ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย PDF

Document Details

PleasingMeerkat

Uploaded by PleasingMeerkat

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2567

กุลิสรา อุ่นเจริญ

Tags

Thai law law history of law legal studies

Summary

เอกสารนี้ให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย โดยแบ่งตามยุคต่างๆ ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์จนถึงยุคปัจจุบัน อธิบายลักษณะของกฎหมายในแต่ละยุค และให้ตัวอย่างกฎหมายในแต่ละยุค

Full Transcript

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ กฎหมาย กุลส ิ รา อุ่นเจริญ สาขาวิชาแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ม ห า ส า ร ค า ม วัตถุประสงค์ นิสิตสามารถอธิบายลักษณะทัว ่ ไปของ กฎหมายได้ถูกต้อง วิวัฒนาการ ของกฎหมาย...

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ กฎหมาย กุลส ิ รา อุ่นเจริญ สาขาวิชาแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ม ห า ส า ร ค า ม วัตถุประสงค์ นิสิตสามารถอธิบายลักษณะทัว ่ ไปของ กฎหมายได้ถูกต้อง วิวัฒนาการ ของกฎหมาย ยุคก่อนประวัติศาสตร์ กฎหมายยุคก่อนประวัติศาสตร์ กฎหมายในยุคนี้เป็นไปในลักษณะของ จารีต ประเพณี และ ความเชื่อทางศาสนา การปกครองสังคมอาศัยหลักการของ "ผู้นา" หรือ หัวหน้าเผ่าที่มีอานาจในการตัดสินข้อพิพาท การลงโทษมักเกี่ยวข้องกับการรักษาความสัมพันธ์ ในกลุ่มและการปรับสมดุลธรรมชาติ ตัวอย่าง การใช้กฎเกณฑ์ตามคติความเชื่อของชนเผ่า กฎหมายยุคโบราณ เริ่มปรากฏ กฎหมายลายลักษณ์อักษร เพื่อใช้ ควบคุมและจัดระเบียบสังคมที่ซับซ้อนขึน้ กฎหมายเริ่มมีบทบาทในการควบคุมการค้าขาย การเกษตร และความสัมพันธ์ในชุมชน ตัวอย่าง ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี (Hammurabi Code) : กฎหมายบาบิโลนโบราณที่มีลักษณะลายลักษณ์อักษร กฎหมายโรมัน (Roman Law) : พื้นฐานของ กฎหมายแพ่งในยุโรป ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี (Hammurabi Code) กฎหมายโรมัน (Roman Law) กฎหมายยุคกลาง กฎหมายมีลักษณะผสมผสานระหว่างจารีตประเพณี และศาสนา โดยเฉพาะในยุโรปที่กฎหมายศาสนจักร (Canon Law) มีอิทธิพล สังคมถูกจัดระเบียบด้วยระบบฟิวดัล (Feudalism) ซึง่ มีลักษณะของกฎหมายที่ใช้ในกลุ่มชนและพื้นที่เฉพาะ ตัวอย่าง กฎหมายของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ กฎหมายอิสลาม (Sharia Law) ในดินแดนมุสลิม กฎหมายของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ กฎหมายอิสลาม (Sharia Law) กฎหมายยุคใหม่ กฎหมายเริ่มพัฒนาขึ้นในรูปแบบที่เป็นระบบมากขึ้น มี การแยกกฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา และกฎหมาย