บทที่ 2 เทคโนโลยคี อมพิว เตอร์ PDF
Document Details
Uploaded by UnconditionalSweetPea9420
ธิดา บุตรรักษ์
Tags
Related
Summary
This document is Chapter 2 on computer technology. It covers concepts like information technology, computer definitions, different types of computers, components of computer systems, big data, the internet of things, and processing technologies.
Full Transcript
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ผูส้ อน...ธิดา บุตรรักษ์ 1 ประเด็นที่นําเสนอ แนวคิดเกีย่ วกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลขนาดใหญ่ อินเทอ...
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ผูส้ อน...ธิดา บุตรรักษ์ 1 ประเด็นที่นําเสนอ แนวคิดเกีย่ วกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลขนาดใหญ่ อินเทอร์เน็ตของสรรพสิง่ เทคโนโลยีการประมวลผล 2 แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology หรือ IT) หรือบางครัง้ เรียกว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Information and Communication Technology หรือ ICT) เป็ นเทคโนโลยีทใ่ี ช้จดั การหรือประมวลผลสารสนเทศ ซึง่ เป็ นเทคโนโลยีทเ่ี กีย่ วข้องกับการรับ-ส่ง การแปลง การจัดเก็บ การประมวลผล การสือ่ สาร การค้นคืนสารสนเทศ เป็ นต้น โดยมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใน 3 กลุ่ม ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการสือ่ สาร และข้อมูลแบบ มัลติมเี ดีย 3 ความหมายของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ท่มี หี น่ วยประมวลผลข้อมูล และ สามารถจัด การข้อมูล ต่ า ง ๆ ทัง้ การจัดเก็บ รวบรวม การประมวลผล และการ แสดงผลที่รวดเร็ว มีความถูกต้องแม่นยํา เพื่อนํ าผลลัพธ์มาใช้ในการตัดสินใจได้ ทัน ต่ อ การใช้ง าน โดยกระบวนการทํ า งานของคอมพิว เตอร์จ ะประกอบด้ว ย 4 ส่วน คือ ส่วนนําเข้าข้อมูล (Input) ส่วนประมวลผลข้อมูล (Process) ส่วนจัดเก็บ ข้อมูล (Storage) ส่วนแสดงผลข้อมูล (Output) 4 ความหมายของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เมื่อ นํ า เทคโนโลยีค อมพิว เตอร์ม าทํ า งานเชื่อ มต่ อ กับ เทคโนโลยีก ารสื่อ สาร โทรคมนาคม สามารถทําให้คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อสื่อสารเป็ นระบบเครือข่าย โดย สามารถสือ่ สารระยะไกลได้อย่างรวดเร็ว ดังนัน้ เมื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทาํ งาน ร่วมกับ การสื่อสารโทรคมนาคมจึงทําให้ข้อมูลมีการเผยแพร่ผ่านสื่อด้ว ยความ รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ ถึงแม้ว่าจะอยูไ่ กลก็สามารถสื่อสารกันได้ ข้อมูลทีส่ ่อื สาร ถึงกันผ่านระบบโทรคมนาคมมีทงั ้ ข้อความ ตัวเลข ภาพ และเสียง 5 ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ : แบ่งตามระดับความสามารถในการประมวลผล ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) คอมพิวเตอร์มอื ถือ (Handheld Computer) คอมพิวเตอร์แบบฝั ง (Embedded Computer) 6 ประเภทของคอมพิวเตอร์ ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) : มีลกั ษณะเป็ นเครือ่ งคอมพิวเตอร์ จํานวนหลาย ๆ เครือ่ งทีส่ ามารถทํางานร่วมกันในลักษณะการประมวลผลแบบ ขนาน มีประสิทธิภาพในการประมวลผลข้อมูลทีม่ คี วามซับซ้อนมีขอ้ มูลจํานวนมาก และมีรายละเอียดสูง เช่น การคํานวณข้อมูลทางดาราศาสตร์ ข้อมูลทาง อุตุนิยมวิทยา เป็ นต้น 7 ประเภทของคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) : คอมพิวเตอร์ทม่ี ปี ระสิทธิภาพสูง ใช้ในการประมวลผลข้อมูล จํ า นวนมาก และรองรับ การใช้ ง านหลายผู้ใ ช้ พ ร้อ มกัน (Multitasking) เช่น การจัดการฐานข้อมูลขององค์กรขนาด ใหญ่ ระบบการเงิน หรือการประมวลผลทางการแพทย์ 8 ประเภทของคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) : เป็ นคอมพิวเตอร์ท่มี คี วามสามารถในการ ประมวลผลข้อมูลจํานวนมากที่ต้องการความเร็วสูง สามารถรองรับผูใ้ ช้ได้พร้อม กันหลายคน แต่มขี ดี ความสามารถตํ่ากว่าเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ปั จจุบนั สํานักงานต่าง ๆ นิยมนํามาเป็ นเครือ่ งแม่ขา่ ย (Network Servers) 9 ประเภทของคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) : เป็ นชุด คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก สามารถเคลื่อนย้ายได้ ปกติใช้ใน การประมวลผลแบบเอนกประสงค์สําหรับผู้ใช้เพียงคน เดียว สามารถเลือกคุณสมบัตใิ ห้เหมาะสมกับการใช้งาน ลักษณะต่าง ๆ เช่น การใช้ในงานธุรการในสํานักงาน ใช้ ในการจัดเก็บฐานข้อมูล 10 ประเภทของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer) : เป็ นคอมพิวเตอร์ทอ่ี ยูใ่ นกลุ่มมือ ถือ (Handheld Computer) สะดวกในการพกพา ผสานความสามารถในการใช้งาน ชุดคําสังโปรแกรมต่ ่ าง ๆ มีระบบปฏิบตั กิ ารเฉพาะ เช่น iOS, Android, Windows Phone เป็ นต้น 11 ประเภทของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded Computer) : คอมพิวเตอร์ทถ่ี ูกฝั งอยู่ใน อุปกรณ์หรือเครื่องจักรต่าง ๆ เพื่อควบคุมการทํางานเฉพาะบางอย่าง เช่น ระบบ ควบคุมการทํางานของรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้ า หรืออุปกรณ์ IoT (Internet of Things) เป็ นต้น 12 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ การทํางานของระบบคอมพิวเตอร์มอี งค์ประกอบ 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร ข้อมูล/สารสนเทศ 13 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ ด แวร์ (Hardware) : อุ ป กรณ์ ค อมพิ ว เตอร์ ท่ี สามารถจับต้องได้ ซึง่ เป็ นชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ทม่ี กี าร ทํางานประสานกันระหว่างอุปกรณ์ เพื่อก่อให้เกิดการ ประมวลผล ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย อุปกรณ์นําเข้าข้อมูล (Input Devices) อุปกรณ์ประมลผลกลาง (CPU/Processor) อุปกรณ์จดั เก็บข้อมูล (Storage Devices) อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล (Output Devices) 14 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) : อุปกรณ์นําเข้าข้อมูล (Input Devices) : ทําหน้าทีน่ ําข้อมูลเข้าสูค่ อมพิวเตอร์ เพือ่ ให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล อุปกรณ์ประมลผลกลาง (CPU/Processor) : ทําหน้าทีป่ ระมวลผลข้อมูล