แนวข้อสอบ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ.2562 PDF
Document Details
![HandsomePiccolo](https://quizgecko.com/images/avatars/avatar-6.webp)
Uploaded by HandsomePiccolo
Nakhon Pathom Rajabhat University
2562
Tags
Related
- สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 PDF
- สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 PDF
- สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 PDF
- สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 PDF
- Thai Public Law ELI6008 PDF
- มาตรฐานจริยธรรมของศาล และองค์กรอิสระ พ.ศ. 2561 PDF
Summary
This document is a Thai past paper for the พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม from 2562. It covers questions related to ethics in governance and various Thai government structures.
Full Transcript
ชุดที่ 1. แนวข้อสอบ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ.2562 1.พระราชบัญญัตินี้ให้ไว้เมื่อใด ก.วันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2562 ข.วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ค.วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ง.วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 -----------------------------------------------------------------...
ชุดที่ 1. แนวข้อสอบ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ.2562 1.พระราชบัญญัตินี้ให้ไว้เมื่อใด ก.วันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2562 ข.วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ค.วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ง.วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ------------------------------------------------------------------------------------------ 2.พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของใคร ก.สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ข.รัฐสภาแห่งชาติ ค.วุฒิสภาแห่งชาติ ง.สภานิติบัญญัติแห่งชาติทาหน้าที่รัฐสภา ------------------------------------------------------------------------------------------ 3.พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า ก. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2563 ข. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ค. พระราชบัญญัติมาตรจริยธรรม พ.ศ. 2562 ง.ถูกทุกข้อ ------------------------------------------------------------------------------------------ 4. “องค์กรกลางบริหารงานบุคคล” หมายถึงข้อใด ก.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ข.กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ ค.ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง ง.กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ------------------------------------------------------------------------------------------ 5. “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายถึงข้อใด ก.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ข.กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ ค.ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง ง.กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ------------------------------------------------------------------------------------------ 6. “หน่วยงานของรัฐ” หมายถึงข้อใด ก.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ข.กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ ค.ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง ง.กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ------------------------------------------------------------------------------------------ 7.ให้ใครรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ก.รัฐมนตรี ข.คณะรัฐมนตรี ค.นายกรัฐมนตรี ง.ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ------------------------------------------------------------------------------------------ 8.ข้อใดหมายถึง “มาตรฐานทางจริยธรรม” ก.หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ข.หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติของข้าราชการ ค.หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรม ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ง.หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรม ของกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ------------------------------------------------------------------------------------------ 9.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ “มาตรฐานทางจริยธรรม” ก.ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ ข.ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสานึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที ค.มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ง. ถูกทุกข้อ ------------------------------------------------------------------------------------------ 10.ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข ข้อความขั้นต้นตรงกับข้อใด ก.ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ ข.ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสานึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที ค.มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ง.กล้าตัดสินใจและกระทาในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม ------------------------------------------------------------------------------------------ 11. ในกรณีที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งไม่มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลที่รับผิดชอบ ให้องค์กรตามข้อใด เป็นผู้จัดทาประมวลจริยธรรม ก.สภากลาโหม สาหรับข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม ข.คณะรัฐมนตรี สาหรับข้าราชการการเมือง ค.สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สาหรับผู้บริหารและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ง. ถูกทุกข้อ ------------------------------------------------------------------------------------------ 12.ในกรณีที่มีปัญหาว่าองค์กรใดเป็นผู้จัดทาประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐประเภทใด ให้ ใคร เป็นผู้มีอานาจวินิจฉัย ก.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ข.คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ค.คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน ง.ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ------------------------------------------------------------------------------------------ 13.การจัดทาประมวลจริยธรรมและข้อกาหนดจริยธรรมของหน่วยงานของรัฐต้องเป็นไป ตามหลักเกณฑ์ที่ ใคร กาหนด ก.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ข.คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ค.คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน ง.ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ------------------------------------------------------------------------------------------ 14.คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมคณะ เรียกย่อว่าอะไร ก. “ก.ม.จ.” ข. ก.ม.จ. ค.กมจ. ง. ไม่มีข้อใดถูก ------------------------------------------------------------------------------------------ 15.คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมคณะใครเป็นประธาน ก.นายกรัฐมนตรี ข.รองนายกรัฐมนตรี ค.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ง.ถูกทั้ง ข้อ ก. และข้อ ข. ------------------------------------------------------------------------------------------ 16.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งจานวนไม่เกินกี่คนเป็นกรรมการ ให้เลขาธิการ ก.พ. ก.ไม่เกิน สามคน ข.ไม่เกิน สี่คน ค.ไม่เกิน ห้าคน ง.ไม่เกิน เจ็ดคน ------------------------------------------------------------------------------------------ 17.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ ด้านการส่ งเสริมจริยธรรม ด้าน ใด ก.ด้านกฎหมาย ข.ด้านการบริหารงานบุคคล ค.ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ง.ถูกทุกข้อ ------------------------------------------------------------------------------------------ 18.ข้อใดไม่ใช่ คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ก.มีอายุไม่ต่ากว่าสามสิบห้าปี ข.ไม่เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต ค.ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ ง.ไม่เคยต้องคาพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ ------------------------------------------------------------------------------------------ 19.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละกี่ปี ก.สองปี ข.สามปี ค.สี่ปี ง.หกปี ------------------------------------------------------------------------------------------ 20.กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซึ่ ง พ้ น จากต าแหน่ ง ตามวาระอาจได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง อี ก ได้ แต่ จ ะด ารงต าแหน่ ง ติดต่อกันเกินกี่วาระไม่ได้ ก.หนึ่งวาระ ข.สองวาระ ค.สามวาระ ง.สี่วาระ ------------------------------------------------------------------------------------------ 21.นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่ง เมื่อใด ก.มีมติให้ออกจากตาแหน่งด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการ เท่าที่มีอยู่ ข.ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม ค.ลาออก ง.ถูกทุกข้อ ------------------------------------------------------------------------------------------ 22.ก.ม.จ.ย่อมาจากอะไร ก.คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ข.คณะกรรมการมาตรฐานข้าราชการ ค.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ง.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ------------------------------------------------------------------------------------------ 23.ในกรณี ที่ ก รรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ พ้ น จากต าแหน่ ง ก่ อ นวาระหรื อ ในกรณี ที่ น ายกรั ฐ มนตรี แ ต่ ง ตั้ ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งแต่งตั้งไว้แล้ว ยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งแทนตาแหน่งที่ว่างหรือเป็นกรรมการผู้ทรงคุ ณวุฒิเพิ่มขึ้นอยู่ ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่ เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทนหรือผู้ซึ่งแต่งตั้งไว้แล้ว เว้นแต่วาระที่เหลืออยู่ไม่ถึง กี่วันจะไม่แต่งตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิแทนก็ได้ ก.หนึ่งร้อยยี่สิบวัน ข.หนึ่งร้อยหกสิบวัน ค.หนึ่งร้อยแปดสิบวัน ง.หนึ่งร้อยเก้าสิบวัน ------------------------------------------------------------------------------------------ 24.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของ “ก.ม.จ.” ก.เสนอแนะและให้คาปรึกษาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานทางจริยธรรม และ การส่งเสริมจริยธรรมภาครัฐต่อคณะรัฐมนตรี ข.กาหนดแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ มี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรมและยึดถือแนวทางปฏิบัติตามประมวล จริยธรรม ค.กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินการตามมาตรฐานทางจริ ยธรรม โดยอย่างน้อย ต้อง ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรม ง.ถูกทุกข้อ ------------------------------------------------------------------------------------------ 25.ตรวจสอบรายงานประจ าปี ข องหน่ ว ยงานของรั ฐ และรายงานสรุ ป ผล การด าเนิ น งานเสนอต่ อ คณะรัฐมนตรีเพื่อทราบอย่างน้อยปีละกี่ครั้ง ก.ปีละหนึ่งครั้ง ข.ปีละสองครั้ง ค.ปีละสามครั้ง ง.ปีละสี่ครั้ง ------------------------------------------------------------------------------------------ 26.ใครเป็นผู้กาหนดหลักเกณฑ์เป็นระเบียบ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคล ใช้ เ ป็ น หลั ก เกณฑ์ ส าหรั บ การจั ดท าประมวลจริ ย ธรรมและข้ อ ก าหนดจริ ย ธรรม รวมทั้ ง การก าหนด กระบวนการรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ก.คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ข.คณะกรรมการมาตรฐานข้าราชการ ค.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ง.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ------------------------------------------------------------------------------------------ 27.จากข้ อ 26.ในกรณี ที่ ป รากฏแก่ “คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ย ธรรม” ว่ า การจั ด ท าประมวล จริ ยธรรมขององค์กรกลางบริ ห ารงานบุคคลหรื อข้ อก าหนดจริ ยธรรมของหน่ว ยงานของรั ฐแห่ ง ใดไม่ สอดคล้ องกั บ มาตรฐานทางจริ ยธรรมหรื อมี ก ารปฏิบัติที่ ไ ม่ เ ป็น ไปตามหลั ก เกณฑ์ ที่ “คณะกรรมการ มาตรฐานทางจริยธรรม” กาหนดจะต้องดาเนินการตามข้อใด ก.ดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง ข.ดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้องโดยเร็ว ค.ไม่ต้องดาเนินการใดๆ ง.ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข. ------------------------------------------------------------------------------------------ 28.ให้ “คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม” จัดให้มีการทบทวนมาตรฐานทางจริยธรรมตามมาตรา 5 ทุกกี่ปี ก.ทุกสามปี ข.ทุกสี่ปี ค.ทุกห้าปี ง.ทุกหกปี ------------------------------------------------------------------------------------------ 29.ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการได้รับ เบี้ยประชุมและประโยชน์ ตอบแทนอื่นตามที่กระทรวงการคลังกาหนด โดยความเห็นชอบของใคร ก.นายกรัฐมนตรี ข.รัฐมนตรี ค.คณะรัฐมนตรี ง.