มหาชนออกจากกัน การเกิดของ รัฐธรรมนูญ และ ระบบกฎหมายลาย ลักษณ์อักษร ในยุโรปและอเมริกา ตัวอย่าง ประมวลกฎหมายแพ่งนโปเลียน (Napoleonic Code): พื้นฐานของกฎหมายแพ่งในหลายประเทศ การพัฒนากฎหมายแรงงาน กฎหมายเศรษฐกิจ ประมวลกฎหมายแพ่งนโปเลียน (Napoleonic Code) กฎหมายแรงงาน กฎหมายในยุคปัจจุบัน มีการพัฒนา กฎหมายระหว่างประเทศ และ กฎหมาย สิทธิมนุษยชน เพื่อรองรับความร่วมมือในระดับโลก กฎหมายเริ่มมีลักษณะยืดหยุ่นและปรับตัวตามบริบท ทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี เช่น กฎหมายไซเบอร์ กฎหมายสิ่งแวดล้อม ตัวอย่าง กฎบัตรสหประชาชาติ (United Nations Charter): ข้อตกลงร่วมระหว่างประเทศ กฎหมาย คือ ? ความหมายของกฎหมาย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้นิยาม ความหมายของคาว่ากฎหมายไว้ว่า “กฎหมาย” หมายถึง บทบัญญัติซึ่งผู้มีอานาจสูงสุด ในประเทศได้ตราขึ้นไว้ เพื่อใช้ในการบริหารบ้านเมือง และ บังคับบุคคลในความสัมพันธ์ระหว่างกัน ผู้ใดฝ่าฝืนต้องได้รับ โทษหรือต้องถูกบังคับให้ปฏิบัติตาม สิ่งที่คล้ายคลึง กฎหมาย บรรทัดฐานทางสังคม 01 วิถีชาวบ้าน (Folkways) 02 จารีต (Mores) บรรทัดฐานทางสังคม 01 วิถีชาวบ้าน (Folkways) เป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่อยู่ในรูปของประเพณีนิยม ที่สมาชิกในสังคมปฏิบัติสืบต่อ กันมา ถ้าใครไม่ปฏิบัติตามก็จะถูกติฉินนินทาว่าร้าย เช่น การแต่งกาย กิริยามารยาท ทางสังคมในโอกาสต่าง ๆ เป็นต้น บรรทัดฐานทางสังคม 02 จารีต (Mores) เป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่ยึดหลักความดีความชั่ว กฎเกณฑ์ทางศาสนา เป็นเรื่อง ของความรู้สึกว่าสิ่งใดผิดสิ่งใดถูก หากใครละเมิดฝ่าฝืนจะได้รับการต่อต้า นจากสมาชิก ในสังคมอย่างจริงจัง อาจถูกกีดกันออกจากสังคม หรือไม่มีใครคบค้าสมาคมด้ว ย เช่น การลักเล็กขโมยน้อย การเนรคุณบิดามารดา หรือผู้มีพระคุณ เป็นต้น ความหมายของกฎหมายและจารีตประเพณี ประเด็น กฎหมาย จารีตประเพณี ความหมาย ข้อบังคับที่รัฐหรือองค์กรที่มีอานาจกาหนดขึ้น เพื่อใช้ แนวปฏิบัติหรือความเชื่อที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสูร่ ุ่นในสังคม ควบคุมพฤติกรรมในสังคมอย่างเป็นทางการ แหล่งที่มา กาหนดโดยรัฐหรือหน่วยงานที่มีอานาจตามกฎหมาย เช่น เกิดขึ้นจากการยอมรับและปฏิบัติซ้าๆ ในกลุ่มสังคมโดย รัฐสภา หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่ได้มีการกาหนดเป็นลายลักษณ์อักษร การบังคับใช้ บังคับใช้โดยรัฐหรือองค์กรที่มีอานาจ มีบทลงโทษชัดเจน บังคับใช้โดยกลุ่มสังคม ไม่มีบทลงโทษทางกฎหมายโดยตรง หากฝ่าฝืน แต่จะมีผลทางสังคม เช่น การถูกตาหนิหรือแยกออกจาก กลุ่ม ลักษณะ มีลายลักษณ์อักษรและมีโครงสร้างชัดเจน เช่น ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร มีลักษณะยืดหยุ่นและอาจ พระราชบัญญัติ พระราชกาหนด หรือรัฐธรรมนูญ เปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลา การยอมรับ ทุกคนในประเทศต้องปฏิบัติตามโดยไม่มีข้อยกเว้น ยอมรับเฉพาะกลุ่มหรือชุมชนที่ถือปฏิบัติ ตัวอย่าง กฎหมายอาญา กฎหมายแพ่ง กฎหมายจราจร การกราบไหว้ผู้ใหญ่, การแต่งกายตามประเพณีในงานพิธี ต่าง ๆ ลักษณะของ กฎหมาย ลักษณะของกฎหมาย 01 กฎหมายต้องเป็นคาสั่งหรือ ข้อบังคับ เป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่มีการบัญญัติไว้อย่างชัดเจน แน่นอน ว่ากระทาอย่างไร เป็นความผิดฐานใด จะได้รับอย่างไร เช่น ผู้ใด ฆ่าผู้อื่นต้องระวางโทษประหารชีวิต เป็นต้น ลักษณะของกฎหมาย 02 กฎหมายต้ อ งเป็ น ค าสั ง ่ หรื อ ข้อบังคับที่มาจากรัฏฐฐาธิปัตย์ รัฎฐาธิปัตย์คือ ผู้ที่ประชาชนส่วนมากยอมรับนับถือว่าเป็นผู้มีอานาจสู งสุดในแผ่นดิน โดยที่ไม่ต้องฟังอ านาจจากผู้ใดอีก ดังนี้ รัฎฐาธิปัตย์ จึงไม่ต้องพิจารณาถึงที่มาหรือ ลักษณะการได้อานาจว่าจะได้อย่างไร แม้จะเป็นการปฏิวัติหรือรัฐประหารก็ต ามถ้า หากคณะปฏิวัติหรือคณะรัฐประหารเป็น รัฎฐาธิปัตย์ที่สามารถออกคาสั่ง คาบัญชาใน ฐานะเป็นกฎหมายของประเทศได้ ลักษณะของกฎหมาย 03 กฎหมายต้ อ งเป็ น ค าสั ง ่ หรื อ ข้อบังคับที่ใช้ได้ทั่วไป กฎหมายต้องเป็นเรื่องที่เมื่อประกาศใช้แล้วจะมีผลบังคับเป็นการทั่วไป ไม่ใช่กาหนดขึ้น เพื่อประโยชน์ของบุคคลหนึ่ง หรือให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดปฏิบัติตามเท่านั้ น ไม่ว่าบุคคล นั้นจะมีอายุ เพศ หรือฐานะอย่างไรก็ตกอยู่ภายใต้ของการใช้บังคับกฎของกฎหมายอัน เดียวกัน (โดยไม่เลือกปฏิบัติ ) เพราะบุคคลทุกคนมีความเสมอภาคที่จะได้รับ ความ คุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ลักษณะของกฎหมาย 04 กฎหมายบั ญ ญั ต ข ิ น ้ ึ เพื อ ่ ให้ บุคคลปฏฐิบัติตาม แม้การปฏิบัติบางครั้งอาจจะเกิดจากความไม่เต็มใจที่จะปฏิบัติ แต่หากเป็นคาสั่ ง คาบัญชา แล้ว ผู้รับคาสั่ง คาบัญชา ต้องปฏิบัติตาม หากขัดขืนไม่ปฏิบัติตามก็จะเกิ ดสภาพบังคับของ กฎหมาย อันเป็นผลร้ายต่อผู้ฝ่าฝืนคาสั่งนั้น และเป็นที่พึงเข้าใจด้วยว่าผู้ ที่อยู่ในฐานะที่จะรับ คาสั่งและปฏิบัติตามกฎหมายได้นั้นต้องเป็นบุคคลตามกฎหมาย อย่างไรก็ดีแม้กฎหมายจะไม่ ใช้บังคับแก่สัตว์ แต่ก็มีความจาเป็นที่จะต้องควบคุมมิให้สัตว์กระทาความเสียหายแก่ผู้อื่น ลักษณะของกฎหมาย 05 กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ เพื่ อ ให้ กฎหมายเกิ ดความศัก ดิ์ ส ิท ธิ์ และประชาชนเคารพเชื่ อ ฟั ง ปฏิ บั ต ิ ตาม กฎหมายจึงต้องมีสภาพบังคับ (Sanction) สภาพบังคับของกฎหมายนั้นแบ่งเป็ น สภาพบังคับในทางอาญาและทางแพ่ง สภาพบังคับให้ทางอาญาโดยทั่วไปแล้ว