หน่วย 1-2 ภัยพิบัติฯ PDF

Document Details

Uploaded by Deleted User

Tags

ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ภัยพิบัติ แผ่นดินไหว ภูมิศาสตร์

Summary

เอกสารนี้เป็นบทเรียนหรือเอกสารเกี่ยวกับภัยพิบัติทางธรรมชาติครอบคลุมประเภทสาเหตุ และความเชื่อเกี่ยวกับภัยพิบัติ อาทิเช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ สึนามิ ภัยแล้ง รวมถึงการวัดระดับ และการจัดการภัยพิบัติ

Full Transcript

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ภัยพิบัติและทรัพยากรธรรมชาติ ภัยพิบัติและทรัพยากรธรรมชาติ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลให้เกิดอันตรายและสูญเสียทัง้ ชีวิตและทรัพย์สิน สร้างความเสียหายเป็นบริเวณกว้าง ...

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ภัยพิบัติและทรัพยากรธรรมชาติ ภัยพิบัติและทรัพยากรธรรมชาติ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลให้เกิดอันตรายและสูญเสียทัง้ ชีวิตและทรัพย์สิน สร้างความเสียหายเป็นบริเวณกว้าง ภัยพิบัติและทรัพยากรธรรมชาติ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เกิดขึ้นได้ 3 ลักษณะ คือ 1. ภัยพิบัติที่เกิดจาก 2. ภัยพิบัติทเี่ กิด 3. ภัยพิบัติที่เกิดขึ้น สาเหตุภายในโลก ขึ้นบนผิวโลก ในบรรยากาศ แผ่นดินไหว สึนามิ ดินถล่ม วาตภัย ลูกเห็บ ภูเขาไฟปะทุ อุทกภัย ไฟป่า ฟ้าผ่า การกัดเซาะชายฝั่ง ภาวะโลกร้อน ภัยพิบัติและทรัพยากรธรรมชาติ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ แบ่งได้ 4 ลักษณะ คือ ภัยพิบัติทางธรณีภาค : แผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ สึนามิ แผ่นดินถล่ม ภัยพิบัติทางบรรยากาศภาค : พายุฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน ทอร์นาโด ภัยพิบัติทางอุทกภาค : อุทกภัย การกัดเซาะชายฝั่ง ภัยพิบัติทางชีวภาค : ไฟป่า ภัยแล้ง ภาวะโลกร้อน (เอลนิโญ,ลานีญา) ภัยพิบัติและทรัพยากรธรรมชาติ องค์ประกอบในการศึกษาภัยพิบัติทางธรรมชาติ 1. ขนาด 2. ความถี่ 3. ช่วงเวลา 4. การครอบคลุมพื้นที่ 5. การกระจาย 6. ความฉับพลัน 7. ความสม่าเสมอ เชิงพื้นที่พื้นที่ ของเหตุการณ์ ภาระงานหน่วยที่ 1 กิจกรรมกลุ่ม : ภัยพิบัติทางธรรมชาติ คำชี้แจง ให้นักเรียนค้นคว้าภัยพิบัตทิ ี่กลุ่มได้รับมอบหมาย โดยสรุปเนื้อหา (รูปแบบใดก็ได้ใน 1 แผ่น) และนำเสนอในรูปแบบต่างๆ ตามความถนัด (เช่น บรรยาย, บทบาทสมมุติ, ถาม-ตอบ, เกมส์.... ) ภัยพิบัติทางธรรมชาติ 1. แผ่นดินไหว 2. ภูเขาไฟปะทุ 3. สึนามิ 4. แผ่นดินถล่ม 5. พายุฝนฟ้าคะนอง 6. พายุหมุนเขตร้อน 7. ทอร์นาโด 8. อุทกภัย 9. การกัดเซาะชายฝั่ง 10. ไฟป่า 11. ภัยแล้ง 12. ภาวะโลกร้อน (เอลนิโญ,ลานีญา) * หัวข้อแต่ละภัยพิบัติทางธรรมชาติแตกต่างกัน ให้นักเรียนดูในหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ได้แก่ ความหมาย ประเภท สาเหตุ การจัดการ (การเตรียมตัว ป้องกัน การปฏิบัติตน) ภัยพิบัติและทรัพยากรธรรมชาติ แบ่งได้ดังนี้ แผ่นดินไหว ( Earthquake ) แผ่นดินไหว (Earthquake) เป็นปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ที่ เปลือกโลกเกิดการเคลื่อนไหวหรือสั่นสะเทือน ณ จุดใดจุดหนึ่งบนโลก แผ่นดินไหว ( Earthquake ) การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก แบ่งได้ 3 แบบ คือ 1. ชนกัน 2. แยกกัน 3. มุดตัวกัน เกิดเทือกเขาขนาดใหญ่ เกิดภูเขาไฟใต้น้าและ เกิดภูเขาไฟและ เช่น เทือกเขาหิมาลัย ภูเขาไฟบนเกาะ ทำให้เกิด ร่องน้าลึก ทำให้เกิด ทำให้เกิดแผ่นดินไหว แผ่นดินไหวและสึนามิ แผ่นดินไหวรุนแรง แผ่นดินไหว ( Earthquake ) การปรับตัวของแผ่นเปลือกโลก โดยการโก่ง โค้ง งอ ฉีก และแตกแยก ออกกัน เรียกว่า รอยเลื่อน (Fault) แบ่งได้ 3 แบบ คือ 1. รอยเลื่อนปกติ 3. รอยเลื่อนตามแนวระดับ 2. รอยเลื่อนย้อน/เฉียง แผ่นดินไหว ( Earthquake ) วงแหวนแห่งไฟ เป็นบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกที่เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด บ่อยครั้ง มีความยาวประมาณ 40,000 กิโลเมตร วางตัวตามแนวร่องสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณขอบแผ่นเปลือกโลก ซึ่งมีภูเขาไฟทีค่ ุกกรุน่ อยูก่ ว่า 75% แผ่นดินไหว ( Earthquake ) แผ่นดินไหว ( Earthquake ) การเกิดแผ่นดินไหวจะทำให้เปลือกโลกมีการเปลี่ยนแปลงและเกิดอันตราย ได้เป็น 6 สภาวะ คือ 1. แผ่นดินสะเทือน 2. แผ่นดินเลื่อน 3. ธรณีสูบ (หลุมยุบ) 4. ไฟไหม้ 5. แผ่นดินถล่ม 6. สึนามิ แผ่นดินไหว ( Earthquake ) สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว สาเหตุเกิดจากธรรมชาติ สาเหตุจากการกระทำของมนุษย์ 1. การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก 1. การสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ 2. การระเบิดของภูเขาไฟ 2. การระเบิดจากการทำเหมืองแร่ 3. การทดลองอาวุธนิวเคลียร์ 4. การสูบน้าใต้ดินมาใช้มากเกินไป แผ่นดินไหว ( Earthquake ) เครื่องมือใช้ตรวจวัดแผ่นดินไหวในอดีต โหวเฟิง ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวจีน ชื่อจางเหิง ในปี พ.