กฎหมาย จริยธรรม พยาบาลเวชปฏิบัติทางตา PDF

Document Details

NiftyNeon

Uploaded by NiftyNeon

Thammasat University

รศ.ดร.ศิริพร ขัมภลิขิต

Tags

medical_ethics nursing_ethics patient_rights professionalism

Summary

เอกสารนี้เป็นคู่มือเกี่ยวกับกฎหมายและจริยธรรมสำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติทางตา ประกอบด้วยคำถามและแนวคิดทางจริยธรรมต่างๆ

Full Transcript

กฎหมายและจริยธรรม สาหรับพยาบาลเวชปฏิบัติ ทางตา รศ.ดร.ศิริพร ขัมภลิขิต ภาพเหล่านี้ แสดงถึงจริยธรรมของพยาบาล อย่างไรบ้าง ท่ านคิดว่ าการที่พยาบาลปฏิบัติอย่ างที่เห็น ด้ วยเหตุผลใด 1. ไม่ มีทางเลือก เป็ นคาสั่ ง 2. ความรับผิดชอบของวิชาชีพ 3. สงสารผู้ป่วย 4. ช่ วยเหลือเพื่อนร่ วมงาน 5...

กฎหมายและจริยธรรม สาหรับพยาบาลเวชปฏิบัติ ทางตา รศ.ดร.ศิริพร ขัมภลิขิต ภาพเหล่านี้ แสดงถึงจริยธรรมของพยาบาล อย่างไรบ้าง ท่ านคิดว่ าการที่พยาบาลปฏิบัติอย่ างที่เห็น ด้ วยเหตุผลใด 1. ไม่ มีทางเลือก เป็ นคาสั่ ง 2. ความรับผิดชอบของวิชาชีพ 3. สงสารผู้ป่วย 4. ช่ วยเหลือเพื่อนร่ วมงาน 5. …….. การที่สังคมได้ รับรู้ เหตการณ์ เหล่ านี้ ส่ งผลดีอย่ างไรบ้ าง? ต่ อพยาบาล……………………….. ต่ อผู้ป่วย……………………………. ต่ อวิชาชีพ………………………………. https://www.youtube.com/watch?v=3USn4WduCUM Clip นี้ แสดงถึง การปฏิบัติที่ไม่ ตรงกับจริยธรรมของพยาบาล อย่ างไรบ้ าง เป็ นพฤติกรรมที่พบได้ ทั่วไป หรื อ นานๆครั้ง https://youtu.be/7_HEteHyUvg ท่านคิดว่าการที่พยาบาลปฏิบตั ิ อย่างที่เห็น ด้วยเหตุผลใด 1. เหนื่ อย….. 2. นิสยั ….. 3. ไม่ร้หู น้ าที่………. การทีส่ ั งคมรับรู้ เหตุการณ์ ดงั กล่ าว ส่ งผลเสี ยอย่ างไรบ้ าง ต่ อพยาบาล…………………. ต่ อผู้ป่วย………………… ต่ อวิชาชีพ………………………. สังคมต้องการพยาบาลทีม่ คี ุณสมบัติ สมรรถนะ อย่างไร 1…… 2……. 3……… 4……….. 5………….. มีคุณสมบัตอิ น่ื อีกใหม ทีจ่ ะเป็ นพยาบาลทีด่ ี เก่ง ดี ความรู้ ทักษะ ได้จาก การเรียนรู้ ประสบการณ์ หลักจริยธรรมของพยาบาล หลักความประพฤติอนั ดีงามในฐานะ พยาบาล เพื่อประโยชน์ สุขแก่ ตนเอง ผู้ใช้ บริการ และผู้เกีย่ วข้ อง เพื่อน ร่ วมงาน หลักจริยธรรม (Ethical Principles) ๑. การเคารพความเป็ นอิสระ ความเป็ นบุคคล (Respects for Autonomy) * บุคคลมีความเป็ นตัวของตัวเอง * บุคคลมีอสิ ระทีจ่ ะกระทาตามความปรารถนา * บุคคลมีอสิ ระทีจ่ ะตัดสิ นใจ ๒. การกระทาประโยชน์ เกือ้ กูล (Beneficence) * บุคคลควรป้ องกันสิ่ งชั่ว เลวร้ าย บุคคลควรทาแต่ สิ่งทีด่ ี ไม่ ทาชั่ว ๓. การไม่ ทาอันตราย (Non- maleficence) * บุคคลไม่ ควรนาสิ่ งเลวร้ ายสู่ บุคคลอื่น ๔. ความยุตธิ รรม - เสมอภาค (Justice) สิ่ งที่เท่ ากัน ต้ องได้ รับการปฏิบัติเหมือนกัน สิ่ งที่ต่างกัน ต้ องได้ รับการปฏิบัติต่างกัน ความยุติธรรมหมายความว่าอย่างไร * ทุกคนควรได้เท่ากัน * ทุกคนควรได้ตามความจาเป็ น * ทุกคนควรได้ตามที่หาได้ ตามสัดส่วนการให้ต่อผูอ้ น่ื ๕. การบอกความจริง (Veracity, truth telling) * ทุกคนควรพูดความจริง * ทุกคนมีสิทธิทจี่ ะรู้ ความจริง ไม่ ถูกหลอกลวง ๖. ความซื่ อสั ตย์ ต่อพันธะหน้ าที่ (Fidelity) * การรักษาสั ญญา * การรักษาความลับ จากหลักจริยธรรมทั้ง ๖ ด้ าน พยาบาล จะปฏิบัติได้ อย่ างไร ๑.หลักการทาสิ่ งที่เป็ นประโยชน์ ป้องกันสิ่ งที่เป็ น อันตรายแก่ ผู้ป่วย (beneficence) การให้ การพยาบาลทีถ่ ูกต้ องตามมาตรฐานของการ พยาบาลนั้นๆ การระมัดระวังอันตรายที่อาจเกิด, มีความเสี่ ยง การพูดดี ให้ กาลังใจ ช่ วยให้ ผู้ป่วยใม่ ต้องสิ้นเปลือง การจัดสิ่ งแวดล้ อมที่ปลอดภัย ๒.หลักการไม่ ทาอันตราย (ทั้งกายจิต สั งคม) (Non maleficence) ไม่ ทาในสิ่ งที่อาจเกิดอันตราย เจ็บปวด ตาย สู ญเสี ย ไม่ คุกคามด้ วย กริยาท่ าทาง วาจา ไม่ หาประโยชน์ จากผู้ป่วย ไม่ ทาให้ ผู้ป่วยต้ องอับอาย ตรงกับศีลข้ อไหน ๓.หลักการเคารพในความเป็ นอิสระ ( respect for autonomy) การให้ ผูป้ ่ วยมีส่วนร่วมในการวางแผน การดูแลตนเอง (Patient centered care) การให้ ผู้ป่วย ตัดสิ นใจเองในสิ่ งทีต่ ดั สิ นใจได้ การไม่ เลือกปฏิบัตติ ่ อผู้ป่วยด้ วยความต่ างทางสั งคม ความ เจ็บป่ วย ศาสนา เชื้อชาติฯ การเคารพในสิ ทธิของผู้ป่วย ผู้ป่วยมีสิทธิ อะไรบ้ าง ๔.หลักความยุตธิ รรม (justice) ผู้ป่วยทุกคน ควรได้ รับการดูแลรักษาเหมือนกัน? ผู้ป่วยควรได้ ได้ รับการดูแลตามความสามารถ ในการดูแลตนเอง ผู้ป่วยทีท่ าคุณประโยชน์ ให้ ส่วนรวม ควรได้ รับการดูแล เป็ นพิเศษ ๕. หลักการบอกความจริง (truth telling) การให้ ข้อมูลทีเ่ ป็ นจริงแก่ ผู้ป่วย ไม่ โกหก บิดเบือน ปิ ดบัง พยาบาลบอกความจริง ทุกครัง้ หรือไม่ ๖.