ผู้ทรงคุณวุฒิ ------------------------------------------------------------------------------------------ 30.เพื่อประโยชน์ในการรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ให้หน่วยงานของรัฐ ดาเนินการตามข้อใด ก.กาหนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐ ข.ดาเนินกิจกรรมการส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้ ฝึกอบรม และพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐ ใน หน่วยงานของรัฐ ค.ทุกสิ้นปีงบประมาณ ให้จัดทารายงานประจาปีตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ม.จ. กาหนดเสนอต่อ ก.ม.จ. โดยให้หน่วยงานของรัฐเสนอรายงานประจาปีผ่านองค์กรกลางบริหารงานบุคคล ง.ถูกทุกข้อ ------------------------------------------------------------------------------------------ 31.ให้ใคร มีหน้าที่กากับดูแลการดาเนินกระบวนการรักษาจริยธรรม และการประเมินผลการปฏิบัติ ตาม ประมวลจริ ย ธรรม รวมทั้ ง ให้ มี ห น้ า ที่ แ ละอ านาจจั ด หลั ก สู ต รการฝึ ก อบรม การเผยแพร่ ค วามเข้ า ใจ ตลอดจนการก าหนดมาตรการจู ง ใจเพื่อพั ฒนาและส่ งเสริ มให้ เจ้ า หน้ า ที่ ของรัฐในหน่ ว ยงานของรั ฐ มี พฤติกรรมทางจริยธรรมเป็นแบบอย่างที่ดี และมาตรการที่ใช้บังคับแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงาน ของ รัฐซึ่งมีพฤติกรรมที่เป็นการฝ่าฝืนมาตรฐานทางจริยธรรมหรือไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม โดยอาจ กาหนดมาตรการเพื่อใช้ในการบริหารงานบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทนั้น ก.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข.องค์กรกลางบริหารงานบุคคล ค.องค์การบริหารส่วนจังหวัด ง.องค์กรประชาชาติ ----------------------------------------------------------------------------------------- เฉลยชุดที่ 1. แนวข้อสอบ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ.2562 1.พระราชบัญญัตินี้ให้ไว้เมื่อใด ก.วันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2562 ข.วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ค.วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ง.วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ตอบ ก. ------------------------------------------------------------------------------------------ 2.พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของใคร ก.สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ข.รัฐสภาแห่งชาติ ค.วุฒิสภาแห่งชาติ ง.สภานิติบัญญัติแห่งชาติทาหน้าที่รัฐสภา ตอบ ง. ------------------------------------------------------------------------------------------ 3.พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า ก. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2563 ข. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ค. พระราชบัญญัติมาตรจริยธรรม พ.ศ. 2562 ง.ถูกทุกข้อ ตอบ ข. ------------------------------------------------------------------------------------------ 4. “องค์กรกลางบริหารงานบุคคล” หมายถึงข้อใด ก.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ข.กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ ค.ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง ง.กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ตอบ ก. ------------------------------------------------------------------------------------------ 5. “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายถึงข้อใด ก.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ข.กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ ค.ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง ง.กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ตอบ ค. ------------------------------------------------------------------------------------------ 6. “หน่วยงานของรัฐ” หมายถึงข้อใด ก.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ข.กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ ค.ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง ง.กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ตอบ ข. ------------------------------------------------------------------------------------------ 7.ให้ใครรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ก.รัฐมนตรี ข.คณะรัฐมนตรี ค.นายกรัฐมนตรี ง.ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตอบ ค. ------------------------------------------------------------------------------------------ 8.ข้อใดหมายถึง “มาตรฐานทางจริยธรรม” ก.หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ข.หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติของข้าราชการ ค.หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรม ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ง.หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรม ของกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ตอบ ค. ------------------------------------------------------------------------------------------ 9.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ “มาตรฐานทางจริยธรรม” ก.ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ ข.ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสานึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที ค.มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ------------------------------------------------------------------------------------------ 10.ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข ข้อความขั้นต้นตรงกับข้อใด ก.ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ ข.ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสานึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที ค.มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ง.กล้าตัดสินใจและกระทาในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม ตอบ ก. อธิบายเพิ่มเติม มาตรา 5 มาตรฐานทางจริยธรรม คือ หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรม ของ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งจะต้องประกอบด้วย (1) ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และ การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (2) ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสานึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่ (3) กล้าตัดสินใจและกระทาในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม (4) คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว และมีจิตสาธารณะ (5) มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (6) ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ (7) ดารงตนเป็นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ ------------------------------------------------------------------------------------------ 11. ในกรณีที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งไม่มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลที่รับผิดชอบ ให้องค์กรตามข้อใด เป็นผู้จัดทาประมวลจริยธรรม ก.