โดย เรียกหน่วยประมวลผลกลางนี้วา่ ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessors) อุปกรณ์จดั เก็บข้อมูล (Storage Devices) : ทําหน้าทีจ่ ดั เก็บข้อมูลจากการ ประมวลผล หรือนําข้อมูลจากส่วนจัดไปประมวลผล อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล (Output Devices) : ทําหน้าทีแ่ สดงผลลัพธ์จากการ ประมวลผลข้อมูลของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ 15 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ (Software) : หมายถึง ชุดคําสังที ่ เ่ ขียนขึน้ เพื่อสังให้ ่ ฮาร์ดแวร์ในระบบคอมพิวเตอร์ทํางาน ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ แบ่งเป็ น ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) : เป็ นซอฟต์แวร์ท่ี ทําหน้าทีต่ ดิ ต่อ ควบคุม และสังการให้ ่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกันให้มากทีส่ ดุ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) : เป็ น ซอฟต์แวร์ทพ่ี ฒ ั นาขึน้ มาเพือ่ ใช้เฉพาะด้านเท่านัน้ ไม่ เกีย่ วข้องกับการควบคุมระบบของคอมพิวเตอร์ 16 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ บุคลากร (Peopleware) : ผูป้ ฏิบตั งิ านโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ ถึงแม้วา่ คอมพิวเตอร์จะสามารถทํางานได้เองโดยอัตโนมัติ แต่มนุษย์ยงั ต้องเป็ นผูป้ ้ อน คําสังเพื ่ อ่ ให้คอมพิวเตอร์ทาํ งาน บุคลากรทางคอมพิวเตอร์จงึ หมายถึงบุคลากรใน หลายกลุ่มทีเ่ กีย่ วข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องกับคอมพิวเตอร์จาํ แนกออกได้เป็ น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ 1) ผูใ้ ช้งานทัวไป ่ 2) ผูเ้ ชีย่ วชาญ 3) ผูบ้ ริหาร 17 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ บุคลากร (Peopleware) : ผูใ้ ช้งานทัวไป ่ (User/End User) : เป็ นผูใ้ ช้งานระดับตํ่าสุด ไม่จาํ เป็ นต้องมี ความเชีย่ วชาญมาก อาจเข้ารับการอบรมบ้างเล็กน้อยหรือศึกษาจากคู่มอื การ ปฏิบตั งิ านก็สามารถใช้งานได้ บุคลากรกลุ่มนี้มจี าํ นวนมากทีส่ ดุ ในหน่วยงาน ลักษณะงานมักเกีย่ วข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ทวไป ั ่ เช่น งานธุรการ สํานักงาน งานป้ อนข้อมูล งานบริการลูกค้าสัมพันธ์ (Call Center) เป็ นต้น 18 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ บุคลากร (Peopleware) : ผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert) : ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ (Computer Operator/Computer Technician) : ทําหน้าทีแ่ ก้ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ กับระบบในหน่วยงานให้ใช้งานได้ตามปกติ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) : ทําหน้าทีว่ เิ คราะห์ความต้องการ ของผูใ้ ช้รวมไปถึงผูบ้ ริหารของหน่วยงานว่าต้องการระบบโปรแกรมหรือ ลักษณะงานอย่างไร เพือ่ จะพัฒนาระบบงานให้ตรงตามความต้องการ มากทีส่ ดุ 19 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ บุคลากร (Peopleware) : ผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert) : นักเขียนโปรแกรม (Programmer) : ทําหน้าทีเ่ ขียนโปรแกรมด้วย ภาษาคอมพิวเตอร์เพือ่ ให้ได้ระบบหรือโปรแกรมทีผ่ ใู้ ช้ตอ้ งการ วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineering) : ทําหน้าทีใ่ นการวิเคราะห์ และตรวจสอบระบบหรือโปรแกรมทีพ่ ฒ ั นาขึน้ อย่างมีแบบแผน ผูด้ แู ลเน็ตเวิรก์ (Network Administrator) : ทําหน้าทีด่ แู ลและบริหาร ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร 20 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ บุคลากร (Peopleware) : ผูบ้ ริหาร : ผูบ้ ริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ (Chief Information Officer หรือ CIO) : ทําหน้าทีก่ าํ หนดทิศทาง นโยบาย และแผนงานทาง คอมพิวเตอร์ทงั ้ หมดขององค์กร หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Center Manager/Information Technology Manager) : ทําหน้าทีด่ แู ลและกํากับงานทางด้าน คอมพิวเตอร์ให้บรรลุเป้ าหมายตามแผนงานและทิศทางทีไ่ ด้วางไว้โดย CIO 21 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ข้ อ มู ล /สารสนเทศ (Data/Information) : ข้อ มู ล ที่จ ัด เก็บ ลงในคอมพิว เตอร์ เพื่อให้สามารถเรียกข้อมูลกลับมาดูซ้ํา หรือมาปรับปรุงแก้ไข และสามารถนํ ามา เผยแพร่ทงั ้ ในแบบสิง่ พิมพ์ และแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูลทีจ่ ดั เก็บในส่วนของ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีความหลากหลายตามบทบาทหน้ าที่ของหน่ วยงานใน อุตสาหกรรมท่องเที่ยวนัน้ ๆ เช่น ถ้าเป็ นผูใ้ ห้บริการทีพ่ กั แรมต้องจัดเก็บข้อมูล เกีย่ วกับจํานวนห้องพัก การจองห้องพัก เป็ นต้น 22 ข้อมูลขนาดใหญ่ ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) : คือ ข้อมูลขนาดใหญ่ ปริมาณมากหรือข้อมูลจํานวนมากมหาศาล ทุกเรือ่ ง ทุกแง่มมุ ทุกรูปแบบ ซึง่ อาจเป็ นข้อมูลทีม่ โี ครงสร้าง ชัดเจน (Structured Data) เช่น ข้อมูลทีเ่ ก็บอยูใ่ น ตารางข้อมูลต่าง ๆ หรืออาจเป็ นข้อมูลกึง่ มีโครงสร้าง (Semi-Structured Data) เช่น ล็อกไฟล์ (Log Files) หรือ ข้อมูลทีไ่ ม่มโี ครงสร้าง (Unstructured Data) เช่น ข้อมูล https://www.youtube.com/watch?v=ICfyKSqWu4w การโต้ตอบปฏิสมั พันธ์ผา่ นสังคมเครือข่าย (Social Network) เช่น Facebook, Twitter หรือ ไฟล์จาํ พวก มัลติมเี ดีย เป็ นต้น 23 ข้อมูลขนาดใหญ่ ลักษณะของข้อมูลขนาดใหญ่ : ประกอบด้วย 3V คือ ปริมาณ (Volume) ความเร็ว (Velocity) ความหลากหลาย (Variety) ปริมาณ (Volume) : ข้อมูลจํานวนมหาศาลนี้ได้มาจากการดําเนินธุรกิจ เช่น ข้อมูลจากทุกแผนก การเงิน บัญชี ฝ่ ายขาย การตลาด ลูกค้าสัมพันธ์ เป็ นต้น หรือจากบทสนทนาของธุรกิจนัน้ ๆ กับลูกค้าใน Social Media ทัง้ หมด ไม่วา่ จะแบบออนไลน์หรือออฟไลน์ 24 ข้อมูลขนาดใหญ่ ลักษณะของข้อมูลขนาดใหญ่ : ความเร็ว (Velocity) : อัตราการเพิม่ ขึน้ ของข้อมูลเป็ นไปด้วยความรวดเร็ว เช่น ข้อมูลการพิมพ์สนทนา ข้อมูลการอัดภาพวีดโี อ ข้อมูลการสังซื่ อ้ สินค้า ข้อมูลโปรโมชันต่ ่ าง ๆ หรือ ข้อมูล Sensor เป็ นต้น 25 ข้อมูลขนาดใหญ่ ลักษณะของข้อมูลขนาดใหญ่ : ความหลากหลาย (Variety) : ลักษณะของข้อมูลมีรปู แบบทีห่ ลากหลายโดย จะอยูใ่ นรูปแบบของ ข้อความ กราฟ แผนที่ เสียง และวิดโี อ ก็ได้ และความ หลากหลายของข้อมูลอาจจะอยูใ่ นรูปแบบของข้อมูลทีม่ โี ครงสร้าง ข้อมูลกึง่ มี โครงสร้าง และข้อมูลไม่มโี ครงสร้าง 26 อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things หรือ IoT) : หมายถึง วัตถุ อุปกรณ์ พาหนะ สิง่ ของเครื่องใช้ และสิง่ อํานวยความสะดวกในชีวติ อื่น ๆ ที่มนุ ษย์สร้าง ขึน้ โดยมีการฝั งตัวของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ เซ็นเซอร์ และการเชื่อมต่อกับเครือข่าย ซึง่ วัตถุสงิ่ ของ เหล่านี้สามารถเก็บบันทึกและแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ อีกทัง้ สามารถรับรูส้ ภาพแวดล้อมและถูกควบคุมได้จาก https://www.youtube.com/watch?v=qvfF3T93-uw ระยะไกล IoT สามารถประยุกต์ใช้กบั อุปกรณ์ทุกอย่าง ที่ ถู ก ออกแบบมาให้ เ ชื่ อ มโยงกั น ได้ บ นเครื อ ข่ า ย อินเทอร์เน็ตเพือ่ ทีจ่ ะสามารถสือ่ สารกันได้ 27 เทคโนโลยีการประมวลผล การประมวลผลข้อมูลมีรูปแบบแตกต่างกันไปตามลักษณะของโครงสร้างพืน้ ฐาน และองค์ประกอบ ซึง่ มีการเปลีย่ นแปลงตามเทคโนโลยีและความต้องการของธุรกิจ เทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtualization Technology) คอมพิวเตอร์แบบกริด (Grid Computer) คอมพิวเตอร์แบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing) 28 เทคโนโลยีการประมวลผล เทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtualization Technology) : คือ เทคโนโลยีทแ่ี บ่งปั น ทรัพ ยากรณ์ ข องคอมพิว เตอร์ห นึ่ ง เครื่อ งหรือ มากกว่ า นั น้ ให้ส ามารถใช้ง าน ซอฟต์แวร์และแอปพลิเคชันในจํานวนมาก ๆ ขึน้ และสามารถทํางานพร้อมกันได้ หลายงาน หลายหน้ า ที่ ไม่ ว่ า จะเป็ นระบบปฏิ บ ัติ ก ารเดี ย วกัน หรื อ คนละ ระบบปฏิบตั กิ ารกันก็ตาม เทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtualization Technology) 29 เทคโนโลยีการประมวลผล ข้อดีของเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtualization Technology) ลดต้นทุนในการซือ้ Server หรือเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์อย่างเต็มประสิทธิภาพ ง่ายต่อการโอนย้ายระบบ ตอบสนองทางธุรกิจได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ลดต้นทุนค่าไฟฟ้ า และค่าใช้จา่ ยอื่นรวมถึงค่าซ่อมแซม 30 เทคโนโลยีการประมวลผล คอมพิวเตอร์แบบกริด (Grid Computer) : คือ การ นําเอาคอมพิวเตอร์ทม่ี คี วามสามารถในการประมวลผลสูง หลายเครื่องมาทํางานเชื่อมต่อกัน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ รวมเอาความสามารถในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ มาใช้ใ นงานที่ต้อ งอาศัย ความละเอีย ดในการคํา นวณที่ ซั บ ซ้ อ น โดยได้ จ ั ด เอาทรั พ ยากรด้ า นคํ า นวณหรื อ ทรัพ ยากรประมวลผลด้ า นคอมพิว เตอร์ ซอฟต์ แ วร์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่าง ๆ มาทําการต่อเชื่อมโยงให้ถงึ กัน ให้ทาํ งานร่วมกันเป็ นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่เพียงระบบ เดียวในรูปแบบของ Grid 31 เทคโนโลยีการประมวลผล คอมพิวเตอร์แบบกริด (Grid Computer) ถูกนํามาใช้เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ 5 ประการ ดังนี้ การใช้คอมพิวเตอร์แบบกระจาย การประมวลผลทีต่ อ้ งการผลลัพธ์ปริมาณมาก ๆ งานทีต่ อ้ งการการประมวลผลปริมาณมาก ๆ ในช่วงเวลาสัน้ ๆ เป็ นครัง้ คราว งานทีต่ อ้ งวิเคราะห์ขอ้ มูลปริมาณมาก การใช้เครือ่ งมือในการช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการร่วมมือกันทํางานของมนุษย์ 32 เทคโนโลยีการประมวลผล คอมพิวเตอร์แบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing) : คือ บริการทีค่ รอบคลุมถึงการให้ใช้กาํ ลัง ประมวลผล หน่วยจัดเก็บข้อมูล และระบบออนไลน์ ต่าง ๆ จากผูใ้ ห้บริการ เพือ่ ลดความยุง่ ยากในการ ติดตัง้ ดูแลระบบ ช่วยประหยัดเวลา และลดต้นทุน ในการสร้างระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายเอง รูปแบบการให้บริการของ Cloud Computing สามารถแบ่งได้เป็ น 3 ระดับ คือ 1) Infrastructure as a Service 2) Platform as a Service https://www.youtube.com/watch?app=desktop&v=es0JOur3qFk 3) Software as a Service 33 เทคโนโลยีการประมวลผล Cloud Computing Infrastructure as a Service (IaaS) : เป็ นบริการให้ใช้โครงสร้างพืน้ ฐาน ทางคอมพิวเตอร์อย่าง หน่ วยประมวลผล ระบบจัดเก็บข้อมูล ระบบเครือข่าย ในรูปแบบระบบเสมือน (Virtualization) ข้อดีคอื องค์กรไม่ตอ้ งลงทุนสิง่ เหล่านี้ เอง, ยืดหยุน่ ในการปรับเปลีย่ นโครงสร้างระบบไอทีขององค์กรในทุกรูปแบบ, สามารถขยายได้งา่ ย และลดความยุง่ ยากในการดูแล เพราะหน้าทีใ่ นการดูแล จะอยูท่ ผ่ี ใู้ ห้บริการ เช่น บริการ Cloud Storage อย่าง DropBox ซึง่ ให้บริการ พืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูล 34 เทคโนโลยีการประมวลผล Cloud Computing Platform as a Service (PaaS) : คือ ส่วนทีจ่ ะคอยรองรับกระบวนการพัฒนา Web Application หรือ Service ต่าง ๆ ตัง้ แต่ตน้ จนจบกระบวนการพัฒนา โดย ผูใ้ ห้บริการจะเตรียมพืน้ ฐานต่าง ๆ ของ Platform ไว้ไม่วา่ จะเป็ น พืน้ ฐานทัง้ Hardware, Software, และชุดคําสัง่ ไว้ให้ผใู้ ช้ เช่น Google App Engine, Microsoft Azure 35 เทคโนโลยีการประมวลผล Cloud Computing Software as a Service (SaaS) : เป็ นการใช้หรือเช่าใช้บริการซอฟต์แวร์ หรือแอพพลิเคชันผ่ ่ านอินเทอร์เน็ต โดยประมวลผลบนระบบของผูใ้ ห้บริการ เช่น Gmail, Google Docs เป็ นต้น 36 มอบหมายงาน ให้นกั ศึกษาทําการศึกษาในประเด็นดังต่อไปนี้ การประยุกต์ใช้ Big Data ในอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วและบริการ การประยุกต์ใช้ IoT ในอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วและบริการ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtualization Technology) ในอุตสาหกรรม การท่องเทีย่ วและบริการ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์แบบกริด (Grid Computer) ในอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว และบริการ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์แบบกลุม่ เมฆ (Cloud Computing) ในอุตสาหกรรม การท่องเทีย่ วและบริการ จัดทําด้วยโปรแกรม MS Word หรือโปรแกรมอื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง 37