โครงสร้างทฤษฎีบัญชี PDF

Summary

เอกสารนีอ้ ธบิ ายเกีย่ วกบั โครงสร้างทฤษฎีการบัญชี รวมถึงความหมาย วิธกี ารสร้าง และโครงสร้างของทฤษฎีการบัญชี

Full Transcript

 เพือ่ ให้สามารถอธิบายและคาดคะเนรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีได้  วิธปี ฏิบตั ทิ างการบัญชีย่อมเป็ นไปตามลักษณะของทฤษฎีการบัญชี  เนื้อหาเกี่ยวกับโครงสร้างทฤษฎีการบัญชี มีดงั นี้ ▪ ความหมายของทฤษฎีการบัญชี ▪ วิธกี ารสร้างทฤษฎีการบัญชี ▪ โครงสร้างของทฤษฎีการบัญชี  ทฤษฎี (Theory)...

 เพือ่ ให้สามารถอธิบายและคาดคะเนรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีได้  วิธปี ฏิบตั ทิ างการบัญชีย่อมเป็ นไปตามลักษณะของทฤษฎีการบัญชี  เนื้อหาเกี่ยวกับโครงสร้างทฤษฎีการบัญชี มีดงั นี้ ▪ ความหมายของทฤษฎีการบัญชี ▪ วิธกี ารสร้างทฤษฎีการบัญชี ▪ โครงสร้างของทฤษฎีการบัญชี  ทฤษฎี (Theory) หมายถึง องค์ความรู ้ (Knowledge) ซึง่ เกิดจาก การเชื่อมโยงแนวคิด ซึง่ เป็ นนามธรรมหลายแนวคิดเข้าด้วยกันอย่างเป็ นระบบ แบบแผน และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการอธิบาย หรือพยากรณ์ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึ้น  สิง่ ทีจ่ ะถือว่าเป็ นทฤษฎีตอ้ งมีคุณสมบัตอิ ย่างน้อย 3 ประการคือ ▪ สามารถอธิบายความจริงหลักของปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึ้นได้ ▪ สามารถอธิบายความจริงหลักนัน้ ออกมาเป็ นกฎหรือความจริงอืน่ ๆ ได้ ▪ สามารถทานายหรือพยากรณ์ปรากฏการณ์เหล่านัน้ ได้  การบัญชี หมายถึง กิจกรรมบริการ ซึง่ มีหน้าทีใ่ นการให้ขอ้ มูลหรือสารสนเทศ เชิงปริมาณ โดยมีลกั ษณะเป็ นข้อมูลทางการเงินเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพือ่ ใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ (คณะกรรมการมาตรฐานการ บัญชี)  การบัญชี หมายถึง ศิลปะของการบันทึก การจัดประเภท และการสรุปใน ลักษณะทีม่ นี ยั สาคัญและในรูปของจานวนเงินของรายการ และเหตุการณ์ ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของลักษณะทางการเงินและการแปลความหมายของผลลัพธ์ ดังกล่าว (คณะกรรมการศัพท์บญั ชีของสมาคมผูส้ อบบัญชีอนุญาตแห่งสหรัฐฯ) กลุม่ ของแนวคิด สมมติฐานและหลักการบัญชีต่าง ๆ ซึง่ เป็ นแนวทางในการแก้ปญั หาและให้ใช้การประเมินวิธีการ วิธีการปฏิบตั ทิ างการบัญชี ตลอดจนพัฒนาวิธีการปฏิบตั ิ ทางการบัญชี ทีใ่ ช้ในการอธิบายและคาดคะเนเหตุการณ์ทาง เศรษฐกิจในอนาคตได้ ทฤษฎีการบัญชี ทฤษฎี + การบัญชี