เอกสารขอมูลความปลอดภัยสารเคมี 67 PDF
Document Details
Uploaded by RetractableCalcite3885
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
อาจารย์ชญั ญากานต์ โกกะพันธ์
Tags
Summary
เอกสารนี ้ จ ะ อธิบายเกี ยวกับเอกสารข้อมู ลความปลอดภัยสารเคมี (SDS) และข้ อมู ลสาคัญๆ ใ นเอกสาร
Full Transcript
รายวิชา 1114 304 การจัดการสารเคมี วัตถุอนั ตราย และการเผชิญเหตุฉุกเฉิน จานวน 3(3-0-6) หน่ วยกิต ช่องทางการติดต่อ อาจารย์ชญั ญากานต์ โกกะพันธ์ Email: [email protected] ❑ คาอธิบายรายวิชา ความรู ้...
รายวิชา 1114 304 การจัดการสารเคมี วัตถุอนั ตราย และการเผชิญเหตุฉุกเฉิน จานวน 3(3-0-6) หน่ วยกิต ช่องทางการติดต่อ อาจารย์ชญั ญากานต์ โกกะพันธ์ Email: [email protected] ❑ คาอธิบายรายวิชา ความรู ้ เ บื้ อ งต้น เกี่ ย วกับ สารเคมี ชนิ ด ของอุ บ ัติ ภ ัย และ สาเหตุ ข องอุ บ ั ติ ภ ั ย จากสารเคมี ที่ เ ป็ นอั น ตรายที่ มี ใช้ ใ น อุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ การบ่งชี้ วตั ถุอนั ตราย การจัดกลุ่ม ผลิตภัณฑ์และการติดฉลากตามระบบ GHS เอกสารข้ อมูลความ ปลอดภัยสารเคมี (SDS) อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล (PPE) วิธีที่ถูกต้องในการจัดเก็บการใช้และการทาลายสารเคมี ความปลอดภัยในการขนย้ายและขนส่ ง การกักกันและการเก็บ กักสารเคมีรั่วไหล วิธีป้องกันอุบตั ิภยั จากสารเคมีและการเตรี ยม ความพร้อม และการตอบโต้เหตุฉุกเฉิ น 2 เอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี (Safety Data Sheet) โดย อาจารย์ชญั ญากานต์ โกกะพันธ์ Email: [email protected] จุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ 1. ทราบความสาคัญของเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี 2. ทราบรายละเอียดของเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี 3. ทราบแหล่งสื บค้นของเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี 4. ทราบการแนวทางการประยุกต์ใช้เอกสารเอกสารข้อมูลความ ปลอดภัยสารเคมีในการตอบโต้เหตุฉุกเฉิ นสารเคมี 5. ทราบแนวทางการบริ หารจัดการเอกสารข้อมูลความปลอดภัย สารเคมีในสถานประกอบการ 4 หัวข้ อการเรียนรู้ 1. ความสาคัญของเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี 2. รายละเอียดของเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี 3. แหล่งสื บค้นเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี 4. การประยุกต์ใช้เอกสารเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในการตอบโต้เหตุฉุกเฉิ นสารเคมี 5. การบริ หารจัดการเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในสถานประกอบกิจการ 5 1. ความสาคัญของเอกสาร ข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี ที่มาภาพ https://www.shutterstock.com/th/search/safety-data-sheet 6 1.ความสาคัญของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 7 1.ความสาคัญของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ▪ สารเคมีแต่ละชนิดมีคุณสมบัติและอันตรายต่างกัน บางชนิดอาจ ก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงถึงชีวิต ▪ หากเกิดอุบตั ิเหตุอาจก่อให้เกิดความสู ญเสี ยต่อชีวิตผูค้ น หรื ออาจ ก่อนให้เกิดทรัพย์สินเสี ยหาย https://www.youtube.com/watch?app=desktop&v=FXMBgwaOhaE ที่มาภาพ https://www.alamy.com/stock-photo/chemical-accident.html?pseudoid=9929A7D64D6B4D01A12B9F281585BDDE&sortBy=relevant 8 1.ความสาคัญของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ❑ การจัดการด้านความปลอดภัยในการทางานกับสารเคมี จาเป็ นต้องทราบ อันตรายของสารเคมี การใช้งานอย่างปลอดภัย และแนวปฏิบตั ิเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิ น ❑ ดังนั้นจึงต้องทราบข้อมูลในการจัดการสารเคมีอนั ตรายแต่ละตัว เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี Safety Data Sheet (SDS) 9 1.ความสาคัญของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี (Safety Data Sheet: SDS) คือ ▪ เอกสารที่แสดงข้อมูลเฉพาะของสารเคมีแต่ละชนิด เพื่อให้ดาเนินการ เกี่ยวกับสารเคมีน้ นั ถูกต้อง และปลอดภัย ▪ ข้อมูลจะเกี่ยวกับลักษณะอันตราย ความเป็ นพิษ วิธีใช้ การเก็บรักษา การขนส่ ง การกาจัด และการจัดการอื่นๆ ▪ ข้อมูลที่แสดงในเอกสาร SDS ต้องเป็ นไปตามมาตรฐานที่กฎหมายกาหนด ที่มา http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=10&ID=8 10 1.ความสาคัญของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ❑ SDS / MSDS / CSDS องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization:ILO) และที่ประชุมสหประชาชาติวา่ ด้วยสิ่ งแวดล้อมและการพัฒนา (United Nations Conference on Environment and Development, UNCED) ตลอดจนอีกหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริ กา ออสเตรเลีย ไทย เรี ยก Material Safety Data Sheet (MSDS) กลุ่มสหภาพยุโรป เรี ยก Safety Data Sheet (SDS) ประเทศมาเลเซีย เรี ยก Chemical Safety Data Sheet (CSDS) ที่มา http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=10&ID=8 11 1.ความสาคัญของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ❑ SDS / MSDS / CSDS ❖ ปัจจุบนั ตามประกาศของสหประชาชาติ เรื่ องระบบการจาแนกและการติดฉลากสารเคมีที่เป็ นระบบ เดียวกันทัว่ โลก (The Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals: GHS) กาหนดให้ เรี ยก Safety Data Sheet (SDS) เพียงอย่างเดียว เพื่อให้สอดคล้อง และเป็ นระบบเดียวกัน ที่มา http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=10&ID=8 12 1.ความสาคัญของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ❑ ข้ อกาหนดของระบบ GHS ต้องจัดทา SDS สารเคมี (Substance) ทุกชนิด ที่มีคุณสมบัติตรงกับเกณฑ์ความเป็ น อันตรายด้านกายภาพ สุ ขภาพ และสิ่ งแวดล้อม ตามระบบ GHS สารผสม (Mixture) ทุกชนิดที่ประกอบด้วยสารที่มีคุณสมบัติตรงกับ เกณฑ์ของสารก่อมะเร็ ง เป็ นพิษต่อระบบสื บพันธุ์ หรื อเป็ นพิษต่อระบบ อวัยวะเป้าหมาย โดยมีค่าความเป็ นอันตรายตามระบบ GHS 13 1.ความสาคัญของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ❑ ระเบียบ REACH สหภาพยุโรปประกาศใช้ เป็ นกฎหมาย เริ่มบังคับใช้ มิถุนายน พ.ศ. 2550 REACH = Registration, Evaluation and Authorisation of Chemical กาหนดให้มีการจัดทา SDS เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการรับ และส่ งผ่านข้อมูลความปลอดภัยสารเคมีในห่วงโซ่การผลิต ที่มา http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=10&ID=11 14 1.ความสาคัญของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ❑ ระเบียบ REACH ผูป้ ระกอบการที่ติดต่อค้าขายกับประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป จะต้องจัดทาเอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี (SDS) ผูผ้ ลิต (Manufacturer) สารเคมี (Substance) ผูน้ าเข้า (Importer) หรื อ เคมีภณ ั ฑ์ (Preparation) ผูจ้ ดั จาหน่าย (Distributor)) ที่มา http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=10&ID=11 15 1.ความสาคัญของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี กฎกระทรวง ก าหนดมาตรฐานในการบริ หาร จั ด การ และด าเนิ นการด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการท างาน ประเทศไทย เกี่ยวกับสารเคมีอนั ตราย พ.ศ. 2556 ❑ กระทรวงแรงงาน 16 แบบ สอ.1 17 สาคัญ แบบ สอ.1 18 1.ความสาคัญของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ❑ วิธีการนาส่ งเอกสาร สอ. 1 ศึกษาได้จากคลิปวีดีโอ (YouTube) นี้ ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=rkJ5yTiFiRw&t=11s 19 1.ความสาคัญของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่ อง มาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับการจัดการสารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 20 สรุ ป ความสาคัญของเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี กระทรวงแรงงาน กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐาน ข้อกาหนดของระบบ GHS ในก ารบ ริ หา ร จั ด ก าร แล ะ (The Globally Harmonized ด าเนิ น การด้า นความปลอดภัย System of Classification and Labelling of อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม Chemicals) ในการท างานเกี่ ย วกับ สารเคมี อันตราย พ.ศ. 2556 กระทรวงอุตสาหกรรม กฎหมาย REACH ประกาศกระทรวง เรื่ อง มาตรการ ของสหภาพยุโรป ความปลอดภัยเกี่ยวกับการจัดการ สารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 21 2. รายละเอียดของเอกสารข้อมูล ความปลอดภัยสารเคมี ที่มาภาพ https://www.shutterstock.com/th/search/safety-data-sheet 22 2.รายละเอียดของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 1. ข้ อมูลเกีย่ วกับสารเคมีและบริษัทผู้ผลิตและจัดจาหน่ าย 2. ข้ อมูลเกีย่ วกับอันตรายของสารเคมี 3. องค์ ประกอบ/ข้ อมูลเกีย่ วกับองค์ ประกอบของสารเคมี 4. มาตรการปฐมพยาบาล 5. มาตรการการผจญเพลิง 6. มาตรการเมื่อมีอุบัติเหตุสารเคมีหกรั่วไหล 7. ข้ อปฏิบัติการใช้ สารและการเก็บรักษา 8. การควบคุมการสั มผัสสาร/การป้ องกันส่ วนบุคคล 23 2.รายละเอียดของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 9. คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี 10. ความเสถียรและความไวในการทาปฏิกริ ิยา 11. ข้ อมูลด้ านพิษวิทยา 12. ข้ อมูลด้ านนิเวศวิทยา 13. การกาจัดสาร 14. ข้ อมูลด้ านการขนส่ ง 15. ข้ อบังคับและระเบียบปฏิบัติทางกฎหมาย 16. ข้ อมูลอื่นๆ เช่ น รายชื่ อเอกสารอ้างอิง และการป้ องกันอันตรายส่ วน บุคคลการจัดระดับอันตรายของสาร 24 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 1. ข้ อมูลเกีย่ วกับสารเคมี บริษัทผู้ผลิต และ/หรื อ จาหน่ าย (Identification of the substance/preparation and of the Company/undertake) 25 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 2. ข้อมูลระบุ ความเป็ นอันตราย (Hazards Identification) 26 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 3. ส่ วนประกอบ และข้อมูลเกี่ยวกับส่ วนผสม (Composition/ Information on Ingredients) CAS No. คือ ชุดตัวเลขอ้างอิงเฉพาะของสารเคมี เป็ นรหัสประจาตัวเพื่อระบุสารเคมี 27 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 4. มาตรการปฐมพยาบาล (First Aid Measures) 28 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 5. มาตรการผจญเพลิง (Fire Fighting Measures) 29 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 6. มาตรการจัดการเมื่อมีการหกรั่วไหลของสารโดยอุบตั ิเหตุ (Accidental Release Measures) 30 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 7. ข้ อปฏิบัติในการใช้ และการเก็บรักษา (Handling and Storage) ข้อควรระวังในการขนถ่ ายเคลื่ อนย้ายใช้ งาน และการเก็บรักษาอย่างปลอดภัย: เก็บ ให้ห่างจากความร้อน ประกายไฟและเปลว ▪ ต่อสายดินไฟฟ้าก่อนการขนย้าย ไฟ ใช้เฉพาะเมื่อการระบายอากาศเพียงพอ ▪ ใช้งานวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่เกิด เก็ บ ในภาชนะที่ ปิ ดสนิ ท หลี ก เลี่ ย งการ ประกายไฟ และ สัมผัส กับดวงตา ผิวหนัง และเสื้ อผ้า ไม่ สู ดดมไอระเหย ไม่กลืนกิน ▪ ป้ องกั น การระเบิ ด 31 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 7. ข้ อปฏิบัติในการใช้ และการเก็บรักษา (Handling and Storage) 32 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 8. การควบคุม การรับสั มผัส และการป้องกัน ภัยส่ วนบุคคล (Exposure Controls/ Personal Protection) 33 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 9. คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพ (Physical and Chemical Properties) 34 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 10. ความเสถียรและความไวต่ อการเกิดปฏิกริ ิยา (Stability and Reactivity) 35 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 11. ข้ อมูลด้ านพิษวิทยา (Toxicological Information) 36 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 11. ข้ อมูลด้ านพิษวิทยา (Toxicological Information) 37 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 12. ข้ อมูลเชิงนิเวศน์ (Ecological Information) 38 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 13. มาตรการการกาจัด (Disposal Considerations) 39 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 14. ข้ อมูลสาหรับ การขนส่ ง (Transport Information) 40 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 15. ข้ อมูลเกีย่ วกับกฎข้ อบังคับ (Regulatory Information) 41 ตัวอย่ างเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี 16. ข้ อมูลอื่น (Other Information) 42 3.แหล่งสื บค้น เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี ที่มาภาพ https://www.shutterstock.com/th/search/safety-data-sheet 43 สามารถสื บค้น SDS จากที่ใดบ้าง 1) เว็บไซต์ฐานความรู ้ความปลอดภัยด้านสารเคมี (สนับสนุนโดย สกว.) http://www.chemtrack.org/ 2) เว็บไซต์ของกรมควบคุมมลพิษ: http://www.pcd.go.th/ 3) เว็บไซต์บริ ษทั เมอร์ ก (Merck) http://www.merck.co.th/th/services/chemical_msds.asp ที่มา http://www.chemsafety.research.chula.ac.th/?page_id=8 44 สามารถสื บค้น SDS จากที่ใดบ้าง เว็บไซด์ ทมี่ ีข้อมูลเป็ นภาษาอังกฤษ ได้ แก่ 1) MSDS search: http://www.msdssearch.com/DBLinksN.htm 2) บริ ษทั ผูผ้ ลิตสารเคมีต่างๆ Sigma Aldrich: http://www.sigmaaldrich.com/ Merck: http://www.chemdat.info/fcatalog/getContent.cmd?key=157375 0&application=ChemDAT&country=th&language=en&idm=T Fisher Scientific: http://www.fishersci.com ที่มา http://www.chemsafety.research.chula.ac.th/?page_id=8 45 กิจกรรม ให้นกั ศึกษาเข้าเว็บไซต์ http://www.chemtrack.org/ เพื่อสื บค้นSDS ของสารเคมี 1 ชนิด (ตามความสนใจ) 46 กิจกรรม ให้นกั ศึกษาเข้าเว็บไซต์ http://www.chemtrack.org/ เพื่อสื บค้นSDS ของสารเคมี 1 ชนิด (ตามความสนใจ) 47 4.