คล้ายคลึงกัน คือ หากเป็นโทษสูงสุดจะใช้วิธีประหารชีวิต โทษทางกฎหมาย อาญา ริบทรัพย์สิน ปรับ กักขัง แพ่ง ค่าสินไหมทดแทน จาคุก ประหารชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่าง อานาจกับกฎหมาย หลักนิติรัฐ หลักการปกครองโดยกฎหมาย กล่าวคือการกระทาของรัฐเพื่อประโยชน์ สาธารณะและการปกครองประเทศต้องกระทาภายใต้กฎหมาย รัฐจะใช้อานาจหรือออก คาสั่งมาบังคับใช้แก่ประชาชนจะต้องมีกฎหมายมารองรับ ที่มาของอานาจนั้นก็ต้องชอบ ด้วยกฎหมายจะกระทาตามอาเภอใจไม่ได้ ด้วยเหตุ นี้อานาจหน้าที่ของรัฐจึงต้องบัญญัติ ในกฎหมายเพื่อเป็นการรับรองการใช้อานาจ โดยกฎหมายปกครองถือเป็นกฎหมายที่ กาหนดการใช้อานาจฝ่ายปกครองในการบริหารประเทศ และรัฐต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ปกครองเพื่อไม่ให้กระทบต่อสิทธิของประชาชน หากกฎหมายไม่ให้อานาจในการกระทา อย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมกระทาการที่นอกเหนือจากที่กฎหมายปกครองบัญญัติไม่ได้ รัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมาย พระราชบัญญัติ พระราชกาหนด กฎกระทรวง พระราชกฤษฎีกา ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติจังหวัด ข้อบัญญัติตาบล ข้อบัญญัติเมืองพั ทยา เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติกรุงเทพฯ รัฐธรรมนูญ รั ฐ ธรรมนู ญ คื อ กฎหมายสู ง สุ ด ของ ประเทศ กฎหมายใดขัดแย้งไม่ได้ โดยจะมีเนื้อหา เกี่ ย วกั บ การใช้ อ านาจอธิ ป ไตย ความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งสถาบั น การเมื อ ง สิ ท ธิ เ สรี ภ าพของ ประชาชน กฎหมายอื่ น ๆ ที่ อ อกมาจะต้ อ งออกให้ สอดคล้ อ งกั บ รั ฐ ธรรมนู ญ กฎหมายใดที่ ขั ด กั บ รัฐธรรมนูญจะก็จะไม่มีผลใช้บังคับได้ พระราชบัญญัติ เป็ น กฎหมายที่ บั ญ ญั ติ เ ฉพาะเรื่ อ งโดยฝ่ า ยนิ ติ บั ญ ญั ติ ตราขึ้นและออกมาใช้ ด้วยความที่พระราชบัญญัติมีศักดิ์สูงรอง จากรั ฐ ธรรมนู ญ การใช้ อ านาจตามพระราชบั ญ ญั ติ ข องฝ่ า ย ปกครองในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต่ า ง ๆ ต้ อ งอยู่ ใ นกรอบของ รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกาหนด เป็นกฎหมายที่มีลักษณะคล้ายกับพระราชบัญญัติ และมี ศั ก ดิ์ ที่ เ ท่ า กั น แต่ มี ค วามแตกต่ า งกั น ที่ พระราช กาหนดเป็ น กฎหมายที่ ฝ่ ายบริห ารเป็ น ผู้ ออกและได้ รั บ มอบอานาจจากรัฐธรรมนูญให้ออกในยามฉุกเฉินเท่านั้น เพื่ อ ประโยชน์ ข องประเทศ พระราชก าหนดถื อ เป็ น กฎหมายชั่วคราวที่จะต้องนาเข้ารัฐสภาให้ฝ่ายนิติบัญญัติ อนุมัติ ประกาศคณะปฏิวัติ หลั ง จากการปฏิ วั ติ ส าเร็ จ แล้ ว คณะ ปฏิวัติได้ยึดอานาจการปกครองทั้งหมดและถือว่า คณะปฏิ วั ติ เ ป็ น ผู้ ใ ช้ อ านาจปกครองสู ง สุ ด ใน ขณะนั้น