Mental Health and Counseling PDF
Document Details
![ProlificAgate6604](https://quizgecko.com/images/avatars/avatar-18.webp)
Uploaded by ProlificAgate6604
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ดร.กนกพร สมพร
Tags
Summary
This document is about Mental Health and Counseling, discussing various aspects like the definition, historical background, and factors influencing mental health within communities in Thailand.
Full Transcript
สุขภาพจิตและการให้คำปรึกษา Mental Health and Counseling อาจารย์ ดร.กนกพร สมพร สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา หัวข้อ บทที่ 1 แนวคิดทางสุขภาพจิตและ พัฒนาการ...
สุขภาพจิตและการให้คำปรึกษา Mental Health and Counseling อาจารย์ ดร.กนกพร สมพร สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา หัวข้อ บทที่ 1 แนวคิดทางสุขภาพจิตและ พัฒนาการของสุขภาพจิตในชุมชน การเรียนรู้ ความหมายของสุขภาพจิต ความเป็นมาของพัฒนาการงานสุขภาพจิต ในชุมชนของประเทศไทย สุขภาพจิตในชุมชน และงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของบุคคล สุขภาพจิตคืออะไร องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้ คำนิยามของสุขภาพจิตไว้ว่า "สภาวะของความเป็นอยู่ที่ดี ซึ่งบุคคลตระหนักถึง ศักยภาพของตนเอง สามารถจัดการกับความเครียด ปกติในชีวิตได้ สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ และสามารถมีส่วนร่วมในชุมชนของ ตนได้" พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ได้ให้ ความหมายของสุขภาพจิตว่า "สภาวะจิตใจที่เป็นสุข สามารถปรับตัว แก้ปัญหา สร้างสรรค์ทั้งตนเอง ครอบครัว และสังคมได้อย่างมี ความสมดุล" ความเป็นมาของพัฒนาการ งานสุขภาพจิตในชุมชนของ ประเทศไทย ยุคเริ่มต้น (ก่อน พ.ศ. 2500): การดูแลผู้ป่วยจิตเวชส่วนใหญ่อยู่ในความรับผิดชอบของครอบครัวและชุมชน โดยมีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเชื่อทางศาสนาในการดูแลรักษา การรักษาผู้ ป่วยทางจิตต้องอาศัยพระหรือพวกทรงเจ้าเข้าผี หรือใช้วิธีการกระทาต่อผู้ป่วยอย่าง ทรมาน ตามความเชื่อของคนสมัยนั้น และเมื่อถึงสมัยรัชการที่ 5 ได้มีการจัดตั้งสถาน ที่ดูแลผู้ป่วยทางจิตเรียกว่า “โรงพยาบาลเสียจิตปากคลองสาน” ซึ่งในปัจจุบันคือ โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา สมัยก่อนรัชการที่ 5 ศาสตร์ตราจารย์นายแพทย์หลวงวิเชียรแพทยาคม ผู้อำนวย การโรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา ระหว่าง พ.ศ. 2468-2484 เป็นผู้มี บทบาทริเริ่มงานจิตเวชชุมชน ได้พยายามขยายงานจิตเวชไปสู่ส่วน ภูมิภาค พ.ศ. 2480 ได้สร้างโรงพยาบาลจิตเวชตามภาคต่างๆโดยสร้าง ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นที่แรก และตามมาด้วย โรงพายาบาล สวนสราญรมย์ โรงพยาบาลสวนปรุง โรงพยาบาลศรีธัญญาโรง พยาบาลศรีมหาโพธิ์ โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น โรงพยาบาลจิตเวช นครราชสีมา ตามลำดับ ยุคสถาบัน (พ.