หลักความซื่ อสั ตย์ ต่อพันธะสั ญญา (Fidelity) การรักษาสั ญญา รักษาคาพูด บอกว่ าจะช่ วยแล้วต้ องช่ วย การรักษาความเป็ นส่ วนตัว การปกปิ ดความลับ  การรักษาความลับ (confidentiality)  ไม่ นาข้ อมูลผู้ป่วย ครอบครัว ไปให้ ผู้ทไี่ ม่ มีส่วน เกีย่ วข้ องทราบ  ไม่ ให้ ข้อมูลกับบุคคลโดยไม่ ทราบชัดเจยว่ าเป็ นใคร ผู้ป่วยยินยอม หรื อไม่  ไม่ ถ่ายรู ปผู้ป่วย  เก็บข้ อมูลทีอ่ าจส่ งผลเสี ยหาย โดยจากัดผู้เข้ าถึงข้ อมูล นาข้ อมูลไปใช้ ทางวิชาการ เผยแพร่ โดยไม่ เปิ ดเผยบุคคล แนวคิดทางจริยธรรมในการปฏิบัตกิ ารพยาบาล 1. การทาหน้ าที่แทน (Advocacy) การปกป้ องผู้ป่วย เป็ นปากเป็ นเสี ยง การช่ วย ให้ ผู้ป่วยได้ รับประโยชน์ ทคี่ วรได้ รับ 2. ความรับผิดชอบ(responsibility /accountability) ความรับผิดชอบต่ อหน้ าที่ / ความรับผิดชอบต่ อผลลัพธ์ 3. ความร่ วมมือ (Cooperation) การมีส่วนร่ วม อย่ าง จริงจัง ในการทางาน ความสามัคคี 4. ความเอือ้ าทร ( Caring) ความเป็ นมิตร ห่ วงใย ใส่ ใจ มีนา้ ใจ สภาการพยาบาลได้ กาหนดจริยธรรมของพยาบาล ไว้ อย่ างไรบ้ าง ข้ อบังคับสภาการพยาบาลว่ าด้ วย จริยรรมของผู้ประกอบวิชาชีพฯ ๒๕๕๐ อ่ านและตอบคาถาม ความเสีย่ งทางจริยธรรม ความหมาย โอกาสที่จะเกิดความสูญเสีย ความเสียหาย หรือสิง่ ที่ไม่พึงประสงค์ต่อผูป้ ่ วย หน่วยงาน วิชาชีพ และต่อผูป้ ระกอบวิชาชีพ จากการที่ผูป้ ระกอบวิชาชีพ ให้การพยาบาลที่ผิดจริยธรรม หรือไม่ถูกต้องตาม หลักจริยธรรม/จรรยาบรรณวิชาชีพ/สิทธิของผูป้ ่ วย ความเสี่ ยงทางจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาล  เสี่ ยงต่ อการละเมิดเอกสิ ทธิ์ผู้ป่วย (autonomy) สิ ทธิในการตัดสิ นใจ บนพืน้ ฐานข้ อมูลทีถ่ ูกต้ อง พอเพียง 1. เสี่ ยงต่ อการไม่ ประเมินความสามารถในการตัดสิ นใจ 2. ไม่ ให้ ข้อมูล ทีเ่ พียงพอ ก่ อนการยินยอมรับการ investigate การรักษา การเปลีย่ นการรักษา 3. การไม่ ให้ อสิ ระในการตัดสิ นใจ 4. ไม่ กระทาตามทีผ่ ู้ใช้ บริการตัดสิ นใจโดยอิสระ 5. หมอบอกว่ าคุณต้ อง…….. การละเมิด เอกสิ ทธิ์ เกิดขึน้ เพราะอะไร “ฉันรู้ ดกี ว่ า” เพราะฉันเป็ น…… “ฉันหวังดี” “ ก็ตัดสิ นใจไม่ ได้ สักที” “ เพราะคุณตัดสิ นใจผิด” ผลประโยชน์ ของ……… ความเสี่ ยงในการไม่ รักษาประโยชน์ /ทาให้ เกิด อันตรายด้ านร่ างกาย จิตใจ ทรัพย์ สิน 1. ไม่ พทิ กั ษ์ สิทธิ์ผู้ป่วย ในการได้ รับการรักษาพยาบาลที่มี มาตรฐาน การดูแลทีท่ าให้ สิ้นเปลืองเกินจาเป็ น 2. ไม่ ปกป้ องความเสี ยหาย อันตราย ทาให้ เสี่ ยง 3. ความผิดพลาด (malpractice) 4. ปฏิบัตกิ ารพยาบาลแก่ ผู้ไร้ ความสามารถไม่ เหมาะสม  ความเสี่ ยงต่ อการปิ ดบังความจริง ให้ ข้อมูลทีไ่ ม่ เป็ น จริงไม่ บอก หลีกเลีย่ งที่จะบอก บอกไม่ ตรง การบอกข่าวร้าย จาก “ ความรัก และหวังดี”  ความเสี“จั ่ ยงต่ดอการไม่ ด้ ” การเปิไดเผยความลั บ ทาให้ เกิดความ เสี ยหายต่ อผู้ป่วย จาก “รู้ เท่ าไม่ ถงึ การณ์ ” “ ไม่ รู้ ” “เคยชิน”  ความเสี่ ยงต่ อการไม่ รักษาความลับ 1.ไม่ รู้ว่าสิ่ งทีท่ า ผิดจริยธรรม- ติดชื่ อผู้ป่วยหน้ าหอ ผู้ป่วย หน้ าห้ อง 2.ไม่ รู้/ไม่ มวี ธิ ีเก็บรักษาข้ อมูลผู้ป่วย /การทาลาย ข้ อมูล – ประวัตผิ ู้ป่วย เอาไปทาถุงกระดาษ 3.ไม่ ระมัดระวัง การพูดคุยเรื่ องผู้ป่วย การส่ งเวร รับเวร การให้ ข้อมูลผู้ป่วยกับผู้อื่นทาง โทรศัพท์ ความเสี่ ยงต่ อการลาเอียง/ ไม่ เสมอภาค เลือกปฏิบัติ เพราะ “ เป็ นญาติ” ลัดคิวได้ “ กลัวอันตรายกับตนเอง” “เป็ นโรคติดต่ อ” “ ตัวตน ” “ วัฒนธรรมของระบบบริการ” ความเสี่ ยงทางจริยธรรมในการรักษาพยาบาล สาเหตุ  วัฒนธรรมบริการ ไม่ ร้ ู ว่ าเป็ นสิ ทธิ์ เป็ นจริยธรรม ขาด moral sensitivity ขาดความรู้ ทักษะในการปฏิบัติ ทักษะทางจริยธรรม ละเลย ไม่ ปฏิบัติ ทั้งทีร่ ู้ว่าควรปฏิบัติ ปฏิบัติไม่ ได้ จาก สถานการณ์ การปฏิบัติ บริบท  ขาดการสนับสนุนทรัพยากรให้ ปฏิบัตไิ ด้ อย่ างมี ประสิ ทธิภาพ  ขาดระบบและกลไกจริยธรรมของหน่ วยงาน การปฏิบัติที่ผดิ จริยธรรม ที่กาหนดใน “ข้ อบังคับสภาการพยาบาล ว่ าด้ วยการรักษาจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ. ศ. ๒๕๕๐” ทีถ่ ูกกล่ าวหา กล่ าวโทษ เรื่ องทีผ่ ้ ูประกอบวิชาชีพฯถูกกล่ าวหา/กล่ าวโทษ ประกอบวิชาชีพไม่ได้มาตรฐานของวิชาชีพ ให้ยาผิด เปิ ดเผยความลับของผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ ไม่สุภาพ และบังคับขู่เข็ญ ปฏิบัตติ นไม่เหมาะสม ไม่ปกป้ องคุ้มครอง เหยียดหยาม ซา้ เติม ผู้ใต้บังคับบัญชา ดูหมิน่ เพือ่ นร่วมงาน ทับถมให้ร้าย กลั่นแกล้ง ผู้ร่วมงาน ไม่ยกย่องให้เกียรติและเคารพศักดิศ์ รีของผู้ร่วมวิชาชีพ ทาร้าย ร่างกายผู้ร่วมวิชาชีพ และผู้ร่วมงาน ทาร้ายร่างกายผู้อนื่ ประพฤติตนไม่ เหมาะสม ทาผิดวินัยราชการ และไม่ เคารพกฎหมายบ้ านเมือง ปลอมเอกสารราชการ ปลอมใบอนุญาตฯ ปลอมลายเซ็นผู้บังคับบัญชา ตรวจผู้ป่วยแทนแพทย์ และลงชื่ อแพทย์ ฉ้ อโกง ไม่ อยู่เวรนอกเวลาราชการ แต่ เบิกค่ าตอบแทน เอาบัตรกดเงินผู้อื่นไป กดเงินโดยผู้อื่นไม่ อนุญาต รับเงินแล้ วไม่ นาส่ งโรงพยาบาล ออกใบเสร็จไม่ ตรง กับสาเนาใบเสร็จ เรียกเก็บเงินโดยไม่ ออกใบเสร็จ ส่ งผู้ไม่ ใช่ พยาบาลไปปฏิบัตงิ านพยาบาลประจาโรงงาน กระทาผิด พ.ร.บ.ยาเสพติด ครอบครองยาเสพติด ส่ งยาเสพติดฯลฯ การกล่ าวหา /กล่ าวโทษ มาตรา ๓๓ บุคคลผู้ซึ่งได้ รับความเสี ยหายเพราะผู้ประกอบวิชาชีพการ พยาบาล การผดุงครรภ์ หรื อการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ประพฤติ ผิดจริยธรรมแห่ งวิชาชีพการฯมีสิทธิกล่ าวหาผู้ก่อให้ เกิดความเสี ยหาย นั้นโดยทาเรื่ องยื่นต่ อสภาการพยาบาล กรรมการมีสิทธิกล่ าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรื อการพยาบาล และการผดุงครรภ์ ว่าประพฤติผดิ จริยธรรมแห่ งวิชาชีพ โดยแจ้ งเรื่ องยื่นต่ อสภาการพยาบาล การกล่าวหา/กล่าวโทษ สิ ทธิการกล่าวหา/กล่าวโทษสิ้ นสุ ดลงเมื่อพ้นหนึ่งปี นับแต่ วันที่ผไู ้ ด้รับความเสี ยหายหรื อผูก้ ล่าวโทษ รู ้เรื่ องการประพฤติผดิ จริ ยธรรมแห่งวิชาชีพและรู ้ตวั ผู ้ ประพฤติผดิ ทั้งนี้ไม่เกินสามปี นับแต่วนั ที่มีการประพฤติผิด จริ ยธรรมแห่งวิชาชีพนั้น ข้อบังคับสภาการพยาบาล ว่าด้วยการสื บสวนหรื อสอบสวนในกรณี ที่มีการกล่าวหา หรื อกล่าวโทษว่ามีผปู ้ ระพฤติผดิ จริ ยธรรมแห่งวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้ อบังคับสภาการพยาบาลว่ าด้ วยการสื บสวนหรื อสอบสวนฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ หมวด ๑ บททั่วไป หมวด ๒ กระบวนการพิจารณาการประพฤติผิดจริยธรรม หมวด ๓ การดาเนินการของคณะอนุกรรมการจริยธรรม หมวด๔การดาเนินการของคณะอนุกรรมการสอบสวน หมวด๕การดาเนินการของคณะกรรมการ หมวด๖ คาสั่งสภาการพยาบาล ข้ อ๔๖พิจารณาสานวนการสื บสวน กรณีข้อเท็จจริงยังไม่ เพียงพอที่จะวินิจฉัยให้ สืบสวน สอบสวนเพิม่ เติม กรณีเห็นว่ าคาร้ องเรียนไม่ มมี ูล ให้ ยกข้ อกล่ าวหา ข้ อกล่ าวโทษ กรณีเห็นว่ าผู้ถูกร้ องเรียนประพฤติผดิ จริยธรรมให้ ลงโทษอย่ าง ใดอย่ างหนึ่งดังนี้ »ว่ ากล่ าวตักเตือน »ภาคฑัณฑ์ »พักใช้ ใบอนุญาตมีกาหนดเวลาตามทีเ่ ห็นสมควร แต่ ไม่ เกิน สองปี »เพิกถอนใบอนุญาต หมวด ๕ การดาเนินการของคณะกรรมการ(ต่อ) ข้อ๔๗ การพักใช้ใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาตต้องขอความ เห็นชอบจากสภานายกพิเศษ สภานายกพิเศษอาจมีคาสั่ งยับยั้งมติ กรณีทมี ิได้ ยบั ยั้งภายใน สิ บห้ าวันนับแต่ วนั ที่ได้ รับมติให้ ถือว่ าให้ ความเห็นชอบ ถ้ าสภานายกพิเศษยับยั้งมติ ให้ คณะกรรมการประชุ มพิจารณา อีกครั้งภายใน สามสิ บวัน ถ้ ามีเสี ยงยืนยันมติไม่ น้อยกว่ าสองใน สามของจานวนกรรมการทั้งคณะ ก็ให้ ดาเนินการตามมติน้ันได้ การขอรับใบอนุญาตกรณี ถูกสัง่ เพิกถอน มาตรา ๔๕ ผู้ประกอบวิชาชีพฯซึ่งถูกเพิกถอนใบอนุญาต  อาจขอรับใบอนุญาตอีกได้ เมื่อพ้นสองปี นับแต่ วนั ทีถ่ ูกเพิกถอนในอนุญาต ถ้ าคณะกรรมการได้ พจิ ารณาและปฏิเสธการออกใบอนุญาต จะยื่นคาร้ องขอรับ ใบอนุญาตได้ อกี ต่ อเมื่อสิ้นระยะเวลาหนึ่งปี นับแต่ วนั ทีก่ รรมการปฏิเสธการออก ใบอนุญาต ถ้ าคณะกรรมการปฏิเสธการออกใบอนุญาตเป็ นครั้งทีส่ องแล้ ว ผู้น้ันเป็ นอันหมด สิ ทธิขอรับใบอนุญาตอีกต่ อไป โทษอื่นที่อาจได้ รับจากการกระทาผิด จริยธรรม กฎหมาย โทษทางกฎหมายอาญา โทษทางกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ การถูกเพิกถอนใบอนุญาตใบประกอบวิชาชีพทาให้ ความเป็ นสมาชิกสภาการพยาบาลสิ้นสุ ดหรื อไม่ การขาดสมาชิกภาพ ประพฤติเสียหาย ซึง่ กกสภาฯเห็นว่าจะนามาซึง่ ความเสือ่ มเสียเกียรติศักดิแ์ ห่งวิชาชีพ ต้องโทษจาคุก โดยคาพิพากษาถึงทีส่ ุด การถูกจาคุกที่ นามาซึง่ ความเสือ่ มเสียเกียรติศักดิแ์ ห่งวิชาชีพ จิตฟั่ นเฟื อน ไม่สมประกอบ เป็ นโรคทีก่ าหนด ไว้ในข้อบังคับ สมรรถนะด้ านจริยธรรม เป็ นสมรรถนะหนึ่งใน 8 สมรรถนะหลัก ที่สภาการพยาบาลกาหนด ระดับสมรรถนะทางจริยธรรม ประเด็นขัดแย้ งทางจริยธรรม(Ethical dilelmma) คืออะไร เหตุการณ์ ทกี่ ่ อให้ เกิความขัดแย้ งระหว่ างคุณค่ า ที่ต้องตัดสิ นใจเลือกกระทาอย่ างใดอย่ างหนี่งจาก ทางเลือกอย่ างน้ อยสองทางเลือกที่มีผลดีผลเสี ย ใกล้ เคียงกัน ยากต่ อการตัดสิ นใจ ทาให้ ไม่ มั่นใจว่ า จะทาอย่ างไร ประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม Justice Autonomy ครอบครัว Veracity Significant persons พยาบาล แพทย์ ผู้ป่วย Fidelity Advocacy Confidentiality promise keeping สถานการณ์ เนื่องจากสถานการณ์ การระบาดของโควิด ทาให้ ผู้ป่วยทางตา ลดลง อัตราครองเตียงลดลง เหลือ 30% รพ. ขอให้ พยาบาลในหอผู้ป่วยตาไปปฏิบัตงิ านทีห่ อผู้ป่วยโควิด ท่ านจะตัดสิ นใจอย่ างไร ๑.