สภากลาโหม สาหรับข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม ข.คณะรัฐมนตรี สาหรับข้าราชการการเมือง ค.สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สาหรับผู้บริหารและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง. อธิบายเพิ่มเติม มาตรา 6 ให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐมีหน้าที่จัดทาประมวล จริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยู่ในความรับผิดชอบ ในกรณีที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งไม่มีองค์กร กลางบริหารงานบุคคลที่รับผิดชอบ ให้องค์กรต่อไปนี้ เป็นผู้จัดทาประมวลจริยธรรม (1) คณะรัฐมนตรี สาหรับข้าราชการการเมือง (2) สภากลาโหม สาหรับข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม (3) สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สาหรับผู้บริหารและพนักงานรัฐวิสาหกิจ (4) คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน สาหรับผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และ ผู้ปฏิบัติงานของ องค์การมหาชน ------------------------------------------------------------------------------------------ 12.ในกรณีที่มีปัญหาว่าองค์กรใดเป็นผู้จัดทาประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐประเภทใด ให้ ใคร เป็นผู้มีอานาจวินิจฉัย ก.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ข.คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ค.คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน ง.ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตอบ ข. ------------------------------------------------------------------------------------------ 13.การจัดทาประมวลจริยธรรมและข้อกาหนดจริยธรรมของหน่วยงานของรัฐต้องเป็นไป ตามหลักเกณฑ์ที่ ใคร กาหนด ก.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ข.คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ค.คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน ง.ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตอบ ข. ------------------------------------------------------------------------------------------ 14.คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมคณะ เรียกย่อว่าอะไร ก. “ก.ม.จ.” ข. ก.ม.จ. ค.กมจ. ง. ไม่มีข้อใดถูก ตอบ ง. ------------------------------------------------------------------------------------------ 15.คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมคณะใครเป็นประธาน ก.นายกรัฐมนตรี ข.รองนายกรัฐมนตรี ค.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ง.ถูกทั้ง ข้อ ก. และข้อ ข. ตอบ ง. ------------------------------------------------------------------------------------------ 16.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งจานวนไม่เกินกี่คนเป็นกรรมการ ให้เลขาธิการ ก.พ. ก.ไม่เกิน สามคน ข.ไม่เกิน สี่คน ค.ไม่เกิน ห้าคน ง.ไม่เกิน เจ็ดคน ตอบ ค. อธิบายเพิ่มเติม มาตรา 8 ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ก.ม.จ.” ประกอบด้วย (1) นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ (2) ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนที่ได้รับมอบหมาย เป็นรองประธานกรรมการ (3) กรรมการโดยตาแหน่ง จานวนห้าคน ได้แก่ ผู้แทนที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ข้าราชการ พลเรื อ นในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา คณะกรรมการข้ า ราชการครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา คณะกรรมการข้าราชการตารวจ คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น และ สภากลาโหม อย่างละหนึ่งคน (4) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งจานวนไม่เกินห้าคนเป็นกรรมการ ------------------------------------------------------------------------------------------ 17.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ ด้านการส่งเสริมจริยธรรม ด้าน ใด ก.ด้านกฎหมาย ข.ด้านการบริหารงานบุคคล ค.ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ง.ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ------------------------------------------------------------------------------------------ 18.ข้อใดไม่ใช่ คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ก.มีอายุไม่ต่ากว่าสามสิบห้าปี ข.ไม่เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต ค.ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ ง.ไม่เคยต้องคาพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ ตอบ ก. อธิบายเพิ่มเติม มาตรา 9 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ ด้านการ ส่งเสริมจริยธรรม ด้านกฎหมาย ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หรือด้านอื่นใด อันจะเป็นประโยชน์แก่การปฏิบัติหน้าที่ของ ก.ม.จ. โดยมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ และ ต้องมีคุณสมบัติและ ไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (1) มีสัญชาติไทย (2) มีอายุไม่ต่ากว่าสี่สิบห้าปี (3) ไม่เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต (4) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (5) ไม่ เ คยได้ รั บ โทษจ าคุ ก โดยค าพิ พ ากษาถึ ง ที่ สุ ด ให้ จ าคุ ก เว้ น แต่ เ ป็ น โทษส าหรั บ ความผิ ด ที่ ไ ด้ กระทาโดย ประมาท (6) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการ หรือผู้ซึ่ง ดารงตาแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ พรรค การเมือง (7) ไม่ เ คยถู ก ลงโทษทางวิ นั ย หรื อ ให้ อ อก ปลดออก หรื อ ไล่ อ อกจากราชการ รั ฐ วิ ส าหกิ จ หรื อ หน่วยงาน ของรัฐ (8) ไม่เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลอันถึงที่สุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะร่ารวย ผิดปกติ (9) ไม่เคยต้องคาพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการหรือ ต่อตาแหน่ง หน้าที่ในการยุติธรรม หรือกระทาความผิดตามกฎหมายว่าด้วยความผิดของพนักงาน ในองค์การ หรือหน่วยงานของรัฐ (10) ไม่อยู่ในระหว่างต้องห้ามมิให้ดารงตาแหน่งทางการเมือง (11) ไม่ เ คยพ้ น จากตาแหน่ ง เพราะศาลฎีก าหรื อศาลฎีก าแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงตาแหน่ ง ทาง การเมืองมีคาพิพากษาว่าฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง ------------------------------------------------------------------------------------------ 19.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละกี่ปี ก.สองปี ข.สามปี ค.สี่ปี ง.หกปี ตอบ ข. ------------------------------------------------------------------------------------------ 20.กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซึ่ ง พ้ น จากต าแหน่ ง ตามวาระอาจได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง อี ก ได้ แต่ จ ะด ารงต าแหน่ ง ติดต่อกันเกินกี่วาระไม่ได้ ก.