ศ. 2500-2530): การก่อตั้งโรงพยาบาลจิตเวชและสถาบันบำบัดรักษาทางจิตเวช การดูแลผู้ป่วยจิตเวชเน้นการรักษาในระดับสถาบันเป็นหลัก แต่ยังขาดการเชื่อมโยงกับชุมชน พ.ศ. 2511 เริ่มจัดตั้งแผนกจิตเวชในโรงพยาบาลทั่วไปเป็นครั้งแรก ที่โรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบุรี และดำเนินการ ขยายแผนกจิตเวชในโรงพยาบาลทั่วไป พ.ศ. 2512 ได้ตั้งศูนย์สุขวิทยาจิต ที่ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ เป็นศูนย์ในการให้บริการสุขภาพจิตทั้งทางด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้ นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยทางจิต พ.ศ. 2516 ได้จัดตั้งศูนย์สุขภาพจิตชุมชนชัยนาท เพื่อให้บริการทางสุขภาพจิตแก่ประชาชนและขยายไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ยุคปฏิรูประบบสุขภาพจิต (พ.ศ. 2530-2550): การนำแนวคิดการดูแลสุขภาพจิตชุมชนมาใช้ มีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต ในระดับปฐมภูมิ และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ยุคบูรณาการ (พ.ศ. 2550-ปัจจุบัน): มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ซึ่งเน้นการคุ้มครองสิทธิ ผู้ป่วยจิตเวชและการส่งเสริมสุขภาพจิตเชิงรุกในชุมชน มีการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพ จิตแบบบูรณาการ โดยเชื่อมโยงบริการระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิเข้าด้วยกัน การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในระดับชุมชน การฝึกอบรมบุคลากรสาธารณสุข การพัฒนาโปรแกรมสร้างเสริม การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการให้ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ พลังใจในชุมชน เพื่อเสริมสร้าง บริการสุขภาพจิต และ หมู่บ้าน (อสม.) ให้สามารถคัด ความเข้มแข็งทางจิตใจและความ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ กรอง ให้การดูแลเบื้องต้น และส่ง สามารถในการฟื้ นตัวของ ใช้บริการและครอบครัวในการ ต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิตได้อย่างมี ประชาชน โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต ประสิทธิภาพ และผู้ประสบภาวะวิกฤต ผ่านการจัดตั้งกลุ่มสนับสนุนและ เครือข่ายผู้ใช้บริการ สุขภาพจิตในชุมชน สุขภาพจิตในชุมชน เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นการส่งเสริม ป้องกัน และดูแลสุขภาพจิตของประชาชนในบริบทของชุมชนที่ สุขภาพจิตในชุมชน? พวกเขาอาศัยอยู่ แนวคิดนี้ตั้งอยู่บนความเชื่อที่ว่าสุขภาพจิต ไม่ใช่เพียงเรื่องของปัจเจกบุคคล แต่เป็นผลมาจากปฏิสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมและกายภาพ บริบทของประเทศไทย Kongsuk et al. (2021) ได้ ศึกษาผลของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชใน ระดับชุมชน พบว่า การฝึกอบรมบุคลากรสาธารณสุขและอาสา สมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในการคัดกรองและ ให้การดูแลเบื้องต้นแก่ผู้มีปัญหาสุขภาพจิต สามารถเพิ่ มการ เข้าถึงบริการและลดอัตราการฆ่าตัวตายในชุมชนได้อย่างมีนัย สำคัญ ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพจิต ของบุคคล ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพจิต ประกอบด้วยปัจจัย ดังต่อไปนี้ ของบุคคล ปัจจัยทางด้านร่างกายหรือด้านชีวภาพ (Biological factors) ปัจจัยทางด้านจิตใจ (Psychological factors) ปัจจัยทางด้านสังคมวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อม (Social cultural or Environmental factors) ปัจจัยทางจิตวิญญาณ (Spiritual factors) ปัจจัยทางด้านร่างกายหรือด้านชีวภาพ (Biological factors) พั นธุกรรม ภายวิภาคและสรีรวิทยา ชีวเคมี ฮอร์โมน สภาพร่างกาย (Genetic factors) ของระบบประสาท (Biochemistry foctors) ได้แก่ รูปร่างหน้าตา เพศ การถ่ายทอดลักษณะ (Hormonal influences) (Neuroanatomic and จากการศึกษาวิจัยพบว่า ส่งผลต่อพฤติกรรมการ วัย ความแข็งแรง การเจ็บป่วย บุคลิกภาพจากพ่อแม่สู่ลูกหลาน ความบกพร่อง หรือพิการ Neurophysiological สารชีวเคมีในสมองบางตัว เมื่อ แสดงออก และการเกิดอารมณ์ เริ่มจากพัฒนาการของระบบ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้มีผลต่อ มีการเปลียงแปลงจะสงผลต่อ ของบุคคล เช่น Estrogen และ ประสาทตั้งแต่ยังเป็นตัวอ่อนใน factor) สุขภาพจิต ถ้าสภาพร่างกาย สุขภาพจิตบุคคลได้ เช่น ถ้าขาด Progesterone ทำให้เกิด ครรภ์มารดา มีการทำการศึกษาวิจัยพบว่า สารNorepinephrin จะนำไปสู่ พฤติกรรมการแสดงออกของ เป็นไปในด้านบวก ลักษณธการเล็กใหญ่ของสมอง ภาวะซึมเศร้า เพศหญิงเพศชาย มีผลต่อสุขภาพจิตมนุษย์ Adrenaline ทำให้เกิดอาการ ตื่นเต้นในบุคคล ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ถ้าพัฒนาการในแต่ละขั้นตอนเกิดปมปัญหา จะส่งผล ต่อบุคลิกภาพของเขา และเมื่อเขาต้องเผชิญกับเหตุการณ์ในชีวิต เขาก็จะ ปรับตัวไม่เหมาะสม เกิดปัญหาสุขภาพจิตได้ ทฤษฎีสัมพั นธภาพระหว่างบุคคล ซัลลิแวน (Sullivan, 1953 อ้างใน ปัจจัยทางด้านจิตใจ มรรยาท รุจิวิทย์ 2548) มีความเห็นว่ามนุษย์จeเป็นต้องมีสัมพันธภาพกับ บุคคลอื่นๆ และ สิ่งแวดล้อม ถ้าเด็กหรือบุคคลได้รับการยอมรับเห็นด้วยหรือ (Psychological factors) สนับสนุนจากพ่อแม่หรือคนรอบข้าง ก็จะเรียนรู้ว่าคนดีหรือ “ฉันดี” ทำให้มี สุขภาพจิตดี ปรับตัวได้ดี แต่ถ้า ไม่ได้รับการยอมรับจะก่อให้เกิดความวิตก กังวล คิดว่า คนไม่ดี หรือ “ฉันไม่ดี มี ปัญหาสุขภาพจิต แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยา ที่เสนอให้เห็นถึงความ สัมพันธ์ของบุคลิกภาพ และสุขภาพจิตมากมาย ที่แสดงให้ เห็นว่า ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม เชื่อว่าพฤติกรรมมนุษย์เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ ดังนั้น ปัจจัยทางด้านจิตใจหรือบุคลิกภาพของบุคคลมีผลต่อสุขภาพจิต ถ้าบุคคล ได้รับการเรียนรู้หรือการเสริมแรงมาอย่างไม่ถูกต้องเหมาะสม ก็จะ และการปรับตัว ดังนี้ ส่งผลต่อ สุขภาพจิตได้ เช่น เด็กที่ถูกตำหนิหรือลงโทษ เมื่อเขาแสดงความ คิดเห็นแสดง ความรู้สึกให้ผู้ใหญ่ก็จะเป็นคนขาดความเชื่อมั่น และไม่กล้า แสดงออก ทฤษฎีมนุษยนิยม เชื่อว่า มนุษย์มีศักยภาพในตัวเอง และถ้ารู้สึกว่าตนมี ความสามารถที่จะใช้ความสามารถตามศักยภาพของตนให้เต็มที่ เกิดความ ภาคภูมิใจในตนเอง มีสุขภาพจิตดี แต่ตรงกันข้าม ถ้าประสบการณ์ในวัย เด็กของเขา มีแต่ล้มเหลว ไม่ได้รับการยอมรับในความสามารถที่มี ก็จะรู้สึก ว่าตนไม่มีคุณค่า และ มีสุขภาพจิตและการปรับตัวไม่ดี ปัจจัยทางด้านสังคมวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อม (Social cultural or Environmental factors) ปัจจัยทางครอบครัว การอบรมเลี้ยงดู - การอบรมเลี้ยงดูแบบเผด็จการ (Authoritarian) โดยพ่อแม่จะเป็นผู้ออกคาสั่งให้ลูกทำตาม เมื่อลูกทำ ผิดในสายตาของพ่อแม่แล้ว ก็จะถูกลงโทษทันที การตัดสินว่าลูกทำถูกหรือผิดเป็น ความคิดเห็นของพ่อแม่ แต่ เพียงฝ่ายเดียว ข้อดี คือเด็กจะมีความอ่อนน้อม มี วินัย เคารพเชื่อฟัง ข้อเสีย คือ เด็กจะขาดความใกล้ชิดกับ ผู้ใหญ่ ไม่กล้าได้แย้งขาดความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ ความเชื่อมั่นในตัวเอง ดื้อเงียบ หรืออาจก้าวร้าว เผด็จการ - การอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลยหรือทอดทิ้ง (Rejection) เป็นการที่พ่อแม่ไม่สนใจ สั่งสอนอบรม ลักษณะสิ่งแวดล้อมทาง ไม่ให้คำแนะนำ ปล่อยให้ทำตามอำเภอใจ ส่งผลให้เด็กรู้สึกขาดความรักความอบอุ่น อาจมีพฤติกรรมเรียกร้อง ความสนใจ เอาแต่ใจตนเอง ขาดระเบียบวินัย ไม่เชื่อฟังผู้ใหญ่ คบเพื่อนไม่ดี มั่วสุมอบายมุข หรือยาเสพติดได้ กายภาพ - การอบรมเลี้ยงดูแบบถนุถนอมมากเกินไป (Overprotection) พ่อแม่จะดูแลเอาใจใส่ ประคับประคองลูก ได้แก่ ที่อยู่อาศัย บริเวณที่ตั้ง ไม่ยอมให้ลูกพบกับความยากลำบาก จนเด็กไม่มีโอกาสทำสิ่งใดด้วยตนเอง ซึ่งจะทำให้เด็กมีลักษณะเอาแต่ใจ ลักษณะของชุมชน ความหนาแน่น ความ ตนเอง ไม่อดทนต่อความยากลำบาก ไม่ต่อสู้ชีวิต ขาดความมั่นใจ ไม่กล้าตัดสินใจ ต้องคอยพึ่งผู้อื่น ปรับตัว สะดวกในการติดต่อและคมนาคม เป็นต้น ลำบาก - การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย (Democracy) เป็นการอบรมโดยใช้เหตุใช้ผลให้ โอกาสลูกที่จะได้ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่สะอาด แสดงความคิดเห็นชี้แจงเหตุผล ให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมของครอบครัว และอบรม ให้รู้จักหน้าที่และบทบาทของ สะดวก ปลอดภัย ย่อมมีผลดีต่อสุขภาพ ตน ทาให้เด็กมีการปรับตัวได้ดี มีความเชื่อมั่นในตัวเอง รู้สึกว่าตนมี คุณค่า กล้าคิดและตัดสินใจ รับฟังเหตุผล ทั้งกายและจิตของผู้อยู่อาศัย ของผู้อื่นและรู้บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่จะต้องทำ ตามระเบียบของสังคม ความสัมพั นธ์ในครอบครัว มีผลต่อสุขภาพจิตของสมาชิกในครอบครัว ครอบครัว อบอุ่น มีความรักใคร่ปรองดอง ช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน สมาชิกในครอบครัวก็จะมีความรู้สึกที่ มั่นคง และเมื่อประสบปัญหาก็จะเชื่อมั่นได้ว่ามีแหล่งที่จะช่วยเหลือ สนับสนุน ไม่ถูกทอดทิ้ง ปัจจัยทางด้านสังคมวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อม (Social cultural or Environmental factors) ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางด้านการเมือง ปัจจัยทางวัฒนธรรมและ ปัญหาทางด้านการเงินหรือความ การเมืองของไทยมีลักษณะไม่แน่นอน เชื้อชาติ มีการเปลี่ยนรัฐบาลบ่อยๆ มีการปฏิวัติ ยากจน ทำให้ต้องต่อสู้ดิ้นรน อย่างไรก็ตามไม่ วัฒนธรรมเป็นการถ่ายทอดจากคนรุ่น รัฐประหาร สลับกับการใช้รัฐธรรมนูญหลาย ว่าจะมีฐานะเศรษฐกิจ อย่างไร ถ้าบุคคล ก่อนมาสู่คนรุ่นหลัง วัฒนธรรมของแต่ละเชื้อชาติ ครั้ง ประชาชนก็เกิดความแตกแยกทางความ ยอมรับได้ในเรื่องของเศรษฐกิจพอเพียง ก็จะแตกต่างกันออกไป ซึ่งทุกวัฒนธรรมของ คิด เกิดการประท้วง การใช้ความรุนแรง ส่ง ความเครียดที่ถูกกดดันนั้นก็จะลดลงได้ แต่ละเชื้อชาติมุ่งให้ชนในชาติของตนมีความปกติ ผลต่อสภาพจิตใจของประชาชน ขาดความ สุข แต่บางวัฒนธรรมบางประเพณีที่สร้างความ มั่นคงและความมั่นใจในการดำเนินชีวิต ตึงเครียด ความขัดแย้งให้เกิดขึ้นกับคนบางหมู่ บางพวก เช่น การไม่เท่าเทียมกันทางเพศ การ ทำบุญหรือทำตามประเพณีเพื่อรักษาหน้า ปัจจัยทางจิตวิญญาณ (Spiritual factors) สิ่งที่นับถือหรือที่พึ่ งทางใจ ปรัชญาชีวิต ลางสังหรณ์ (Concept of Deity) (Philosophy of Life) (Sense of Transcendence) ได้แก่ ศาสนา สิ่งที่เลื่อมใส ศรัทธา เป็นแนวคิดเกี่ยวกับชีวิต เป็นการ เป็นความรู้สึกพิเศษเหนือธรรมชาติ ซึ่ง เป็นต้น ถ้าที่พึ่งทางใจและการปฏิบัติตามคำ กำหนด หรือให้ความหมายแก่สิ่งที่มีความสา บางคนอาจจะรู้สึกว่าตนมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือ สอนในศาสนาหรือทำตามสิ่งที่ผู้ป่วยนับถือแล้ว คัญในชีวิต เช่น การมีเป้าหมายในชีวิต และมี เทวดาคุ้มครองปกป้องช่วยเกื้อหนุน ทำให้มี ช่วยให้เกิดสงบสุข ทำแล้วสบายใจ จะเป็นผลดี ครอบครัวเป็นหลัก เขาย่อมมีการปรับตัวที่ดี ความหวัง มีความสุข ความมั่นใจในชีวิต แต่ ต่อสุขภาพจิต แต่ถ้าสิ่งเหล่านั้นไม่ได้ถูกปฎิบัติ อยู่กับความเป็นจริง แต่ถ้าบุคคลมีการตั้งเป้า บางคนรู้สึกว่าตนมีแต่เคราะห์กรรม ชีวิตสิ้นหวัง ก็จะส่งผลให้เกิดความเครียด และย่อมมีผลเสีย หมายในชีวิต หรือให้คุณค่ากับสิ่งที่ไม่เหมาะสม มีแต่ลางสังหรณ์ว่าจะล้มเหลว ทำให้ชีวิตไม่มี ต่อสุขภาพจิต สังคมไม่ยอมรับ เป็นอบายมุขก็จะยากลำบาก ความสุข จนบางรายถึงขั้นฆ่าตัวตายไป ในการปรับตัวและมีปัญหาสุขภาพจิตได้