การวิเคราะห์งาน PDF
Document Details
Uploaded by ImprovingPathos5552
ดร.จันทร์ เพ็ญ มีนคร
Tags
Summary
เอกสารนี้เป็นบทที่ 2 เกี่ยวกับการวิเคราะห์งาน โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร กล่าวถึงวัตถุประสงค์และความสำคัญของการวิเคราะห์งาน รวมถึงประโยชน์และกระบวนการการวิเคราะห์งาน
Full Transcript
การวิเคราะห์ งาน บทที่ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทร์ เพ็ญ มีนคร การวิเคราะห์ งาน “การวิเคราะห์ งาน” เป็ นกระบวนการรวบรวมข้ อมูลเกี่ยวกับงาน เพื่ อ กาหนดทักษะความรู้ ความสามารถที่เหมาะสมกับงานแต่ ละชนิดที่เป็ น ประโยชน์ ในการบริ ห...
การวิเคราะห์ งาน บทที่ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทร์ เพ็ญ มีนคร การวิเคราะห์ งาน “การวิเคราะห์ งาน” เป็ นกระบวนการรวบรวมข้ อมูลเกี่ยวกับงาน เพื่ อ กาหนดทักษะความรู้ ความสามารถที่เหมาะสมกับงานแต่ ละชนิดที่เป็ น ประโยชน์ ในการบริ หารบุคคลในการคัดเลือก การพัฒนา การประเมินค่ า งานและค่ าตอบแทน วัตถุประสงค์ และความสาคัญของการวิเคราะห์ งาน ช่ วยในการบริ หารขององค์ กรในเรื่ องต่ าง ๆ ได้ แก่ การออกแบบงาน การแยกประเภทงาน การเพิ่มงาน การขยายงาน การประเมินค่ างาน การบริ ห ารทรั พยากรมนุ ษ ย์ การจั ดทาคู่ มือปฏิบั ติงานและเป็ น เครื่ องมือช่ วยให้ ผ้ บู ังคับบัญชาและผู้ใต้ บังคับบัญชาเข้ าใจในบทบาท ตามตาแหน่ งหน้ าที่ชัดเจน ช่ วยให้ ผ้ ูบังคับบัญชารู้ และเข้ าใจในเรื่ องต่ าง ๆ ได้ แก่ ลักษณะและขอบเขตงานของผู้ใต้ บังคับบัญชา การแนะนาให้ พนักงานใหม่ ร้ ู จักงาน การมอบหมายงานแก่ พนักงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานและ การย้ายหรื อเลื่อนตาแหน่ งงาน ช่ วยให้ พนักงานรู้ และเข้ าใจในเรื่ องต่ าง ๆ ได้ แก่ ลักษณะและขอบเขตของงานที่ต้องปฏิบัติ แนวทางการ ปฏิบัตงิ าน การปรับปรุ งการปฏิบัติงานของตน ประโยชน์ ของการวิเคราะห์ งาน การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การพัฒนาและการประเมิน การตอบแทน การออกแบบงาน บุคลากร และองค์ กร 1. การวางแผนทรัพยากร 1. การฝึ กอบรมและ 1. กาหนดอัตราค่ าแรง 1. การออกแบบงาน มนุษย์ การพัฒนาทักษะ งานให้ ความมัน่ ใจ 2. การออกแบบงาน 2. การกาหนด 2. การกาหนด ในการจ่ ายเงิน ใหม่ เพื่อปรับปรุง ตลาดแรงงาน บทบาท เท่ ากันกับลักษณะ 3. ประสิ ทธิภาพ 3. การสรรหา 3. การวางแผนอาชีพ งานที่เท่ ากัน กาหนดสายงาน 4. การคัดเลือก ของบุคลากร 2. ให้ ความมัน่ ใจใน บังคับบัญชา 5. การปฐมนิเทศ 4. การประเมินผล การจ่ ายเงินที่ 4. กาหนด 6. การเปิ ดโอกาสการเข้ า เท่ ากันสาหรับงาน ความสั มพันธ์ สู่ ตาแหน่ งงานที่เท่ า ที่คล้ ายคลึงกัน ที่จาเป็ นระหว่ าง เทียมกัน กลุ่มงานด้ วยกัน ความสาคัญของการวิเคราะห์ งาน 01 02 03 ด้ านการวางแผนทรัพยากร ด้ านการสรรหาและคัดเลือก การฝึ กอบรมแลการพัฒนา มนุษย์ 04 05 06 การประเมินผลการ การกาหนดค่ าตอบแทน การส่ งเสริมความปลอดภัย ปฏิบัติงาน ในการทางาน ประเภทของการวิเคราะห์ งาน ประเภท สรุปประเภทของข้ อมูล กิจกรรมของงาน -กิจกรรมของงานและกระบวนการ -การบันทึกกิจกรรม -วิธีการดาเนินงานทีใ่ ช้ อยู่ -ความรับผิดชอบส่ วนบุคคล กิจกรรมที่เน้ นตัวพนักงาน -พฤติกรรม เช่ น การสื่ อสาร -การเคลื่อนไหวร่ างกาย -ความต้ องการงานเฉพาะบุคคล ประเภทของการวิเคราะห์ งาน ประเภท สรุปประเภทของข้ อมูล เครื่ องมือ เครื่ องจักร - อุปกรณ์ เครื่ องช่ วยในการทางาน สิ่ งทีเ่ กีย่ วข้ องกับงาน -ความรู้ ความสามารถ -วัสดุอุปกรณ์ -ผลผลิตและการบริหารต่ างๆ ประเภทของการวิเคราะห์ งาน ประเภท สรุปประเภทของข้ อมูล เครื่ องมือ เครื่ องจักร - อุปกรณ์ เครื่ องช่ วยในการทางาน สิ่ งทีเ่ กีย่ วข้ องกับงาน -ความรู้ ความสามารถ -วัสดุอุปกรณ์ -ผลผลิตและการบริหารต่ างๆ ประเภทของการวิเคราะห์ งาน ประเภท สรุปประเภทของข้ อมูล การปฏิบัติงาน -ความผิดพลาดบกพร่ อง -มาตรฐานของงาน -การประเมินงาน บริบทของงาน -ตารางการทางาน -สิ่ งจูงใจทีเ่ ป็ นตัวเงินและไม่ ใช่ ตัวเงิน -สถานการณ์ ทางานทางกายภาพ -เนื้อหาด้ านสั งคมและองค์ การ ประเภทของการวิเคราะห์ งาน ประเภท สรุปประเภทของข้ อมูล คุณสมบัติส่วนบุคคล - คุณสมบัติส่วนบุคคล บุคลิกภาพ สาหรับงงาน -การศึกษาและการฝึ กอบรม -ประสบการณ์ การทางาน กระบวนการการวิเคราะห์ งาน ขั้นตอนที่ 1. การระบุงาน จะต้ องระบุงาน ขอบเขตของงาน ขั้นตอนที่ 2. การพัฒนาและเลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล ขั้นตอนที่ 3. การเก็บรวบรวมข้ อมูล การปฏิบัติตามแผนทีว่ างไว้ ขั้นตอนที่ 4. การจัดทาสารสนเทศของงาน เอกสารพรรณนาลักษณะงาน ตาแหน่ งงาน หน้ าที่ ความรับผิดชอบ คุณลักษณะ ของงาน เงื่อนไขสภาวะ แวดล้อม เอกสารระบุข้อกาหนดของงาน คุณสมบัตทิ าง ความพร้ อม การศึกษา กายภาพ ทางจิตใจ ประสบการณ์ ความชานาญ ความรู้ ความสามารถ การรวบรวมข้ อมมูลในการวิเคราะห์ งาน การประชุม การใช้ วธิ ี การ การสั งเกต การบันทึก อภิปรายของ หลายอย่ าง สั มภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญ รวมกัน คุณสมบัตขิ องนักวิเคราะห์ งาน มี ค วามตื่ น ตั ว (Active) มาจากการวิ เ คราะห์ ง านหรื อ การศึ ก ษางานใหม่ ๆ หรื อ มี ก าร รวบรวมข้ อมูลในการปฏิบัติงาน มีความรู้และประสบการณ์ เพื่อให้ เข้ าใจถึงลักษณะงาน ขอบเขตการปฏิบัติงาน มี พื้ น ฐานด้ า นการวิ จั ย ตั้ ง แต่ มี ก ารพั ฒ นาวิ ธี ก ารการรวบรวมข้ อ มู ล การน าเสนอ สารสนเทศ ความเข้ าใจในงาน การมองเห็นภาพความสั มพันธ์ อย่ างกว้ างๆ ของระบบงาน การวางแผน การปฏิบัติงาน การตัดสิ นใจเลือกวิธีการ คุณสมบัตขิ องนักวิเคราะห์ งาน มีบุคลิกภาพทีเ่ หมาะสม ความสามารถในการปรับตัว มีความสามารถในการติดต่ อสื่ อสาร การพูด การฟัง เขียน อ่ าน มี ทั ก ษะในการวิ เ คราะห์ มองความสั ม พั น ธ์ ก ารวิ เ คราะห์ ง าน สรุ ป ความคิดรวมยอด สรุป การวิเคราะห์ งานนั้นเป็ นพื้นฐานสาคัญของการเข้ าใจตาแหน่ งงานทั้งหมดใน องค์ กร รวมถึงเป็ นพื้นฐานในการเข้ าใจโครงสร้ างการทางานและรู ปแบบ องค์ กรด้ วยเช่ นกัน ซึ่งผู้ที่ดาเนินการในการวิเคราะห์ งานก็จาเป็ นต้ องมีความรู้ ความเข้ าใจในการเก็บข้ อมูล เพราะฉะนั้นการวิเคราะห์ งานนั้นไม่ สามารถทา ได้ เพียงระยะเวลาอันสั้ น แต่ อาศัยการเก็บข้ อมูลที่ละเอียด ชัดเจนและถูกต้ อง เพื่อให้ ได้ ข้อมูลทีมีประสิ ทธิภาพและเป็ นข้ อมูล