Capacity Financial Analysis PDF
Document Details
Uploaded by Deleted User
Tags
Summary
This document provides a comprehensive analysis of creditworthiness and risk assessment of loans. It covers key concepts such as capacity analysis, and financial ratios like liquidity, debt-to-equity, and debt service coverage ratios. The analysis examines factors like a company's ability to generate income and profits, its cash flow, and its current debt structure. It also examines and compares the performance with industry benchmarks and competitors.
Full Transcript
▶ ▶ Capacity 4. ข้อควรระวังในการวิเคราะห์ - ก...
▶ ▶ Capacity 4. ข้อควรระวังในการวิเคราะห์ - กิจการอาจมีกําไรแต่ไม่สามารถชําระหนี้ได้ เนื่องจากปัญหาสภาพคล่องหรือ การขยายกิจการมากเกินไป การวิเคราะห์ฐานะเครดิตและการประเมินความเสี่ยงของสินเชื่อ โดยมีเนื้อหา - ควรพิจารณาทั้งผลการดําเนินงานในอดีตและแนวโน้มในอนาคต หลักดังนี้: 1. หลักการวิเคราะห์สินเชื่อแบบดั้งเดิม 5. สรุป - ใช้หลัก 5C's และ 5P's ในการวิเคราะห์ - การวิเคราะห์ Capacity ต้องพิจารณาหลายปัจจัยประกอบกัน - การวิเคราะห์สินเชื่อใช้วิธีการ Five Cs โดยพิจารณาจากปัจจัย 5 - ต้องมีความสอดคล้องระหว่างกระแสเงินสดรับและภาระการชําระหนี้ ประการ ได้แก่: - ใช้อัตราส่วนทางการเงินต่างๆ เช่น Liquidity Ratio, D/E Ratio, Interest 1 Character: ความตั้งใจในการชําระหนี้ของลูกหนี้ Coverage Ratio, DSCR เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ 2 Capacity: ความสามารถในการชําระหนี้ 3 Capital: เงินทุนของผู้ขอสินเชื่อ 4 Collateral: หลักประกันในการชําระคืน 5 Conditions: เงื่อนไขทางเศรษฐกิจและสถานการณ์ต่างๆ อัตราส่วนทางการเงิน - 5P's ประกอบด้วย Purpose, People, Payment, Protection, 1. Debt Ratio และ D/E Ratio : ใช้วัดสัดส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ Prospective และส่วนของเจ้าของ 2. Time-interest-earned (TIE) : วัดความสามารถในการจ่าย 2. การวิเคราะห์ Capacity (ความสามารถในการชําระหนี้) ดอกเบี้ย โดยเปรียบเทียบ EBIT กับดอกเบี้ยจ่าย - เป็นหนึ่งในปัจจัยสําคัญที่สุดในการพิจารณาสินเชื่อ 3. EBITDA : กําไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่าตัด - พิจารณาจาก: 1.)ความสามารถในการสร้างรายได้และกําไร จําหน่าย 2.)กระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงาน 4. Debt Service Coverage Ratio (DSCR) : วัดความสามารถใน 3.)อัตราส่วนทางการเงินต่างๆ เช่น Liquidity Ratio, Debt-to-Equity การชําระหนี้ทั้งดอกเบี้ยและเงินต้น Ratio (D/E), Time Interest Earned (TIE), และ Debt Service Coverage Ratio (DSCR) ข้อมูลสําคัญในการพิจารณา Capacity - ความสามารถในการดําเนินธุรกิจ ทั้งด้านรายได้และรายจ่าย 3. วิธีการประเมิน Capacity - ระยะเวลาของการให้เครดิต วิเคราะห์งบการเงินย้อนหลัง 3-5 ปี [past performance] จัดทําประมาณการงบการเงินในอนาคต [projection] การ - สภาพคล่องและภาระหนี้สินทั้งหมด พิจารณากระแสเงินสดที่เพียงพอในการชําระดอกเบี้ยและเงินต้น - งบประมาณเงินสด (Cash Budget) สามารถในการชําระหนี้ต่อเนื่อง วิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการผลิต การตลาด และการเงิน ทํา Sensitivity Analysis ทั้งในกรณีดีและเลวร้าย เพื่อดูผลกระทบ จากปัจจัยต่างๆ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง Capacity 1. รายได้และความสามารถในการทํากําไร ยอดขายและความ สามารถในการทํากําไร, กระแสเงินสดสุทธิเพียงพอกับการผ่อนชําระ หรือไม่ 2. กระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงาน ลักษณะที่มาของรายได้ หลัก 3. โครงสร้างหนี้และภาระผูกพันธ์ทางการเงิน สัดส่วนค่าใช้จ่ายหลัก การหมุนเวียนเงินทุนในการ ดําเนินงาน 4. ประสบการณ์และความสามารถของผู้บริหาร การประเมิน Capacity สามารถทําได้โดยการเปรียบเทียบอัตราส่วนทางการ เงินกับ: 1. ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม 2. กลุ่มคู่แข่งที่มีขนาดและลักษณะการดําเนินงานใกล้เคียงกัน 3. ผลการดําเนินงานของตนเองในอดีต (Time-Series Analysis) 4. เป้าหมายหรืองบงบประมาณที่วางไว้ 5. Benchmark อื่นๆ Capital => ไม่จับเ สื้อมือ ซึ่งหมายถึงผู้กู้ควรมีทุนหรือหลักประกันของตนเองด้วย การวิเคราะห์ Capital (เงินทุน) - Capital หมายถึงสินทรัพย์และเงินทุนที่เจ้าของนํามาลงทุนใน ธุรกิจ - สัดส่วนเงินทุนจากเจ้าของที่สูงแสดงถึง: - ความแข็งแกร่งทางการเงิน - ความเชื่อมั่นในธุรกิจ - ความผูกพันและทุ่มเทให้กับธุรกิจ - ใช้อัตราส่วนทางการเงินในการวิเคราะห์ เช่น Debt Ratio และ D/E Ratio วิธีการประเมิน Capital ธุรกิจที่ D/E เป็นศูนย์ คือไม่กู้เงินเลย หรือ ตํ่ามาก - พิจารณาจากงบการเงิน อาจแสดงว่ามีเงินทุนมาหมุนเวียน หรือลงทุนระยะยาวน้อย กําไรที่ - สอบถามข้อมูลหรือสัมภาษณ์ ควรได้รับอาจ จะน้อยตามไปด้วย - ตรวจสอบหลักฐานต่างๆ เช่น บัญชีเงินฝากธนาคาร โฉนด ดังนั้นผู้ประกอบการที่ฉลาดควรกู้ยืมตามความสามารถของตน ที่ดิน ข้อควรระวัง 1. กรณีผู้กู้เป็นบุคคลธรรมดา พิจารณาจาก - ไม่ควรให้สินเชื่อแก่ลูกค้าที่ไม่มีสินทรัพย์ของตนเองมาลงทุน 1. สัดส่วนเงินออมต่อรายได้ - การกู้ยืมควรอยู่ในระดับที่เหมาะสมกับความสามารถของผู้กู้ 2. สัดส่วนเงินออมต่อหนี้สินทั้งหมด 3. ดูวิธีการออมเงินและการลงทุนในรูปแบบต่างๆ 4. ประเมินพฤติกรรมการบริโภคและการใช้จ่าย เช่น การท่องเที่ยว การวิเคราะห์สินเชื่อที่มีประสิทธิภาพจําเป็นต้องพิจารณาปัจจัย ต่างๆ อย่างรอบด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้าน Capital ซึ่งสะท้อน 2. กรณีผู้กู้เป็นธุรกิจ โดยเฉพาะ SMEs พิจารณา ถึงความแข็งแกร่งทางการเงินและความมุ่งมั่นของผู้กู้ 1. สัดส่วนเงินลงทุนของเจ้าของหรือผู้บริหารหลักต่อเงินลงทุนรวมของกิจการ 2. ดูเงินลงทุนและเงินกู้จากเจ้าของ 3. ประเมินผลกําไรสุทธิที่นํามาลงทุนต่อและเงินปันผลที่จ่ายคืนให้เจ้าของ 4. พิจารณากําไรสะสม ‼ Collateral =- Protection