หรื อรั ฏฐาธิปั ตย์ ดัง นั้นประกาศคณะ ปฏิวัติจึงถือเป็นกฎหมายปกครอง ประมวลกฎหมาย เป็ น กฎหมายที่ ร วบรวมกฎหมายเรื่ อ งเดี ย วกั น หรือ เรื่ องที่เ กี่ย วข้ องกัน มาบั ญญั ติร วมกัน เป็ นหมวดหมู่ อย่างเป็นระบบ ซึ่งประมวลกฎหมายที่ถื อเป็ นกฎหมาย ปกครองได้แก่ ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาแพ่ง และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาอาญา กฎหมายเหล่านี้รับรองการใช้อานาจของรัฐต่อประชาชน และวางหลักความเกี่ยวพันในทางปกครองระหว่างฝ่าย ปกครองกับเอกชน พระราชกฤษฎีกา เป็นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร เพื่อกาหนด ลายละเอียดของพระราชกาหนดหรือพระราชบัญญัติ จึงมี ศักดิ์ต่าลงมาจากกฎหมายดังกล่าว โดยปกติการออกพระ ราชกฤษฎีกาต้องอาศัยอานาจจากพระราชบัญญัติ กฎกระทรวง เป็ นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร โดย ปกติมักออกโดยรัฐมนตรีรักษาการประจากระทรวง นั้น ๆ เพื่อดาเนินการให้เป็นไปตามพระราชกาหนด หรือพระราชบัญญัติ ซึ่งได้กาหนดหลักเกณฑ์สาคัญ ในการออกกฎกระทรวงไว้ ข้อบัญญัติจังหวัด เป็นกฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อันมีผลบังคับในท้องถิ่นนั้น ๆ และ ออกโดยอาศัยอานาจจากพระราชบัญญัติบริหารส่วนจังหวัด เทศบัญญัติ คือกฎหมายที่ออกเพื่อใช้บังคับในเขตเทศบาลโดยอาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติเทศบาล ขอบเขตการใช้บังคับกฎหมาย ขอบเขตการใช้บังคับกฎหมาย ประเด็นที่จะพิจารณามีดังนี้ ได้แก่ 1. กฎหมายใช้เมื่อใด 2. กฎหมายใช้ที่ไหน 3. กฎหมายใช้แก่บุคคลใด กฎหมายใช้เมื่อใด 1. ให้ใช้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 2. ให้ใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 3. กาหนดเวลาให้ใช้ในอนาคต กฎหมายใช้ที่ไหน กฎหมายไทยใช้บังคับเฉพาะแต่ในราชอาณาจักร คาว่า "ราชอาณาจักร" หมายถึง ก. พื้นดินในประเทศไทย (รวมถึงแม่น้าลาคลองในประเทศไทยด้วย) ข. ทะเลอันเป็นอ่าวไทยตามพระราชบัญญัติ ค. ทะเลอันห่างจากฝั่งที่เป็นดินแดนของประเทศไทยไม่เกิน 12 ไมล์ทะเล ง. พื้นอากาศเหนือ ก. ข. และ ค. จ. เรือไทยในท้องทะเลหลวง กฎหมายใช้แก่บุคคลใด กฎหมายใช้บังคับบุคคลทุกคนที่อยู่ภายในราชอาณาจักรของรัฐนั้น ไม่ว่าจะเป็นคนไทยหรือคนต่างด้าว ซึ่งมีข้อยกเว้นอยู่ 2 ประการ คือ 1) พระมหากษัตริย์ แม้จะอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญแต่ก็อยู่เหนือกฎหมายอื่น พระองค์เป็นที่เคารพสักการะ และการกระทาของพระองค์ย่อมไม่เป็นการละเมิดกฎหมาย ผู้ใดจะฟ้องร้องพระองค์ในคดีแพ่ง คดีอาญา หรือจะกล่าวหาในทางใด ๆ ไม่ได้ 2) สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่อยู่ในสมัยประชุมสภาใดสภาหนึ่ง หรือทั้งสองสภาร่วม