION • The way in which someone conducts oneself or behaves • The way in wh...

ั้ ที่ 1 หล ักสูตรแพทยศาสตรบ ัณฑิต ชนปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาล ัยมหาสารคาม รายวิชา 1501 112 เวชศาสตร์พฤติกรรม ห ัวข้อ HUMAN BEHAVIOR and NEUROSCIENCE โดย ผศ.พญ.จริยา จิรานุกล ู HUMAN BEHAVIOR WHAT IS BEHAVIOR? DEFINITION • The way in which someone conducts oneself or behaves • The way in which something functions or operates • Anything that an organism does involving action and response to stimulation (Merriam-Webster Dictionary) TYPES OF BEHAVIOR “Overt” vs “Covert” • Overt behavior – The behavior that can be ………. • Covert behavior – The behavior that is not ………. TYPES OF BEHAVIOR “Normal” vs “Deviant” • Normal behavior – The common pattern of behavior found among the general majority – Normal people conform and adjust to their social surrounding – Depends on ……………………………………………………. • Deviant behavior – The simple exaggeration or perverted development of the normal psychological behavior – The unusual or maladapted behavior of person which do not fit into our common forms of behavior WHAT CAUSES BEHAVIOR? WHAT CAUSES BEHAVIOR? Genetics x Environment • “Nature” and “Nurture” within the CNS – There are many significant interactions between the genome/genetics and the environment G x E model • Many factors—including activity, stress, drug exposure, and environmental toxins—can regulate the expression of genes and the development and functioning of the brain Factors Influencing Behavior • Genetics Factors Influencing Behavior • Environment – Prenatal – Perinatal – Postnatal • Prenatal environment • Perinatal environment • Postnatal environment INDIVIDUAL DIFFERENCES • • • • Physical Intelligent Emotional Social PERSONALITY HUMAN BEHAVIOR & NEUROSCIENCE • Human brain contains 10 12 10 glial cells • Neurons consist of 11 neurons (nerve cells) and – Soma (cell body) - contains the nucleus; usually multiple dendrites which receive signals – Single axon - extends from the cell body and transmits signals to other neurons – Connections between neurons are made at axon terminals -> neurotransmitter release (intraneuronal communications) • Where neurons meet: bridging the gap • Many theorists have subdivided the brain into functional systems. • Brodmann area defined 47 areas on the basis of cytoarchitectonic distinctions Relay station for memory, emotion, cognition, behavior, motor, and sensory Regional Functions of the Human Brain • Frontal lobes Voluntary movement Language production (left) Motor prosody (right) Comportment or manner of action Executive function Motivation • Temporal lobes Audition Language comprehension (left) Sensory prosody (right) Memory Emotion • Parietal lobes Tactile sensation Visuospatial function (right) Reading (left) Calculation (left) • Occipital lobes Vision Visual perception ) • Frontal Lobe Function • Prefrontal cortex – the most anterior – There are many connections between the prefrontal cortex and all other brain regions – Therefore, prefrontal cortex is ideally connected to allow sequential use of the entire brain functions in executing goaldirected activity » E.g., motivation, attention, and sequencing of actions • Basal Ganglia – A subcortical group of gray matter nuclei – Plays an important role in the modulation of motor acts (voluntary movement), and postural adjustment • Cerebellum – Controlling the tone of agonistic and antagonistic muscles by predicting the relative contraction needed for smooth motion (motor plan) • The brainstem – Regulates vital body functions such as cardiac and respiratory functions and acts as a vehicle for sensory information – Midbrain • Associated with vision, hearing, motor control, sleep/wake, alertness (reticular formation), and temperature regulation. • The brainstem (cont.) – Pons • deal primarily with sleep, respiration, swallowing, bladder control, hearing, equilibrium, taste, eye movement, facial expressions, facial sensation, and posture – Medulla • Contains the cardiac, respiratory, vomiting, and vasomotor centers and regulate autonomic, involuntary functions such as breathing, heart rate, and blood pressure. Autonomic Nervous System • ระบบประสาทอัตโิ นมัต ิ (ANS) ประกอบด ้วยระบบย่อย 2 ระบบ คือ – ระบบประสาท sympathetic nervous system ทาหน ้าทีใ่ นการเตรียม ความพร ้อมร่างกายสาหรับภาวะเครียด ตืน ่ เต ้น ตกใจ กลัว หนีภัย (fight or flight response) – ระบบประสาท parasympathetic nervous system ทางานควบคูก ่ ับ ระบบประสาท sympathetic กล่าวคือ เมือ ่ ระบบ sympathetic ทางาน ิ้ สุดลง ร่างกายพ ้นจากภาวะฉุกเฉินไปแล ้ว ระบบ parasympathetic สน ่ ภาวะสมดุลตามปกติ จะชว่ ยทาให ้ร่างกายกลับคืนสูส Fight-orflight NEUROCHEMISTRY Neurotransmitters • สารเคมีทส ี่ ร ้างจากปลายเซลล์ประสาทหรือตัวเซลล์ประสาท ั ญาณประสาท • และหลั่งออกจากปลายประสาทเพือ ่ เป็ นตัวนาสญ • ผ่านรอยต่อระหว่างเซลล์ประสาททีเ่ รียกว่า Synapse หรือ ่ งว่างระหว่างเซลล์ประสาทกับเซลล์กล ้ามเนือ ่ งว่าง ชอ ้ หรือชอ ระหว่างเซลล์ประสาทกับเซลล์ประสาท • Serotonin (5HT) – ควบคุมวงจรการนอนหลับ การกิน อารมณ์และ ึ เจ็บปวด ความรู ้สก ั หลังต่า – ในกรณีทม ี่ ี serotonin ในสมองหรือน้ าไขสน ั พันธ์กบ ึ เศร ้า อยากฆ่าตัวตาย จะพบว่าสม ั พฤติกรรมซม หุนหันพลันแล่น ฉุนเฉียว และเครียดได ้ • Norepinephrine (NE) ึ ตัว ภาวะตืน – ทาหน ้าทีค ่ วบคุมระดับความตืน ่ รู ้สก ่ ตัว ตอบสนองต่อสงิ่ แวดล ้อม การมีสมาธิ การตอบสนอง ต่อความเครียดของร่างกาย และระบบการทางาน ่ หัวใจเต็นเร็ว ประสาทอัตโนมัตข ิ องร่างกาย (เชน ความดันโลหิตสูงขึน ้ ) • Dopamine (DA) – มีบทบาทสาคัญในการเคลือ ่ นไหวร่างกาย สมาธิ และ การเรียนรู ้ – ในผู ้ป่ วย Parkinson’s disease พบว่ามีการขาด dopamine ในสมอง – กรณีทม ี่ ก ี ารสร ้าง dopamine มากเกินไปจะเกีย ่ วข ้อง ่ ทีพ กับการเกิดอาการโรคจิต (psychosis) เชน ่ บใน โรคจิตเภท (schizophrenia) • Acetylcholine (Ach) – ทาหน ้าทีช ่ ว่ ยในการกระตุ ้นการตืน ่ ตัวความจาความ ิ ใจ สนใจสมาธิและการตัดสน – ถ ้าเกิดการสร ้างลดลงจะทาให ้เกิด Alzheimer’s disease • Glutamate (Glu) – มีบทบาทสาคัญในกระบวนการเรียนรู ้และจดจาของ สมอง • Gamma-amino butyric acid (GABA) ื่ ประสาทหลักทีเ่ กีย – เป็ นสารสอ ่ วข ้องกับกระบวนการ ยับยัง้ หรือลดการทางานของเซลล์ประสาท (inhibitory messages) – ทาหน ้าทีค ่ วบคุมพฤติกรรมและอารมณ์ตา่ งๆ • Endorphins ึ ดี เป็ นสุข และ – เป็ นสารเคมีทท ี่ าให ้สมองเกิดความรู ้สก ลดความเจ็บปวดได ้ ั พัก แล ้วจะรู ้สก ึ – พบได ้ในคนทีเ่ ล่นกีฬาหนักๆ นานๆ สก สบาย มีความสุข ตัวเบาๆ ความเจ็บปวดน ้อยลง NEUROENDOCRINE Endocrine System ื่ สารทางเคมีของร่างกายที่ • ระบบต่อมไร ้ท่อ เป็ นสว่ นหนึง่ ของการสอ สาคัญ โดยมีการหลั่งฮอร์โมนเข ้าไปในระบบหมุนเวียนโลหิต และ สง่ เสริมการเจริญเติบโตของร่างกาย ซงึ่ รวมถึงระบบประสาทด ้วย ื่ มโยง • ถึงแม ้ระบบดังกล่าวไม่ได ้เป็ นสว่ นหนึง่ ของสมอง แต่มค ี วามเชอ กับสมองสว่ น hypothalamus • ฮอร์โมนมีความคล ้ายคลึงกับ neurotransmitter แต่ฮอร์โมนมี ้ า และต ้องการความจาเพาะของเซลล์ตอ ความเร็วต่อการรับรู ้ชากว่ ่ การจับกับฮอร์โมนนัน ้ ๆ • ต่อมใต ้สมอง Hypothalamus เป็ นต่อมสาคัญในการควบคุมการ ทางานของต่อมไร ้ท่อและการหลั่งฮอร์โมน • ฮอร์โมนมีบทบาททีห ่ ลากหลาย สามารถสง่ ผลต่อพฤติกรรมของ ่ มนุษย์ เชน ึ รักผูกพัน – oxytocin พบมากในหญิงให ้นมบุตร ทาให ้มีความรู ้สก กับบุตร – testosterone พบมากในเพศชาย มักกระตุ ้นพฤติกรรมแข่งขัน ี สละต่อเพศตรงข ้าม เป็ นต ้น และพฤติกรรมในเชงิ ปกป้องและเสย BRAIN & BEHAVIOR Language • ภาษาเป็ นหน ้าทีส ่ าคัญทีส ่ ด ุ ของสมองใหญ่ • บริเวณของสมองทีเ่ กีย ่ วกับภาษาอยูท ่ ี – Broca’s ของ frontal lobe (Brodmann areas 44, 45) – Angular gyrus (Brodmann area 39) และ Supramarginal gyrus (Brodmann area 40) ของ parietal lobe – Wernicke’s area ของ temporal lobe (Brodmann areas 22) – ทาหน ้าทีร่ ว่ มกันเพือ ่ ความเข ้าใจ และการแสดงออกของภาษา โดยการพูด การเขียน และการอ่าน • ข ้อมูลจากการได ้ยินสง่ ต่อไปยังบริเวณ Angular gyrus โดยผ่านทาง Wernicke’s area ข ้อมูลจากการเห็นสง่ ต่อไปยัง Angular gyrus โดยผ่าน visual association area ั ญาณประสาทการได ้ยินเสย ี งจาก • Wernicke’s Area รับสญ ั ญาณต่อไปยังบริเวณ primary auditory area แล ้วสง่ สญ ของ Angular gyrus • Angular gyrus และ Supramarginal gyrus ั ผัส อยูท ่ ส ี่ ว่ นล่างของ Parietal lobe รับข ้อมูลจากการสม การเห็น และการได ้ยิน แล ้วรวบรวมข ้อมูลดังกล่าวและ แปลผลโดยอาศัยประสบการณ์การเรียนรู ้และความจา ออกมาเป็ นความเข ้าใจของภาษา (จะแสดงออกเป็ นการ อ่าน การเขียน และการพูด • ข ้อมูลจาก Angular gyrus จะสง่ ต่อไปยัง Broca’s area ผ่านทาง Arcuate fasciculus เพือ ่ ทาหน ้าทีช ่ ว่ ยหาคาพูด ให ้ถูกต ้องไวยากรณ์ แล ้วสง่ ต่อไปยัง Supplementary ี ง speech หรือ motor cortex เพือ ่ ควบคุมการพูดออกเสย Arousal and Attention • การมีสติหรือร่างกายอยูใ่ นสภาวะตืน ่ ตัว ถูกควบคุมโดย Reticular ั ญาณทีม ั ผัสต่างๆ formation อยูท ่ ี่ Brainstem โดยรับสญ ่ าจากประสาทสม • The ascending reticular activating system (ARAS) จะทาหน ้าทีต ่ งั ้ ค่า ึ ตัว แล ้วสง่ สญ ั ญาณไปยัง thalamus ซงึ่ จะสง่ ต่อไปยังสมอง ระดับความรู ้สก cortex ทั่วๆ ั ญาณไฟฟ้ าของการทางานของ • Thalamus และ cortex จะปล่อยจังหวะสญ เซลล์ประสาททีอ ่ ัตราความเร็ว 20-40 รอบต่อวินาที หากปล่อยจังหวะ ั พันธ์กันมาก ระดับความตืน สอดคล ้องสม ่ ตัวก็จะยิง่ มีมาก Emotion • สมองสว่ น temporal lobe และ prefrontal cortex มี ่ อารมณ์ด ี อารมณ์เป็ น บทบาทสาคัญเกีย ่ วกับอารมณ์ เชน สุข อารมณ์เศร ้า อารมณ์จริงจัง • Amygdala เกีย ่ วข ้องกับอารมณ์กลัวหรือก ้าวร ้าว (fear or aggression) ั ผัสเข ้ามายัง thalamus แล ้วจะถูก – สงิ่ เร ้าจากภายนอกรับรู ้ผ่านประสาทสม ั ญาณต่อไปยัง amygdala รวบรวมข ้อมูลและสง่ สญ ึ กลัว – Amygdala จะประเมินสถานการณ์อย่างรวดเร็ว ถ ้าสงิ่ เร ้านั น ้ ทาให ้รู ้สก หรือโกรธ ร่างกายก็จะเกิดปฏิกริ ย ิ าตอบสนองทันที โดยไปกระตุ ้น hypothalamus ั ญาณไปยัง cortex เพือ – Amygdala ยังสง่ สญ ่ ทาการคิดประมวลเหตุการณ์ ้ า ด ้วย ซงึ่ จะทาให ้เกิดปฏิกริ ย ิ าตอบสนองทีช ่ ากว่ • Papez circuit ั ญาณกลัวหรือโกรธจาก amygdala สู่ hypothalamus จะถูกสง่ ต่อไป – สญ ยัง cingulate cortex ซงึ่ ที่ cingulate cortex จะมีการรวบรวมข ้อมูล ความคิดทีม ่ าจาก sensory cortex ด ้วย เกิดเป็ นประสบการณ์เกีย ่ วกับ ึ ความรู ้สก ั ญาณจะถูกสง่ ต่อไปยัง hippocampus เพือ – หลังจากนั น ้ สญ ่ เก็บความจา และ hypothalamus เพือ ่ สงั่ การกระตุ ้นหรือควบคุมฮอร์โมนความเครียด cortisol ซงึ่ จะมีผลต่อ การเคลือ ่ นไหวร่างกาย ระบบการทางานของประสาท อัตโนมัต ิ (ANS) และอารมณ์ ในลักษณะ fight or flight Thalamus & Amygdala Memory • ความจาแบบทันที (Immediate memory) – เป็ นความจาทีเ่ กิดขึน ้ ในระยะเวลาหลักวินาที ั ผัส (sensory – เกิดจากการรับรู ้สงิ่ ต่างๆ ผ่านประสาทสม memory) ซงึ่ ต ้องอาศัยสติ สมาธิ ในการติดตามรับ ข ้อมูลความจาชนิดนีอ ้ ย่างต่อเนื่อง ้ • ความจาเพือ ่ ใชงาน (Working memory) – เป็ นความจาทีเ่ ก็บข ้อมูลทีไ่ ด ้เห็นหรือได ้ยิน มา ่ จัดระบบ ประมวล แปลผล และปฏิบัตก ิ ารต่อ เชน ้ จัดเก็บในคลังสมอง แล ้วดึงข ้อมูลออกมาใชตาม สถานการณ์ทต ี่ ้องการ ้ จกรรมทีต ้ กษะซบ ั ซอน ้ เชน ่ การเข ้าใจ – ใชในกิ ่ ้องใชทั ภาษา การคิด การอ่าน การเรียน – สมองทีเ่ กีย ่ วข ้องเป็ นหลัก คือ dorsolateral prefrontal cortex • จัดเป็ นสว่ นหนึง่ ของ Short-term memory ั้ • ความจาระยะสน (Short-term memory) ั ้ ต ้องอาศย ั การจัดเก็บข ้อมูล – การสร ้างความจาระยะสน ความจาไว ้ในสมองสว่ น Hippocampus – ข ้อมูลจาก hippocampus จะถูกสง่ ไปยัง amygdala ึ ต่อเหตุการณ์ท ี่ ด ้วย เพือ ่ ประเมินอารมณ์ความรู ้สก เกีย ่ วข ้องกับความจานัน ้ – ถ ้าเป็ นความจาทีม ่ อ ี ารมณ์มากการจัดเก็บใน hippocampus จะทาได ้ดียงิ่ ขึน ้ ซงึ่ เป็ นเหตุผลที่ คนเรามักจาเหตุการณ์ทม ี่ อ ี ารมณ์เกีย ่ วข ้องได ้ค่อนข ้าง ั เจนกว่าความจาทีไ่ ร ้อารมณ์ ชด • ความจาระยะยาว (Long-term memory) ั ้ ทีถ – ความจาระยะสน ่ ก ู เก็บไว ้ใน hippocampus สว่ น หนึง่ ทีไ่ ด ้รับการนึกถึง/ทบทวนซ้าๆ ั ดาห์ เป็ นเดือน จะถูกเปลีย – เมือ ่ เวลาผ่านไปเป็ นสป ่ นไป บันทึกตาม cortex เรียกกระบวนการ cortical consolidation กลายเป็ นความจาระยะยาว เวลานึกก็ ่ จะไม่ต ้องอาศัย hippocampus อีกต่อไป เชน • ความจาเกีย ่ วกับความหมาย (semantic) เหตุการณ์ตาม ระยะเวลา (episodic) จะถูกเก็บที่ frontal, temporal lobe • ความจาเกีย ่ วกับการปฏิบัตอ ิ ะไรบางอย่าง (procedural) จะ ถูกเก็บที่ motor cortex และ cerebellum REFERENCES 1. จารุวรรณ นิพพานนท์. พฤติกรรมศาสตร์ : พฤติกรรมสุขภาพในงาน ึ ษา คณะสาธารณสุข สาธารณสุข. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. ขอนแก่น: ภาควิชาสุขศก ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2543. 2. เติมศักดิ์ คทวณิช. จิตวิทยาทั่วไป (General psychology). พิมพ์ครัง้ ที่ 1. ั่ , 2546. กรุงเทพฯ: ซเี อ็ดยูเคชน 3. มาโนช หล่อตระกูล, ธนิตา หิรัญเทพ, นิดา ลิม ้ สุวรรณ. ตาราพฤติกรรม ศาสตร์ทางการแพทย์, พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ : ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล; 2555. 4. Benjamin J. Sadock, Virginia A. Sadock, Pedro Ruiz. Kaplan & Sadock’s synopsis of psychiatry, 11th edition. Philadelphia : Wolters Kluwer; 2015. 5. Tao Le, Vikas Bhushan, Matthew Sochat. First aid for the USMLE step 1. New York : McGraw Hill education; 2016. TAKE-HOME MESSAGE พฤติกรรมมนุษย์มีสาเหตุที่มาเสมอ ดังนั้น การเข้าใจพฤติกรรมมนุษย์ จึงเป็นรากฐานของการเข้าใจ ปรากฏการณ์ทั้งปวงในสังคม

Use Quizgecko on...
Browser
Browser