ระดับปฏิบตั ิ ระดับสูง (Pragmatic level) พิจารณาจาก ระดับการตีความ ความสัมพันธ์ (Semantic Interpretation Level) (ในรายวิชาทฤษฎีการบัญชี) ระดับตา่ หรือ ระดับโครงสร้าง (structural Level) ระดับพื้นฐาน Descriptive theory of Accounting หรื อ Positive Theory ทฤษฎีการบัญชี “What is?” โดย - Descriptive theory พยายามพิจารณาการปฏิบตั ิทาง บัญชีที่มองว่ามีประโยชน์ - Normative theory Normative Theory of Accounting หรื อ พยายามพิจารณาการปฏิบตั ิทาง Normative Theory บัญชีที่ควรนามาใช้ “What ought to be?”  ข้อมูลเชิงคณิตศาสตร์เพือ่ หาโครงสร้างทีส่ มเหตุสมผล  ข้อมูลเชิงเศรษฐกิจเพือ่ หามูลค่าของรายการและเหตุการณ์ทางบัญชี  ข้อมูลเชิงพฤติกรรมเพือ่ หาวิธปี ฏิบตั ทิ างการบัญชี  เป็ นตัวกาหนดวัตถุประสงค์ของการบัญชี  ซึง่ อาจใช้แนวทางเดียวหรือหลายแนวทาง  เพือ่ ให้ได้มาซึง่ หลักการทีส่ มเหตุสมผล วัตถุประสงค์และข้อสมมติ ทัว่ ไป (Postulates) หลักการ วิธีปฏิบตั ิ เฉพาะเจาะจง มาตรฐานการรายงานทางการเงินกาหนดโดยทฤษฎีนีเ้ ป็ นแบบอิงกับหลักการ Principle based การสังเกตการณ์ เฉพาะเจาะจง สมมติฐาน (Hypothesis) การทดลอง ทัว่ ไป ข้อสรุ ป มาตรฐานการรายงานทางการเงินกาหนดโดยทฤษฎีนีเ้ ป็ นแบบอิงกับกฎเกณฑ์ (Rule based) กาหนดและระบุปัญหาที่ตอ้ งการศึกษา ระบุขอ้ สมมติฐานที่ตอ้ งการทดสอบ รวบรวมข้อมูลที่จาเป็ นเพื่อการทดสอบสมมติฐาน วิเคราะห์และประเมินข้อมูลที่สัมพันธ์กบั สมมติฐาน เขียนข้อสรุ ปอย่างคร่ าว ๆ สังเกตพฤติกรรมของบุคคลที่ตอ้ งการใช้ขอ้ มูลทางการบัญชี พัฒนาเป็ นการวิจยั ทางการบัญชีเชิงพฤติกรรม (Behavioral Accounting Research : BAR) การปฏิบตั ิ ไม่ได้เกิดจากการ ทางการบัญชี พัฒนาหรื อประเมิน หลักการบัญชีที่ นามาใช้ (พัฒนาไป เป็ นวิจยั เชิงวิพากษ์ ความเที่ยงธรรม ความยุติธรรม ความเป็ นจริ ง รายงานทาง ข้อมูลทางการ เงินที่นาเสนอ การเงิน วัตถุประสงค์ของการเสนอข้อมูล - กาหนดแนวคิดและวิธีการวัดผลเกี่ยวกับ ข้อมูลที่เป็ นตัวเงิน กิจกรรมทางสังคม และไม่เป็ นตัวเงินที่ - กาหนดโครงสร้างในการรายงานและการ ส่ งผลกระทบต่อ ให้ขอ้ มูลแก่ผสู ้ นใจ สังคม เช่น งบ - ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับประโยชน์ที่กิจการได้รับ การบัญชีที่กระทบต่อ มูลค่าเพิ่ม การบัญชี และสูญเสี ย สังคม สิ่ งแวดล้อม - ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับประโยชน์ที่สงั คมได้รับ และสูญเสี ยโดยที่กิจการไม่ได้รับประโยชน์ คานึงถึงผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์ที่มีต่อหลักการบัญชี การเลือกวิธีการบัญชีจะขึ้นอยูก่ บั ผลทาง นโยบายการบัญชี และวิธีการบัญชีที่มี เศรษฐกิจที่เกิดขึ้น เช่น การบัญชีสาหรับ ผลกระทบต่อข้อมูลที่เกิดขึ้นจริ งทาง การวิจยั และพัฒนา การบัญชีสัญญาเช่า เศรษฐศาสตร์ เช่น GDP ของประเทศ การบัญชีสาหรับการเปลี่ยนแปลงใน ระดับราคา การสร้าง ทฤษฎีโดยการ การสร้างทฤษฎี เป็ นทฤษฎีที่สร้างโดยสมาคม โดยผูม้ ีอานาจ วิชาชีพที่มีบทบาทในการ ใช้หลักปฏิบตั ิ เป็ นทฤษฎีที่สร้างขึ้นจากการ (Authoritarian ออกมาตรฐานการบัญชี เป็ น (Pragmatic ปฏิบตั ิจริ ง หรื อสร้างขึ้นจาก การเลือกใช้วิธีปฏิบตั ิที่ Approach) Approach) ข้อแนะนาจากความต้องการ เหมาะสมตามสถานการณ์ใน ของผูใ้ ช้ขอ้ มูล ขณะนั้น ภายใต้สมการบัญชี (ฐานะการเงินและกาไร ขาดทุน) การสร้างทฤษฎี ตัวอย่าง คานึงถึง รายการ งบแสดงฐานะการเงิน ข้อจากัด และ เหตุการณ์ งบกาไรขาดทุน ทางบัญชีที่ การพัฒนาทฤษฎีเป็ นไปได้ยาก การให้ขอ้ มูลมากเกินไป อาจทาให้ผใู ้ ช้ เนื่องจากไม่มีความแน่นอนของ เกิด หลักเกณฑ์ในการเลือกข้อมูล งบการเงินไม่ได้ประโยชน์เท่าที่ควร งบกระแสเงินสด เกิดจากความยุง่ ยากในการเลือก และการวัดมูลค่ารายการและเหตุการณ์ เหตุผล ทางบัญชี รวมทั้งเงื่อนไขในการกาหนดหลักเกณฑ์ในการวัดมูลค่า การสร้างทฤษฎีโดยอาศัยความสามารถในการเลือกวิธีการบัญชีภายใต้ ลักษณะ การคาดคะเนความต้องการของผูใ้ ช้ขอ้ มูล ให้ผลู ้ งทุนหรื อผูใ้ ช้งบการเงินทราบถึงเหตุการณ์ วัตถุประสงค์ของข้อมูล วัตถุประสงค์ และความสัมพันธ์ของข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจ  เป็ นการสร้างทฤษฎีโดยอาศัยความพยายามของนักบัญชี สมาคมนัก วิชาชีพและองค์การของรัฐในการกาหนดแนวคิดและหลักการบัญชี โครงสร้างของทฤษฎีการบัญชี แนวคิดขั้นมูลฐาน ข้อสมมติข้นั มูลฐาน หลักการบัญชีข้ นั มูล หลักการเพิ่มเติม ฐาน -รายการและเหตุการณ์ -ความเป็ นหน่วยงาน -หลักราคาทุน -หลักนัยสาคัญ ทางการบัญชี -การดาเนินงานต่อเนื่อง -หลักการเกิดขึ้นของ -หลักความระมัดระวัง -สมการบัญชี -การใช้หน่วยเงินตรา รายได้ -หลักงวดเวลา -หลักการจับคู่รายได้และ ค่าใช้จ่าย -หลักความสม่าเสมอ -หลักการเปิ ดเผยข้อมูล -หลักฐานอันเที่ยงธรรม -หลักการประมาณ  ให้นกั ศึกษาแต่ละกลุม่ หางานวิจยั ทางการบัญชีกลุม่ ละ 1 เรื่อง แล ้วนามาสรุป ทฤษฎีทง่ี านวิจยั นัน้ ๆ นามาใช้อธิบายผลของการศึกษา และนาเสนอในชัน้ เรียน

Use Quizgecko on...
Browser
Browser