ประเภทของกฎหมาย ประเภทของกฎหมาย ใช้เนื้อหาของกฎหมายเป็นหลักเกณฑ์การแบ่ง กฎหมายลายลักษณ์อักษร กฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ใช้สภาพบังคับกฎหมายเป็นหลักในการแบ่ง กฎหมายที่มีสภาพบังคับทางอาญา กฎหมายที่มีสภาพบังคับทางแพ่ง ประเภทของกฎหมาย ใช้ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน เป็นหลักเกณฑ์ในการแบ่ง กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน กฏหมายลักษณะบุคคล Fashion 70s www.fashion 70s style.com กฎหมายใช้แก่บุคคลใด บุคคล คือสิ่งที่สามารถมีสิทธิและหน้าที่ได้ตามกฎหมาย เฉพาะมนุษย์เท่านั้นที่สามารถมีสิทธิ และหน้าที่ สัตว์ไม่มีสิทธิและหน้าที่ จึงไม่ใช่บุคคล ยังมีสิ่งอื่นซึ่งมีสภาพบุคคลด้วย ได้แก่ หมู่ คน กองทรัพย์สิน หรือกิจการอันใดอันหนึ่ง เช่น สมาคม มูลนิธิ หรือกระทรวง ทบวงกรม ซึ่ง สามารถมี สิ ท ธิ แ ละหน้ า ที่ เช่ น สามารถท าการซื้ อ ขายได้ เราเรี ย กบุ ค คลประเภทนี้ ว่ า นิติบุคคล กฏหมายลักษณะบุคคล 1. บุคคลธรรมดา 2. นิติบุคคล บุคคลธรรมดา 1. การเริ่มสภาพบุคคล ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 15 วรรค 1 บัญญัติว่า "สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก..." จากมาตรานี้จะเห็นได้ว่าการเริ่ม สภาพบุคคลต้องประกอบไปด้วยหลักเกณฑ์ 2 ประการ คือ 1. การคลอด 2. การอยู่รอดเป็นทารก บุคคลธรรมดา 2. การตาย เป็นการสิ้นสภาพบุคคลโดยธรรมชาติ บุคคลจะถึงแก่ความตายตามธรรมชาติ เมื่อหยุดหายใจ และหัวใจหยุดเต้น 3. การสาบสูญ เป็นการสิ้นสภาพบุคคลโดยผลของกฎหมาย ผู้ใดถูกศาลสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ก็เท่ากับว่าถึงแก่ความตาย ส่วนประกอบของสภาพบุคคลมีดังนี้คือ 1. ชื่อ 2. ภูมิลาเนา 3. สถานะ 4. ความสามารถ ความสามารถ ความสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประการ คือ 1. ความสามารถในการมีสิทธิ ทุกคนที่เกิดมาไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ ผู้หญิงหรือผู้ชาย ย่อมมีสิทธิและหน้าที่เท่าเทียมกัน แต่สิทธิบางอย่างบุคคลจะมีได้ต่อเมื่อมีอายุถึงเกณฑ์ที่ กาหนด เช่น ผู้เยาว์มีสิทธิที่จะทาพินัยกรรมได้เมื่อมีอายุ 15 ปีบริบูรณ์แล้ว 2. ความสามารถในการใช้ สิ ท ธิ ในการใช้ สิ ท ธิ ก ระท าการต่ า ง ๆ บุ ค คลจะต้ อ งมี ความสามารถ มีความรู้สึกผิดชอบ เด็กแรกเกิดย่อมสามารถมีสิทธิต่าง ๆ ได้ แต่ไม่สามารถใช้ สิทธินั้นได้โดยลาพังตนเอง เนื่องจากยังไร้เดียงสา ไม่อาจใช้ความนึกคิด ไม่มีความรู้ความ ชานาญแต่เดิมมานั้น ความสามารถ บุคคลที่หย่อนความสามารถ หรือถูกกฎหมายจากัดความสามารถในการใช้สิทธิมี 3 ประเภท คือ 1. ผู้เยาว์ 2. คนไร้ความสามารถ 3. คนเสมือนไร้ความสามารถ ผู้เยาว์ ผู้เยาว์ คือผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ผู้เยาว์บรรลุนิติภาวะได้ด้วยเหตุ 2 ประการคือ 1. บรรลุนิติภาวะโดยอายุ บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุ 20 บริบูรณ์ (มาตรา 19) 2. บรรลุนิติภาวะโดยการสมรส ผู้เยาว์ย่อมบรรลุนิติภาวะเมื่อทาการสมรส หากการสมรส นั้นได้ทาเมื่อชายและหญิงมีอายุ 17 ปีบริบูรณ์แล้ว คนไร้ความสามารถ หลักเกณฑ์ของการเป็นคนไร้ความสามารถ มาตรา 28 วรรค 1 บัญญัติว่า "บุคคลวิกลจริตผู้ใดถ้าคู่สมรสก็ดี ผู้บุพการีกล่าวคือ บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวดก็ดี ผู้สืบสันดานกล่าวคือ ลูก หลาน เหลน ลื่อก็ดี ผู้ปกครอง หรือ ผู้พิทักษ์ก็ดี ผู้ซึ่งปกครองดูแลบุคคลนั้นอยู่ก็ดี หรือพนักงานอัยการก็ดี ร้องขอต่อศาลให้สั่งให้ บุค คลวิก ลจริ ตผู้ นั้น เป็ นคนไร้ ค วามสามารถ ศาลจะสั่ง ให้ บุค คลวิ กลจริ ตผู้ นั้ นเป็น คนไร้ ความสามารถก็ได้" คนไร้ความสามารถ จากมาตรานี้จะเห็นได้ว่าบุคคลที่จะถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถนั้น จะต้อง เป็นบุคคลวิกลจริต และการวิกลจริตนั้นจะต้องมีลักษณะดังนี้ 1. ต้องเป็นอย่างมาก คือวิกลจริตชนิดที่พูดจาไม่รู้เรื่อง ไม่มีความรู้สึกผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่ รู้สึกตัวว่าทาอะไรลงไปบ้าง 2. เป็นอยู่ประจา คือวิกลจริตอยู่สม่าเสมอ แต่ไม่จาเป็นต้องเป็นอยู่ตลอดเวลา อาจมีเวลาที่มี สติอย่างคนธรรมดาบางเวลา ในเวลาต่อมาก็เกิดวิกลจริตอีก คนเสมือนไร้ความสามารถ หลักเกณฑ์ของการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ มาตรา 32 บัญญัติว่า "บุคคลใดมีกายพิการ หรือมีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือประพฤติ สุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทานองเดียวกันนั้น จนไม่ สามารถจะจัดทาการงานโดยตนเองได้ หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สิน ของตนเองหรือครอบครัว คนเสมือนไร้ความสามารถ หลักเกณฑ์ของการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ 1. มี เ หตุ บ กพร่ อ งบางอย่ า ง เหตุ บ กพร่ อ งที่ ศ าลอาจสั่ ง ให้ บุ ค คลเป็ น คนเสมื อ นไร้ ความสามารถได้แก่ 1.1 กายพิการ ไม่ว่าส่วนไหนของร่างกายจะพิการก็ได้ เช่น หูหนวก ตาบอด เป็นใบ้ แขนขาด ขาขาด ซึ่ ง อาจเป็น มาโดยกาเนิ ด หรือ เกิ ดขึ้น ภายหลัง เช่ น เกิ ดจากอุ บัติ เหตุ โรคภัยไข้เจ็บ หรือชราภาพ 1.2 จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หมายถึงบุคคลที่จิตผิดปกติ สมองพิการ แต่ยังไม่ถึง ขั้นวิกลจริต ยังมีความคิดคานึงอยู่บ้าง และสามารถทากิจกรรมหลายอย่างได้ด้วยตนเอง คนเสมือนไร้ความสามารถ 1.3 ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ ชอบใช้จ่ายฟุ่มเฟือย