ยินดีไปทันที ๒ ลังเล เพราะ…………. ๓ หาเหตุผลทีจ่ ะไม่ ไป……….. ประเด็นความขัดแย้ งทางจริยธรรม ที่เกีย่ วข้ องกับ การดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย  ควรยุตกิ ารรักษา หรื อรักษาต่ อ จะถอดเครื่ องช่ วยหายใจได้ หรื อไม่  การบอกความจริง ควรหรื อไม่ ควร บอกสามี ว่ าภรรยามีเชื้อ HIV การจัดสรรทรัพยากร ควรให้ ผู้ป่วยหมดหวังออกจาก ICU หรื อไม่ แนวคิดทางจริยธรรม คุณค่ าและความเชื่ อ จรรยาบรรณวิชาชีพ กฎหมาย/สิ ทธิผู้ป่วย การตัดสิ นใจเชิงจริยธรรม หลักจริยธรรม นโยบายสาธารณสุ ข/ วัฒนธรรม / ศาสนา นโยบายหน่ วยงาน สั งคม/เศรษฐกิจ หลักการและแนวคิดในการตัดสิ นใจเชิงจริยธรรม แนวทางการตัดสินใจเชิงจริยธรรม 1. รวบรวมข้ อมูล ความคิด ความเข้ าใจ คุณค่ า(value) ความเชื่ อ ของ ผู้เกีย่ วข้ อง รวมทั้งตัวพยาบาล 2. หนดประเด็นขัดแย้ งทางจริยธรรม เป็ นประเด็นทางกฏหมายหรื อไม่ 3. วิเคราะห์ ผลดีผลเสี ย ของทางเลือก แต่ ละทาง  ผลดี เกิดกับใคร อย่ างไร  ผลเสี ย เกิดกับใคร อย่ างไร 4. ตัดสิ นใจและปฏิบัติ 5. ประเมินผลลัพธ์ การตัดสินใจเลือกทางเลือก ทางเลือก จะต้อง 1. ไม่ผิดกฏหมาย, ข้อกาหนดและเงือ่ นไขใน การประกอบวิชาชีพ 2. ไม่ละเมิดสิทธิผู้ป่วย 3. เป็ นประโยชน์ มากกว่าโทษ, มีผลดี > ผลเสีย 4. อยู่ในอานาจทีจ่ ะตัดสินใจ ( Role) 5.. เป็ นความเห็นชอบร่วมกันของผู้มอี านาจในการตัดสินใจ และผู้เกีย่ วข้องทุกฝ่ าย 6. เป็ นทีย่ อมรับ ในผลดี ผลเสีย ทีจ่ ะเกิดขึน้ จาก การตัดสินใจ และไม่มกี ารตัดสินใจที่ ถูก ผิด สถานการณ์ “......คนไข้ หลังผ่ าตัดสมอง มีปัญหาเรื่ องค่ าใช้ จ่าย ญาติให้ ถอดเครื่ องช่ วยหายใจ และพากลับบ้ าน พี่ เห็นว่ าคนไข้ ควรได้ รับการรักษาต่ อเพราะยังมี ความหวัง เมื่อญาติตัดสิ นใจอย่ างนี้ พีก่ ไ็ ม่ แน่ ใจว่ า จะตรงกับสิ่ งที่คนไข้ ต้องการจริงๆหรื อเปล่ า พีค่ ดิ ว่ าถ้ าคนไข้ พูดได้ เขาคงพูดว่ าเขาขอรักษาต่ อนะ” จากสถานการณ์ พยาบาลให้คุณค่ากับอะไร ……………………… ผู้ป่วยให้คุณค่ากับอะไร ………………………… ญาติให้คุณค่ากับอะไร ……………………….. เป็ นประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรมหรือไม่ มีทางเลือกอะไรบ้าง ทางเลือกที่1. …………………………………………………………. ข้อดี …………………………………………………………… ข้อเสี ย ………………………………………………………. ทางเลือกที2่. ………………………………………………………… ข้อดี …………………………………………………………… ข้อเสี ย ……………………………………………………… พยาบาลควรดาเนินการอย่างไร ………………………………………….. ………………………………………… ………………………………………….. สถานการณ์ “...... ผู้ป่วยอายุ 90 ปี กว่ า ต้ องใช้ เครื่ องช่ วยหายใจตลอดเวลา พอหัวใจหยุด เต้ นก็ช่วยนวดหัวใจ ทั้งๆที่น่าจะปล่ อยให้ เขา ไปสบาย ถึงเรานวดขึน้ มาแล้ ว คนไข้ กไ็ ม่ รอด ถ้ าหมอไม่ สั่งเอ็นอาร์ ) ก็ยงั ต้ องนวด หัวใจอยู่ นวดจนช้าไปหมด คนไข้ กต็ ้ อง เจ็บปวดทรมาน ทาไมต้ องไปยืดชีวติ เขาอีก” จากสถานการณ์ พยาบาลให้คุณค่ากับอะไร ……………………… ญาติให้คุณค่ากับอะไร ……………………….. แพทย์ให้คุณค่ากับอะไร ………………………………. เป็ นประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรมหรือไม่ มีทางเลือกอะไรบ้าง พยาบาลควรดาเนินการอย่ างไร ………………………………………….. ………………………………………… ………………………………………….. ปัญหา อุปสรรคในการตัดสิ นใจทางจริยธรรมของพยาบาล 1. ขาดความรู้ ในแนวทางการตัดสิ นใจ 2. ขาดประสบการณ์ 3. ขาดแนวทาง คู่มือปฏิบัติ ของหน่ วยงาน 4. ขาดทีป่ รึกษา ขาดผู้รู้ 5. ขาดอานาจในการตัดสิ นใจ พระราชบัญญัตสิ ุ ขภาพแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๒ บุคคลมีสิทธิทาหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับ บริการสาธารณสุขที่เป็ นไปเพียง เพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของ ชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บได้ การดาเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาตามวรรคหนึ่ง ให้เป็ นไป ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง เมื่อผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขได้ปฏิบตั ิตามเจตนาของบุคคล ตามวรรคหนึ่งแล้วมิให้ ถือว่าการกระทานัน้ ไม่เป็ นความผิดและให้ พ้นจากความรับผิดทัง้ ปวง Living will ข้อบังคับสภาการพยาบาล ว่าด้วยข้อจากัดและ เงือ่ นไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๖๕ (ด้านการพยาบาล เวชปฏิบัตทิ างตา ) คาถาม?

Use Quizgecko on...
Browser
Browser