การประยุกต์ใช้เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในการตอบโต้เหตุฉุกเฉิ นสารเคมี ที่มาภาพ https://www.shutterstock.com/th/search/safety-data-sheet 48 4.การประยุกต์ใช้เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในการตอบโต้เหตุฉุกเฉิ นสารเคมี ใช้ขอ้ มูลอะไรจากเอกสารข้อมูลความ ปลอดภัยสารเคมี (SDS) ในการตอบโต้ เหตุฉุกเฉินสารเคมีบา้ ง 49 4.การประยุกต์ใช้เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในการตอบโต้เหตุฉุกเฉิ นสารเคมี ✓ข้ อมูลเกีย่ วกับสารเคมีและบริษัทผู้ผลิตและจัดจาหน่ าย ✓องค์ ประกอบ/ข้ อมูลเกีย่ วกับองค์ ประกอบของสารเคมี ✓ข้ อมูลเกีย่ วกับอันตรายของสารเคมี 50 4.การประยุกต์ใช้เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในการตอบโต้เหตุฉุกเฉิ นสารเคมี ✓ มาตรการปฐมพยาบาล ✓ มาตรการการผจญเพลิง ✓ มาตรการเมื่อมีอบุ ัติเหตุสารเคมีหกรั่วไหล 51 4.การประยุกต์ใช้เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในการตอบโต้เหตุฉุกเฉิ นสารเคมี ✓การควบคุมการสั มผัสสาร/การป้ องกันส่ วนบุคคล ✓คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี ✓ความเสถียรและความไวในการทาปฏิกริ ิยา ✓ข้ อมูลด้ านพิษวิทยา ✓ข้ อมูลด้ านนิเวศวิทยา 52 กิจกรรม การประยุกต์ ใช้ เอกสารเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในการตอบโต้ เหตุฉุกเฉินสารเคมี ให้ ศึกษาเอกสาร Safety Data Sheet (SDS) ของสารเคมี และ นาเสนอว่ าเราจะนาข้ อมูลจาก SDS ไปใช้ ในการตอบโต้ เหตุฉุกเฉิน สารเคมี อย่ างไร เช่ น อธิบายว่ าสารเคมีอนั ตรายอย่ างไร จะระงับเหตุ อย่ างไร จะใช้ อุปกรณ์ ป้องกันอันตรายอะไรบ้ าง และจะช่ วยเหลือปฐม พยาบาลผู้บาดเจ็บอย่ างไร https://www.youtube.com/watch?v=XhYzSXxmxZQ 53 5.การบริ หารจัดการเอกสารข้อมูลความ ปลอดภัยสารเคมีในสถานประกอบการ ที่มาภาพ https://www.shutterstock.com/th/search/safety-data-sheet 54 5.การบริหารจัดการเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในสถานประกอบการ 1. สารวจชนิดและปริมาณสารเคมี สู ตรเคมี และรู ปแบบของสารเคมีที่ใช้ วิธีการเก็บรักษา การเคลื่อนย้าย สถานที่ใช้ จานวนผูส้ มั ผัสกับสารเคมี 55 5.การบริหารจัดการเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในสถานประกอบการ 2. รวบรวม และจัดทาบัญชีรายชื่ อสารเคมี และเอกสารข้ อมูลความปลอดภัย ทาบัญชีแสดงรายชื่อสารเคมี รวบรวม SDS ของสารแต่ละชนิด ถ้า SDS เป็ นภาษาอังกฤษต้องแปลเป็ นภาษาไทย SDS ต้องอ่านเข้าใจง่าย สะดวกต่อการทางาน 56 5.การบริหารจัดการเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในสถานประกอบการ 3. ทาสาเนา MSDS และเผยแพร่ ไปยังผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง ผูใ้ ช้หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องต้องสามารถเข้าถึงหรื อใช้ขอ้ มูลได้ตลอดเวลา Hard copy Soft File SDS 57 5.การบริหารจัดการเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในสถานประกอบการ 3. ทาสาเนา MSDS และเผยแพร่ ไปยังผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง กลุ่มที่จาเป็ นต้องใช้ขอ้ มูล SDS 1) ผูท้ ี่สมั ผัสกับสารเคมี ▪ ต้องตระหนักถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้น ▪ รู ้วิธีปฏิบตั ิงานได้อย่างปลอดภัย ▪ ใช้ PPE ที่เหมาะสม ▪ วิธีปฏิบตั ิได้อย่างถูกต้องเวลาเกิดเหตุฉุกเฉิ น ที่มาภาพ https://www.nectec.or.th/schoolnet/library/snet6/envi3/solven/solvent.html 58 5.การบริหารจัดการเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในสถานประกอบการ 3. ทาสาเนา MSDS และ เผยแพร่ ไปยังผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง 2) ผู้ทที่ างานเกีย่ วกับการจัดการสารเคมี ▪ ทราบรายละเอียดของสารเคมี ▪ ทราบวิธีการจัดเก็บสารเคมีอย่างปลอดภัย ▪ ทราบวิธีการเคลื่อนย้ายสารเคมีอย่างปลอดภัย ▪ ทราบวิธีการทาลายสารเคมีที่เหลือให้ถูกต้อง ที่มาภาพ https://www.nectec.or.th/schoolnet/library/snet6/envi3/solven/solvent.html 59 5.การบริหารจัดการเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในสถานประกอบการ 3. ทาสาเนา MSDS และเผยแพร่ ไปยังผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง 3) ผู้ทที่ างานเกีย่ วข้ องกับความปลอดภัยและสุขภาพ ▪ พนักงานดับเพลิง แพทย์และพยาบาล ในองค์กร ▪ เพื่อเตรี ยมรองรับในการหาอุปกรณ์ (ดับเพลิง) ยา เวชภัณฑ์ ▪ เพื่อใช้ขณะเกิดเหตุฉุกเฉินจากอุบตั ิเหตุสารเคมี และมีผบู ้ าดเจ็บ 60 5.การบริหารจัดการเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในสถานประกอบการ 4. การฝึ กอบรม ฝึ กอบรมพนักงาน และผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกระดับ ในกรณี ดงั นี้ การปฐมนิเทศพนักงานใหม่ อบรมพนักงานที่เปลี่ยนหน้าที่มาสัมผัสกับสารอันตราย อบรมพนักงานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสารเคมีใหม่ 61 5.การบริหารจัดการเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในสถานประกอบการ 5. ปรับปรุ งแก้ ไขเอกสารข้ อมูลความปลอดภัย เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการใช้สารเคมีที่ใช้ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลสาคัญใน SDS 62 5.การบริหารจัดการเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยสารเคมี ในสถานประกอบการ สรุป การเก็บบันทึก - สารวจชนิดและปริ มาณสารเคมี - จัดทาบัญชีรายชื่อสารเคมีและSDS การเผยแพร่ ข้อมูลไปยังผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง - สาเนา SDS ไปยังผูท้ ี่เกี่ยวข้อง - ฝึ กอบรม ปรับปรุ งเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยให้ ถูกต้ องและทันสมัย - ปรับปรุ งแก้ไข SDS ให้ถูกต้องทันสมัย 63 แหล่ งข้ อมูลเพิม่ เติม 1) วันทนี พันธุ์ประสิ ทธิ์. 2545. การตอบโต้เหตุฉุกเฉิ นสารเคมี. ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุ ขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล. กรุ งเทพฯ. 2) Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals (GHS), 2023. Revision 10. United Nations, New York and Geneva. https://unece.org/sites/default/files/2023-07/GHS%20Rev10e.pdf 3) ฐานความรู ้ดา้ นความปลอดภัยจากสารเคมี http://www.chemtrack.org/default.asp THANK YOU FOR YOUR ATTENTION 64