หนึ่งวาระ ข.สองวาระ ค.สามวาระ ง.สี่วาระ ตอบ ข. ------------------------------------------------------------------------------------------ 21.นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่ง เมื่อใด ก.มีมติให้ออกจากตาแหน่งด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการ เท่าที่มีอยู่ ข.ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม ค.ลาออก ง.ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ------------------------------------------------------------------------------------------ 22.ก.ม.จ.ย่อมาจากอะไร ก.คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ข.คณะกรรมการมาตรฐานข้าราชการ ค.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ง.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ตอบ ก. ------------------------------------------------------------------------------------------ 23.ในกรณี ที่ ก รรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ พ้ น จากต าแหน่ ง ก่ อ นวาระหรื อ ในกรณี ที่ น ายกรั ฐ มนตรี แ ต่ ง ตั้ ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการผู้ ทรงคุณวุฒิซึ่งแต่งตั้งไว้แล้ว ยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งแทนตาแหน่งที่ว่างหรือเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นอยู่ ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่ เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทนหรือผู้ซึ่งแต่งตั้งไว้แล้ว เว้นแต่วาระที่เหลืออยู่ไม่ถึง กี่วันจะไม่แต่งตั้ งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิแทนก็ได้ ก.หนึ่งร้อยยี่สิบวัน ข.หนึ่งร้อยหกสิบวัน ค.หนึ่งร้อยแปดสิบวัน ง.หนึ่งร้อยเก้าสิบวัน ตอบ ค. (ตามมาตรา 12) ------------------------------------------------------------------------------------------ 24.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของ “ก.ม.จ.” ก.เสนอแนะและให้คาปรึกษาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานทางจริยธรรม และ การส่งเสริมจริยธรรมภาครัฐต่อคณะรัฐมนตรี ข.กาหนดแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ มี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรมและยึดถือแนวทางปฏิบัติตามประมวล จริยธรรม ค.กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินการตามมาตรฐานทางจริยธรรม โดยอย่างน้อย ต้อง ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรม ง.ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ------------------------------------------------------------------------------------------ 25.ตรวจสอบรายงานประจ าปี ข องหน่ ว ยงานของรั ฐ และรายงานสรุ ป ผล การด าเนิ น งานเสนอต่ อ คณะรัฐมนตรีเพื่อทราบอย่างน้อยปีละกี่ครั้ง ก.ปีละหนึ่งครั้ง ข.ปีละสองครั้ง ค.ปีละสามครั้ง ง.ปีละสี่ครั้ง ตอบ ก. อธิบายเพิ่มเติม มาตรา 13 ก.ม.จ. มีหน้าที่และอานาจ ดังต่อไปนี้ (1) เสนอแนะและให้คาปรึกษาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานทางจริยธรรม และการ ส่งเสริมจริยธรรมภาครัฐต่อคณะรัฐมนตรี (2) กาหนดแนวทางหรือมาตรการในการขับเคลื่อน การดาเนินกระบวนการรักษาจริยธรรม รวมทั้ง กลไกและการบังคับใช้ประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อให้องค์กรกลางบริหาร งาน บุคคล องค์กรตามมาตรา 6 วรรคสอง หรือผู้บังคับบัญชานาไปใช้ในกระบวนการบริหารงานบุคคล อย่างเป็นรูปธรรม (3) กาหนดแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ มีความรู้ ความเข้ า ใจเกี่ ยวกั บมาตรฐานทางจริ ยธรรมและยึ ดถื อแนวทางปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม รวมทั้ง เสนอแนะมาตรการในการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติตาม ประมวลจริยธรรมแก่ หน่วยงานของรัฐต่อคณะรัฐมนตรี (4) กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินการตามมาตรฐานทางจริยธรรม โดยอย่างน้อย ต้องให้ หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรม และให้มี การประเมินพฤติกรรมทางจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้น (5) ตรวจสอบรายงานประจาปีข องหน่ว ยงานของรั ฐตามมาตรา 19 (3) และรายงานสรุปผล การ ดาเนินงานดังกล่าวเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง (6) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ (7) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ------------------------------------------------------------------------------------------ 26.ใครเป็นผู้กาหนดหลักเกณฑ์เป็นระเบียบ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคล ใช้ เ ป็ น หลั ก เกณฑ์ ส าหรั บ การจั ดท าประมวลจริ ย ธรรมและข้ อ ก าหนดจริ ย ธรรม รวมทั้ ง การก าหนด กระบวนการรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ก.คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ข.คณะกรรมการมาตรฐานข้าราชการ ค.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ง.คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ตอบ ก. ------------------------------------------------------------------------------------------ 27.จากข้ อ 26.ในกรณี ที่ ป รากฏแก่ “คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ย ธรรม” ว่ า การจั ด ท าประมวล จริ ยธรรมขององค์กรกลางบริ ห ารงานบุคคลหรื อข้ อก าหนดจริ ยธรรมของหน่ว ยงานของรั ฐแห่ ง ใดไม่ สอดคล้ องกั บ มาตรฐานทางจริ ยธรรมหรื อมี ก ารปฏิบัติที่ ไ ม่ เ ป็น ไปตามหลั ก เกณฑ์ ที่ “คณะกรรมการ มาตรฐานทางจริยธรรม” กาหนดจะต้องดาเนินการตามข้อใด ก.ดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง ข.ดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้องโดยเร็ว ค.ไม่ต้องดาเนินการใดๆ ง.ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข. ตอบ ง. ------------------------------------------------------------------------------------------ 28.ให้ “คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม” จัดให้มีการทบทวนมาตรฐานทางจริยธรรมตามมาตรา 5 ทุกกี่ปี ก.ทุกสามปี ข.ทุกสี่ปี ค.ทุกห้าปี ง.ทุกหกปี ตอบ ค. ------------------------------------------------------------------------------------------ 29.ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการได้รับ เบี้ยประชุมและประโยชน์ ตอบแทนอื่นตามที่กระทรวงการคลังกาหนด โดยความเห็นชอบของใคร ก.นายกรัฐมนตรี ข.รัฐมนตรี ค.คณะรัฐมนตรี ง.ผู้ทรงคุณวุฒิ ตอบ ค. (ตามมาตรา 18) ------------------------------------------------------------------------------------------ 30.เพื่อประโยชน์ในการรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ให้หน่วยงานของรัฐ ดาเนินการตามข้อใด ก.กาหนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐ ข.ดาเนินกิจกรรมการส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้ ฝึกอบรม และพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐ ใน หน่วยงานของรัฐ ค.