พนักงานสินเชื่อต้องประเมินว่า (1) ลูกค้ามีหลักทรัพย์อะไรบ้างมาเป็ นหลักประกัน หลักประกันในการให้สินเชื่อ (Collateral) (2) หลักทรัพย์นั้น - มีคุณภาพ & มี มูลค่า ความหมายและความสําคัญ: - สามารถประเมินมูลค่าได้ง่าย - เป็นทรัพย์สินที่ผู้ขอสินเชื่อนํามาเป็นหลักประกันการชําระหนี้ - ซื้อขายง่าย / สภาพคล่อง - ทําหน้าที่เป็น ตัวช่วยเมื่อไม่สามารถชําระหนี้ได้ (Secondary - ได้ราคายุติธรรม Source of Repayment) - มูลค่าคงที่ หรือ เปลี่ยนแปลง ? - ช่วย ป้องกันความเสี่ยงต่อหนี้สูญ และ เพิ่มความมั่นใจในการปล่อย (3) ต้อง มีบุคคลที่เชื่อถือได้ค ้าประกันเพิ่มหรือไม่ สินเชื่อ ประเภทของหลักประกันในการให้สินเชื่อ แบ่งตามระดับความเสี่ยงจากน้อยไป ประเภทของหลักประกัน: มาก ดังนี้: 1. สินทรัพย์ที่มีตัวตน (Tangible Assets) เช่น ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง 2. สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน (Intangible Assets) 1. การให้เครดิตชนิดไม่มีหลักประกัน (Clean basis) 3. สินทรัพย์ทางการเงิน (Financial Assets) เช่น หุ้นสามัญ - เหมาะสําหรับธุรกิจที่มีชื่อเสียง ก่อตั้งมานาน และมีประวัติดี พันธบัตรรัฐบาล 2. การคํ้าประกันโดยบุคคล (Personal Guarantee) 4. บุคคลคํ้าประกัน (Personal Guarantee) - อาจเป็นกรรมการ ผู้ถือหุ้น หรือบุคคลภายนอก 5. การคํ้าประกันโดยหน่วยงานที่สาม (Third Party Guarantee) - ต้องศึกษาฐานะและทรัพย์สินของผู้คํ้าประกัน 3. การใช้เงินฝากประจําคํ้าประกัน (Fixed financing) ปัจจัยในการพิจารณาหลักประกัน: - ให้สิทธิเจ้าหนี้หักเงินฝากมาชําระหนี้ - มูลค่าของหลักประกัน: ควรเป็นมูลค่าที่สามารถขายได้ง่าย มีความ - มีอัตราดอกเบี้ยตํ่า ชัดเจน ไม่ผันผวน 4. การใช้สินค้าเป็นหลักประกัน (Stock financing) - ชนิดของหลักประกัน: หลักประกันที่จับต้องได้มักได้รับความเชื่อมั่น - สินค้าควรมีคุณภาพเป็นแบบเดียวกัน มากกว่า - ต้องเก็บในคลังสินค้าที่เชื่อถือได้และทําประกันภัย - ความสามารถในการยึดกรรมสิทธิ์: ต้องสามารถยึดได้จริงโดยไม่มี 5. การโอนสิทธิการเช่าเป็นหลักประกัน ปัญหาด้านต้นทุนและเวลา - ใช้สัญญาเช่าระยะยาวเป็นหลักประกัน - การทบทวนการประเมินราคาและกฎระเบียบ - ต้องประเมินราคาและศึกษาสัญญาเช่า 6. การใช้ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างคํ้าประกัน -คุณสมบัติของหลักประกันที่ดี: - พิจารณาปัจจัยต่างๆ เช่น สถานที่ตั้ง การเข้าถึง สาธารณูปโภค - มีคุณภาพและมูลค่า 7. การใช้เครื่องจักรหรืออุปกรณ์คํ้าประกัน - สามารถประเมินมูลค่าได้ง่าย - มีความเสี่ยงสูง - ซื้อขายง่าย มีสภาพคล่อง - ต้องพิจารณาการติดตั้งและจดทะเบียนกรรมสิทธิ์ - ได้ราคายุติธรรม 8. การโอนสิทธิการรับเงินหรือมอบอํานาจการรับเงินคํ้าประกัน - มูลค่าควรมีความคงที่หรือผันผวนน้อย 9. การใช้หลักทรัพย์จากบุคคลภายนอกคํ้าประกัน 10. การใช้สินทรัพย์ทางการเงินคํ้าประกัน - LTV (Loan to Value): - เช่น พันธบัตรรัฐบาล หุ้นกู้ หุ้นสามัญ - เป็น เพดานสินเชื่อ ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกําหนด - ใช้เพื่อป้องกันการก่อหนี้เกินตัวและการซื้อบ้านเพื่อเก็งกําไร การเลือกใช้หลักประกันขึ้นอยู่กับระดับความเสี่ยงของธุรกิจและประเภทของสิน อธิบายอย่างง่ายคือ อัตราที่ใช้เพื่อการกําหนดเงินดาวน์ขั้นตํ่า เชื่อ โดยสถาบันการเงินจะพิจารณาความเหมาะสมเป็นรายกรณี - คํานวณจาก: LTV = (เงินที่ธนาคารปล่อยกู้ / ราคาบ้าน) x 100 ถ้า LTV กําหนดที่ 90% หมายความว่าเราสามารถกู้ได้ 90% ของ ราคาบ้านและต้องเตรียมเงินดาวน์ไว้ 10% ยิ่ง LTV น้อย ธนาคารก็จะปล่อยกู้น้อยลงตามไปด้วย หลักประกันเป็นองค์ประกอบสําคัญในการพิจารณาให้สินเชื่อ โดยช่วย ลดความเสี่ยงให้กับผู้ให้สินเชื่อและเพิ่มโอกาสในการได้รับสินเชื่อสําหรับ ผู้ขอ Condition Prospective เครื่องมือและเทคนิคดังนี้: การขยายเป็น 9C's เพิ่มเติมจาก 5C's ด้วย: - Country: ภาวะการค้าระหว่างประเทศ 1. CSR ANALYSIS - Control: การควบคุมการดําเนินงาน - ปัจจัยภายนอก: - Competition: การวิเคราะห์คู่แข่ง ภาวะเศรษฐกิจ - Costs: ต้นทุนการผลิตและดําเนินงาน ตลาดการเงิน - Cash Flow: กระแสเงินสด ความผันผวนของราคานํ้ามัน เสถียรภาพทางการเมือง การวิเคราะห์ Conditions ปัจจัยภายใน (ลูกค้า/ธุรกิจ): - พิจารณาปัจจัยภายนอกและภายในที่ส่งผลต่อธุรกิจ (Condition ผู้บริหาร ที่กระทบธุรกิจลูกค้า) วิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม แรงงานสัมพันธ์ การเมือง และปัจจัยอื่นๆ การแข่งขันในอุตสาหกรรม ความสามารถของลูกค้าในการจัดการธุรกิจ ภายใต้ condition - ปัจจัยภายใน (ผู้ให้สินเชื่อ): นโยบายสินเชื่อ ความสําคัญของการวิเคราะห์สินเชื่อ ความเพียงพอด้านบุคลากร - ช่วยประเมินความเสี่ยงและความสามารถในการชําระหนี้ของผู้ขอ ข้อกําหนดของสินเชื่อ/เงินกู้ สินเชื่อ - เป็นพื้นฐานสําคัญในการตัดสินใจให้สินเชื่อ 2. การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม - พิจารณาปัจจัยต่างๆ เช่น: - ดินฟ้าอากาศ - สภาพการแข่งขัน การวิเคราะห์ Conditions มีความสําคัญอย่างมากในการ - นโยบายรัฐบาล ประเมินความเสี่ยงสินเชื่อ เนื่องจาก: - แรงงานสัมพันธ์ 1. ผลกระทบต่อธุรกิจและความสามารถในการชําระหนี้ - ปัญหาวัตถุดิบ - พิจารณาเงื่อนไขที่กระทบธุรกิจลูกค้า - การควบคุมราคา - ประเมินความสามารถของลูกค้าในการจัดการธุรกิจภายใต้ - ภาวะเศรษฐกิจ เงื่อนไขที่เกิดขึ้น - สถานการณ์การเงิน 2. ปัจจัยภายนอกและภายใน - อัตราแลกเปลี่ยน - วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก เช่น ภาวะเศรษฐกิจ ตลาดการเงิน - ราคานํ้ามัน ความผันผวนของราคานํ้ามัน - พิจารณาปัจจัยภายใน เช่น ผู้บริหาร แรงงานสัมพันธ์ 3. การวิเคราะห์ 9C's 3. สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ รวมถึง Character, Capacity, Capital, Collateral, Conditions, - วิเคราะห์สภาพทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และสถานการณ์ Country, Competition, Costs, และ Cash Flow ทางการเมือง 4. Sensitivity Analysis - ประเมินนโยบายรัฐบาลและการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบ ต่างๆ โดยทั้งหมดนี้ช่วยในการประเมินความเสี่ยงสินเชื่อโดยพิจารณาปัจจัย 4. ปัญหาเฉพาะด้าน ภายนอกและภายในที่อาจส่งผลต่อความสามารถในการชําระหนี้ของผู้ขอ - พิจารณาปัญหาอื่นๆ เช่น สภาพอากาศ การขาดแคลน สินเชื่อ วัตถุดิบ การคาดการณ์ตลาด และแรงงานสัมพันธ์ 6. Country (ประเทศ) - ภาวะการค้าระหว่างประเทศ - สถานการณ์ต่างประเทศที่อาจส่งผลกระทบต่อผู้ขอสินเชื่อ 7. Control (การควบคุม) - ประสิทธิภาพในการควบคุมการดําเนินงาน - ระบบข้อมูลการบริหาร (MIS) - ระบบการเงิน บัญชี และการควบคุมภายใน 8. Competition (การแข่งขัน) - วิเคราะห์คู่แข่งของผู้ขอสินเชื่อ - ประเมินความสามารถในการแข่งขันในตลาด 9. Costs (ต้นทุน) และ Cash Flows (กระแสเงินสด) - พิจารณาความเหมาะสมของต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน - ประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตเพื่อประเมินความสามารถในการชําระหนี้ ปัจจัยเหล่านี้ช่วยในการประเมินความเสี่ยงและความเหมาะสมในการให้สินเชื่อแก่ผู้ขอ Credit Soring การให้คะแนนเครดิต (Credit Scoring) การใช้แบบจําลอง (Model) ในการให้คะแนนเครดิต เป็นกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตัดสินใจในการอนุมัติสินเชื่อ โดยพิจารณา ความน่าจะเป็นในการชําระหนี้จากปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ขอสินเชื่อ สถาบันการเงินและผู้ให้กู้ใช้แบบจําลองทางสถิติในการสร้างคะแนน ขณะที่ การจัดอันดับความเสี่ยงเครดิต (Credit Risk Rating) ใช้สําหรับประเมิน เครดิต เช่น Altman’s Z-Score Model ที่เป็นแบบจําลองจําแนก ความเสี่ยงทางการเงินของธุรกิจหรือประเทศในการกู้ยืมสินเชื่อ ซึ่งทั้งสอง ความเสี่ยง ซึ่งใช้ปัจจัยทางการเงิน เช่น Current Ratio (อัตราส่วน กระบวนการนี้เป็นเครื่องมือสําคัญในการช่วยประเมินความเสี่ยงและลดการใช้ สภาพคล่อง) และ Debt Ratio (อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์) เพื่อ ดุลยพินิจของมนุษย์ ตัดสินความน่าจะเป็นที่บริษัทจะล้มละลายหรือไม่ สูตรพื้นฐานของ Z-Score คือ: หลักการของการให้คะแนนเครดิต (Credit Scoring) การให้คะแนนเครดิต คือการใช้ข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพในการกําหนด คะแนนที่สะท้อนความเสี่ยงทางการเงินของผู้ขอสินเชื่อ โดยปัจจัยที่ถูกนํา มาพิจารณาในการให้คะแนนเครดิต ได้แก่: ข้อมูลส่วนบุคคล: อายุ เพศ การศึกษา สถานภาพทางครอบครัว ข้อมูลทางการเงิน: รายได้ อาชีพ ประสบการณ์ทํางาน พฤติกรรมการชําระหนี้: ประวัติการชําระหนี้ การค้างชําระ จํานวน หนี้สินที่ยังคงค้างอยู่ เงื่อนไขการกู้ยืม: ขนาดของเงินดาวน์ ระยะเวลาผ่อนชําระ การให้คะแนนในแต่ละด้านจะถูกแปลงเป็นตัวเลขและนําไปคํานวณเพื่อให้ ได้คะแนนรวมที่เรียกว่า Credit Score คะแนนที่ได้จะถูกเปรียบเทียบกับ จุดตัด (cut-off point) ซึ่งสถาบันการเงินแต่ละแห่งจะกําหนดไว้เพื่อใช้ ตัดสินใจในการอนุมัติหรือปฏิเสธสินเชื่อ ถ้า Z>1 หมายถึงมีโอกาสน้อยที่จะล้มละลาย Z