หรือใช้จ่ายเงินเกินกว่าฐานะ อยู่เป็นประจา ซึ่งทาให้ทรัพย์สมบัติร่อยหรอลงไปทุกวัน ในที่สุดก็จะหมดตัว และการใช้จ่าย ดังกล่าวไม่เกิดประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ แต่ถ้านาน ๆ จ่ายสักครั้งหนึ่ง เช่น จัดงานเลี้ยง ฉลองวันเกิด ซึ่งปีหนึ่งจัดครั้งหนึ่งไม่ถือว่าเป็นการประพฤติสุรุ่ยสุร่าย 1.4 ติดสุรายาเมา เช่น ดื่มสุราจัด เมาตลอดเวลา ติดฝิ่น เฮโรอีน เป็นประจาจนละเว้นเสีย ไม่ได้ ทาให้ร่างกายอ่อนแอ ความรู้สึกผิดชอบลดน้อยลงไป 1.5 มีเหตุอื่นทานองเดียวกันกับที่กล่าวมาแล้วใน 1.1 - 1.4 คนเสมือนไร้ความสามารถ 2. ไม่สามารถจะจัดทาการงานโดยตนเองได้หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่ ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว ความแตกต่างระหว่างคนไร้ความสามารถและ คนเสมือนไร้ความสามารถ ประเด็น คนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ ความหมาย บุคคลที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถเนื่องจากมี บุคคลที่ศาลสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถเนื่องจาก ความบกพร่องในทางจิตใจอย่างร้ายแรงจนไม่สามารถ มีความบกพร่องในทางจิตใจ แต่ยังสามารถทาบางกิจการ จัดการงานของตนเองได้ ได้ด้วยตนเอง ผู้ปกครอง ต้องมีผู้อนุบาลทาหน้าที่ดูแลและจัดการทุกเรือ่ งแทน ต้องมีผู้พิทักษ์ดูแลและให้ความยินยอมเฉพาะในบางกรณี การจัดการ ไม่สามารถทากิจการใดๆ ได้ด้วยตนเอง (ยกเว้นกิจการที่ สามารถทากิจการบางประเภทได้ด้วยตนเอง แต่กิจการที่ งาน เป็นประโยชน์แต่เพียงฝ่ายเดียว เช่น รับของขวัญ) มีนัยสาคัญต้องได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ การบังคับ การทาธุรกรรมหรือกิจการใด ๆ ของคนไร้ความสามารถ การทาธุรกรรมของคนเสมือนไร้ความสามารถถือเป็น ใช้กฎหมาย ถือเป็นโมฆะ เว้นแต่ผู้อนุบาลให้ความยินยอม โมฆียะ หากไม่ได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ ตัวอย่าง บุคคลที่มีภาวะจิตเวชขั้นรุนแรง เช่น โรคจิตเภท บุคคลที่มีอาการหลงลืมหรือสติสัมปชัญญะถดถอย เช่น ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมในระดับปานกลาง นิติบุคคล บุคคลคือสิ่งที่สามารถมีสิทธิและหน้าที่ได้ตามกฎหมาย มนุษย์ทุกคนเป็นบุคคล แต่ บุคคลมิใช่มีแต่เฉพาะมนุษย์เท่านั้น ยังมีสิ่งอื่นที่เป็นบุคคลด้วย สิ่งนั้นคือนิติบุคคล นิติบุคคล ประกอบไปด้วย 1. คณะบุ ค คลที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ตามกฎหมาย เช่ น ห้ า งหุ้ น ส่ ว นจากั ด บริ ษั ท จากั ด สมาคม กระทรวง ทบวง กรม วัด เป็นต้น 2. กิจการหรือกองทรัพย์สินที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสาธารณประโยชน์ เช่น มูลนิธิ เป็นต้น Thank You

Use Quizgecko on...
Browser
Browser