ทุกสิ้นปีงบประมาณ ให้จัดทารายงานประจาปีตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ม.จ. กาหนดเสนอต่อ ก.ม.จ. โดยให้หน่วยงานของรัฐเสนอรายงานประจาปีผ่านองค์กรกลางบริหารงานบุคคล ง.ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ------------------------------------------------------------------------------------------ 31.ให้ใคร มีหน้าที่กากับดูแลการดาเนินกระบวนการรักษาจริยธรรม และการประเมินผลการปฏิบัติ ตาม ประมวลจริ ย ธรรม รวมทั้ ง ให้ มี ห น้ า ที่ แ ละอ านาจจั ด หลั ก สู ต รการฝึ ก อบรม การเผยแพร่ ค วามเข้ า ใจ ตลอดจนการก าหนดมาตรการจู ง ใจเพื่อพั ฒนาและส่ งเสริ มให้ เจ้ า หน้ า ที่ ของรัฐในหน่ ว ยงานของรั ฐ มี พฤติกรรมทางจริยธรรมเป็นแบบอย่างที่ดี และมาตรการที่ใช้บังคับแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงาน ของ รัฐซึ่งมีพฤติกรรมที่เป็นการฝ่าฝืนมาตรฐานทางจริยธรรมหรือไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม โดยอาจ กาหนดมาตรการเพื่อใช้ในการบริหารงานบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทนั้น ก.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข.องค์กรกลางบริหารงานบุคคล ค.องค์การบริหารส่วนจังหวัด ง.องค์กรประชาชาติ ตอบ ข. ------------------------------------------------------------------------------------------ ชุดที่ 2.แนวข้อสอบพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ข้อ 1. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 มีวัตถุประสงค์ตามข้อใด 1. กาหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของสังคมไทย 2. ใช้เป็นหลักสาคัญในการจัดทาประมวลจริยธรรมของหน่วยงานของรัฐ 3. เป็นกลไกตรวจสอบการรักษามาตรฐานทางจริยธรรม 4. ป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 2. หน่วยงานของรัฐใดที่ไม่อยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 1. สานักงานเลขาธิการ 2. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 3. สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 4. กรมการขนส่งทางราง ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 3. พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 กาหนดให้มาตรฐานทางจริยธรรมจะต้องมีหลักเกณฑ์ การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ กี่ประการ 1. 3 ประการ 2. 5 ประการ 3. 7 ประการ 4. 9 ประการ ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 4. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ เลขาธิการ ก.พ. 1. เป็นกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม 2. เป็นรองประธานกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม 3. ปฏิบัติงานธุรการของคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม 4. มีอายุไม่ต่ากว่าสี่สิบห้าปี ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 5. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 1. องค์กรกลางบริหารงานบุคคลขององค์กรอิสระ ไม่ต้องนามาตรฐานทางจริยธรรมไปใช้ ประกอบการจัดทาประมวลจริยธรรม 2. หน่วยงานธุรการของศาลมิใช่หน่วยงานของรัฐ 3. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 45 ปี 4. สภากลาโหมมีหน้าที่จัดทาประมวลจริยธรรมสาหรับข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรือน กลาโหม ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 6. โดยทั่วไปคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมจะต้องทบทวนมาตรฐานทางจริยธรรมเมื่อใด 1. ทุก 2 ปี 2. ทุก 3 ปี 3. ทุก 4 ปี 4. ทุก 5 ปี ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 7. ข้อใดมิใช่กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมโดยตาแหน่ง 1. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน 2. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา 3. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 4. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการตารวจ ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 8. มาตรฐานทางจริยธรรมคือหลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ยกเว้นข้อใด 1. กล้ากระทาในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม 2. แสวงหาความรู้ตลอดเวลา 3. ดารงตนเป็นแบบอย่างที่ดี 4. มีจิตสาธารณะ ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 9. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมมีหน้าที่และอานาจตาม พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ยกเว้นข้อใด 1. ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานทางจริยธรรมต่อคณะรัฐมนตรี 2. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย 3. ตรวจสอบรายงานประจาปีของหน่วยงานของรัฐ 4. จัดทาประมวลจริยธรรม ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 10. หน่วยงานของรัฐต้องดาเนินการในเรื่องใด เพื่อเป็นการรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 1. กาหนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐ 2. ให้ความรู้แก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค 3. จัดทาประมวลจริยธรรมให้สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ 4. กากับดูแลการดาเนินกระบวนการรักษาจริยธรรม ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 11. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 มีผลใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด 1. วันที่ 16 เมษายน 2562 2. วันที่ 17 เมษายน 2562 3. วันที่ 18 เมษายน 2562 4. วันที่ 19 เมษายน 2562 ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 12. การจัด หลั กสู ตรการฝึกอบรมและเผยแพร่ ความเข้ าใจเพื่อให้ เจ้ าหน้า ที่ข องรัฐมีพฤติกรรมทาง จริยธรรมเป็นแบบอย่างที่ดี เป็นหน้าที่ของผู้ใด 1. เจ้าหน้าที่ของรัฐ 2. ผู้บังคับบัญชา 3. หน่วยงานของรัฐ 4. องค์กรกลางบริหารงานบุคคล ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 13. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ใน ก.ม.จ. พ้นจากตาแหน่งตามข้อใด 1. กระทาความผิดโดยประมาทและถูกศาลพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก 2. เป็นที่ปรึกษาพรรคการเมือง 3. คณะรัฐมนตรีมีมติให้ออก 4. ครบวาระการดารงตาแหน่งสี่ปี ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 14. การดาเนินการข้อใดถูกต้อง หากปรากฏว่าการจัดทาประมวลจริยธรรมไม่สอดคล้องกับมาตรฐาน ทางจริยธรรม 1. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมเสนอรายงานต่อคณะรัฐมนตรี 2. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมแจ้งองค์กรกลางบริหารงานบุคคลดาเนินการแก้ไขให้ ถูกต้อง 3. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมออกคาสั่งให้มีการแก้ไขให้ถูกต้อง 4. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมเสนอรายงานต่อรัฐสภาเพื่อใช้มาตรการด้านงบประมาณ ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 15. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมมีหน้าที่กากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนินการตาม มาตรฐานทางจริยธรรม ที่ถูกที่สุดคือข้อใด 1. ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการประเมินพฤติกรรมทางจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ 2. จัดทารายงานประจาปีของหน่วยงานของรัฐ 3. วินิจฉัยปัญหาที่เกิดจากการใช้บังคับ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 4. กาหนดแนวทางการบังคับใช้ประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 16. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม เรียกโดยย่อว่า 1. กมจ. 2. กม.จ. 3. ก.ม.จ. 4. ก.มจ. ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 17. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม 1. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 5 คน 2. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 7 คน 3. นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 5 คน 4. นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 7 คน ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 18. ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 1. ประธานกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม 2. ประธานกรรมการข้าราชการพลเรือน 3. นายกรัฐมนตรี 4. อธิบดีกรมการศาสนา ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 19. จริยธรรม ตรงกับคาในภาษาอังกฤษข้อใด 1. Ethic 2. Morality 3. Occupation 4. Integrity ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 20. ข้อใดมิใช่กลไกหลักในการขับเคลื่อน พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 1. มาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจริยธรรม 2. แนวนโยบายพื้นฐาน 3. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม 4. การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ------------------------------------------------------------------------------------------ เฉลยชุดที่ 2.แนวข้อสอบพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ข้อ 1. ตอบ 2. เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 76 วรรคสาม บัญญัติให้รัฐจัดให้มี มาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อให้หน่วยงานของรัฐใช้เป็นหลักในการกาหนดประมวล จริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้นๆ ซึ่งจะต้องไม่ต่ากว่ามาตรฐานทาง จริยธรรมดังกล่าว ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 2. ตอบ 3. มาตรา 3 บัญญัติให้หน่วยงานธุรการของรัฐสภาไม่อยู่ในความหมายของหน่วยงานของรัฐ ซึ่งสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเป็นหน่วยงานธุรการ สังกัดรัฐสภา มีอิสระใน การบริหารงานบุคคล งบประมาณ และดาเนินการอื่นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. 2554 ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 3. ตอบ 3. มาตรา 5 หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 7 ประการ ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 4. ตอบ 1. ดูมาตรา 8 วรรคสอง ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 5. ตอบ 1. มาตรา 7 แม้หน่วยงานธุรการขององค์กรอิสระจะมิใช่หน่วยงานของรัฐตามพ.ร.บ. มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 แต่มาตรา 7 แห่งพ.ร.บ.ดังกล่าว บัญญัติให้นา มาตรฐานทางจริยธรรมตามพ.ร.บ.นี้ ไปใช้ประกอบการพิจารณาจัดทาประมวลจริยธรรม ของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยู่ในความรับผิดชอบด้วย เพื่อให้การจัดทาประมวลจริยธรรมใน ภาครัฐมีมาตรฐานทางจริยธรรมในระดับเดียวกัน ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 6. ตอบ 4. ดูมาตรา 15 โดยทั่วไปต้องทบทวนทุก 5 ปี เว้นแต่กรณีที่มีความจาเป็นหรือสถานการณ์ เปลี่ยนแปลงไป จะทบทวนเร็วกว่านั้นก็ได้ ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 7. ตอบ 1. ดูมาตรา 8 (2) (3) ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 8. ตอบ 2. ดูมาตรา 5 (3) (4) (7) ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 9. ตอบ 4. ดูมาตรา 13 (1) (5) (7) สาหรับการจัดทาประมวลจริยธรรมเป็นหน้าที่ขององค์กรกลาง บริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐ ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 10. ตอบ 1. ดูมาตรา 19 (1) ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 11. ตอบ 2. มาตรา 2 บัญญัติให้ พ.ร.บ.นี้ ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเ บกษา เล่ม 136/ตอนที่ 50 ก/หน้า 1/16 เมษายน 2562 จึงมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 17 เมษายน 2562 เป็นต้นไป ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 12. ตอบ 4. ดูมาตรา 20 ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 13. ตอบ 2. ดูมาตรา 9 (6) ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 14. ตอบ 2. ดูมาตรา 14 วรรคท้าย ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 15. ตอบ 1. ดูมาตรา 13 (4) ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 16. ตอบ 3. ดูมาตรา 8 ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 17. ตอบ 3. ดูมาตรา 8 (4) ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 18. ตอบ 3. นายกรัฐมนตรี ดูมาตรา 4 ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 19. ตอบ 1. Ethic ------------------------------------------------------------------------------------------ ข้อ 20. ตอบ 2. พ.ร.บ.นี้ จัดหมวดหมู่ออกเป็น 3 หมวด ซึ่งเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนมาตรฐานทาง จริยธรรม ------------------------------------------------------------------------------------------ ชุดที่ 3. แนวข้อสอบพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 1. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 มีวัตถุประสงค์ตามข้อใด ก. กาหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของสังคมไทย ข. ป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในทางราชการ ค. เป็นกลไกตรวจสอบการรักษามาตรฐานทางจริยธรรม ง. ใช้เป็นหลักสาคัญในการจัดทาประมวลจริยธรรมของหน่วยงานของรัฐ ------------------------------------------------------------------------------------------ 2. หน่วยงานของรัฐใดที่ไม่อยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ก. สานักงานเลขาธิการ ข. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ค. กรมการขนส่งทางบก ง. สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ------------------------------------------------------------------------------------------ 3. พระราชบั ญญัติม าตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562 ก าหนดให้ ม าตรฐานทางจริ ย ธรรม จะต้องมี หลักเกณฑ์การ ประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ กี่ประการ ก. 9 ประการ ข. 3 ประการ ค. 7 ประการ ง. 5 ประการ ------------------------------------------------------------------------------------------ 4. ข้อใดถูกต้อง ที่สอดคล้องกับ เลขาธิการ ก.พ. ก. เป็นกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ข. เป็นกรรมการโดยตาแหน่งในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ค. ปฏิบัติงานธุรการของคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ง. มีอายุไม่ต่ากว่า 35 ปี ------------------------------------------------------------------------------------------ 5. ข้อใด ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ก. องค์ ก รกลางบริ ห ารงานบุ ค คลขององค์ ก รอิ ส ระ ไม่ ต้อ งน ามาตรฐานทางจริ ย ธรรมไปใช้ ประกอบการ จัดทาประมวลจริยธรรม ข. หน่วยงานธุรการของศาล มิใช่หน่วยงานของรัฐ ค. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม จะต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 45 ปี ง. สภากลาโหมมีหน้าที่จัดทาประมวลจริยธรรมสาหรับข้าราชการทหาร และ ข้าราชการพลเรือน กลาโหม ------------------------------------------------------------------------------------------ 6. โดยทั่วไปคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมจะต้องทบทวนมาตรฐานทางจริยธรรม ในทุกกี่ปี ก. ทุก 2 ปี ข. ทุก 3 ปี ง. ทุก 4 ปี ง. ทุก 5 ปี ------------------------------------------------------------------------------------------ 7. ข้อใด ไม่ใช่ กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมโดยตาแหน่ง ก. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการตารวจ ข. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ค. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ง. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ------------------------------------------------------------------------------------------ 8. มาตรฐานทางจริยธรรม คือหลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ยกเว้น ข้อใด ก. กล้ากระทาในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม ข. ดารงตนเป็นแบบอย่างที่ดี ค. แสวงหาความรู้ตลอดชีวิต ง. มีจิตสาธารณะ ------------------------------------------------------------------------------------------ 9. ข้อใด ไม่ใช่ อานาจและหน้าที่ของคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ตามพระราชบัญญัติมาตรฐาน ทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ก. ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานทางจริยธรรมต่อคณะรัฐมนตรี ข. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ค. ตรวจสอบรายงานประจาปีของหน่วยงานของรัฐ ง. จัดทาประมวลจริยธรรม ------------------------------------------------------------------------------------------ 10. หน่วยงานของรัฐต้องดาเนินการในเรื่องใด เพื่อเป็นการรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ ของรัฐ ก. กากับ ดูแลการดาเนินกระบวนการรักษาจริยธรรม ข. ให้ความรู้แก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค ค. จัดทาประมวลจริยธรรมให้สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ ง. กาหนดให้ผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐ 11. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 มีผลใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด ก. วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2562 ข. วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2562 ค. วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2562 ง. วันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2562 ------------------------------------------------------------------------------------------ 12.การจัดหลักสูตรการฝึกอบรมและเผยแพร่ความเข้าใจเพื่อให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ มีพฤติกรรมทางจริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดี เป็นหน้าที่ในข้อใด ก. ผู้บังคับบัญชา ข. เจ้าหน้าที่ของรัฐ ค. หน่วยงานของรัฐ ง. องค์กรกลางบริหารงานบุคคล ------------------------------------------------------------------------------------------ 13. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการมาตรฐานจริยธรรม (ก.ม.จ.) พ้นจากตาแหน่งในข้อใด ก. คณะรัฐมนตรีมีมติให้ออก ข. เป็นเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง ค. ครบวาระในการดารงตาแหน่ง 4 ปี ง. กระทาความผิดโดยประมาทและถูกศาลพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก ------------------------------------------------------------------------------------------ 14. การดาเนินการตามข้อใดถูกต้อง หากปรากฏว่าการจัดทาประมวลจริยธรรม ไม่สอดคล้องกับมาตรฐาน ทางจริยธรรม ก. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมเสนอรายงานต่อคณะรัฐมนตรี ข. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมแจ้งองค์กรกลางบริหารงานบุคคลดาเนินการ แก้ไขให้ ถูกต้อง ค. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมออกคาสั่งให้มีการแก้ไขให้ถูกต้อง ง. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ย ธรรมเสนอรายงานต่ อ รั ฐ สภาเพื่ อ ใช้ ม าตรการ ด้ า น งบประมาณ ------------------------------------------------------------------------------------------ 15. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม (ก.ม.จ.) มีหน้าที่กากับ ติดตาม และ ประเมินผลการดาเนินการ ตามมาตรฐานทางจริยธรรม ที่ถูกต้องที่สุดคือข้อใด ก. ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการประเมินพฤติกรรมทางจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ ของรัฐ ข. จัดทารายงานประจาปีของหน่วยงานของรัฐ ค. วินิจฉัยปัญหาที่เกิดจากการใช้บังคับพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ง. กาหนดแนวทางการบังคับใช้ประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ ------------------------------------------------------------------------------------------ 16. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม เรียกโดยย่อว่า ก. กมจ. ข. กม.จ. ค. ก.ม.จ. ง. ก.มจ. 17. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ก. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 5 คน ข. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 7 คน ค. นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 5 คน ง. นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 7 คน ------------------------------------------------------------------------------------------ 18. ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ก. ประธานกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ข. ประธานกรรมการข้าราชการพลเรือน ค. นายกรัฐมนตรี ง. อธิบดีกรมการศาสนา ------------------------------------------------------------------------------------------ 19. จริยธรรม ตรงกับคาในภาษาอังกฤษข้อใด ก. Ethic ข. Integrity ค. Morality ง. Occupation ------------------------------------------------------------------------------------------ 20. ข้อใด ไม่สอดคล้อง กลไกหลักในการขับเคลื่อนพระราชบัญญัติมาตรฐานท?