ศ.621 ลักษณะคล้ายไหเหล้า ทำด้วยทองสัมฤทธิ์ รอบไหมีมังกรเล็กๆ 8 ตัว เมือ่ เกิด แผ่นดินไหวอุปกรณ์ภายในจะทำให้ปากของมังกรเปิดออก ลูกแก้วจะตกลงไป อยู่ในปากของกบ ทำให้เกิดเสียงดังและสามารถทำนายทิศทางของการเกิดได้ http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID=965258 แผ่นดินไหว ( Earthquake ) เครื่องมือใช้ตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว เครื่องมือใช้ตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว เรียกว่า ซีสโมกราฟ (Seismograph) โดยมีหน่วยวัดเป็นมาตรา “ ริกเตอร์ ” แผ่นดินไหว ( Earthquake ) การวัดแผ่นดินไหว นิยมวัดอยู่ 2 แบบ ได้แก่ 1. การวัดขนาด (Magnitude) 2. การวัดความรุนแรง (Intensity) เป็นการวัดความสูงของคลื่น เป็นการวัดผลกระทบของ โดยวัดจากศูนย์กลางในรูปแบบของ แผ่นดินไหวที่มีต่อคน โครงสร้าง การสั่นสะเทือน อาคารและพื้นดิน ใช้มาตราริกเตอร์หรือแมกนิจูด ใช้มาตราเมอร์คัลลีท่ ี่ปรับปรุงแล้ว ขนาดมีได้ขนาดเดียว ความรุนแรงมีได้หลายระดับ แผ่นดินไหว ( Earthquake ) มาตราริกเตอร์พัฒนาขึ้นโดย มาตราการวัดแผ่นดินไหว 1. มาตราริกเตอร์ (Richter Magnitude Scale) เป็น การวัดขนาดแผ่นดินไหวที่วดั จากความสูงของคลื่นซึ่ง วัดจากศูนย์กลางโดยใช้เครื่องมือ ซีสโมกราฟ Charles Francis Richer Beno Gutenbreg คิดค้นโดย ปรับปรุงโดย 2. มาตราเมอร์คัลลี่ที่ปรับปรุงแล้ว (Modified Mercalli Intensity Scale) ใช้วัดความรุนแรงที่เกิดขึ้นโดย จัดลำดับความรุนแรงตามเลขโรมันจาก I-XII ปรับปรุงโดย Frank Neumann Giuseppe Mercalli Harry O. Wood แผ่นดินไหว ( Earthquake ) เปรียบเทียบมาตราริกเตอร์กับมาตราเมอร์คัลลี่ที่ปรับปรุงแล้ว ขนาดมาตราริกเตอร์ (0-10) ความรุนแรงมาตราเมอร์คัลลี่ที่ปรับปรุงแล้ว (0-12) ผลกระทบ ขนาดน้อยกว่า 3.0 ความรุนแรงระดับ I-II วัดได้เฉพาะเครื่องมือ 3.0-3.9 ความรุนแรงระดับ III คนอยู่ในบ้านรู้สึก 4.0-4.9 ความรุนแรงระดับ IV-V คนส่วนใหญ่รู้สึกได้ 5.0-5.9 ความรุนแรงระดับ VI-VII คนรู้สึกได้/อาคารพัง 6.0-6.9 ความรุนแรงระดับ VII-VIII คนตกใจ/อาคารพัง 7.0-7.9 ความรุนแรงระดับ IX-X อาคารเสียหายมาก 8.0 ขึ้นไป ความรุนแรงระดับ XI-XII อาคารเสียหายทั้งหมด แผ่นดินไหว ( Earthquake ) ความเชื่อเกี่ยวกับแผ่นดินไหว ปลาดุกยักษ์ ปลาอานนท์ เทพเจ้าโพไซดอน เทพเจ้าไดเมียวจินบังคับให้แบกหิน อยู่ใต้พื้นดิน และทุกครั้งที่มีการพลิก เทพแห่งท้องทะเลเป็น เอาไว้นิ่งๆ แต่เมื่อเทพเจ้าเผลอ ตัวหรือขยับเขยื้อนของปลาอานนท์ ผู้ก่อให้เกิดแผ่นดินไหวจาก ปลาดุกยักษ์ก็จะแอบขยับตัว ก็จะทำให้แผ่นดินเกิดการสั่นไหว การกระทืบเท้า เมื่อทรงพิโรธ ทำให้เกิดแผ่นดินไหวขึ้น แผ่นดินไหว ( Earthquake ) ชาวประมงที่ไต้หวันจับปลาหวงไต้อี๋ว/์ ปลาออร์ฟิช เป็นปลาที่อาศัยในน้าลึกใต้มหาสมุทร เมื่อ เกิดแผ่นดินไหวหรือเกิดความเคลื่อนไหวผิดปกติทางธรณี ปลาชนิดนี้จะตกใจและว่ายลี้ภัยมายัง บริเวณน้าตื้น ชาวประมงท้องถิ่นจึงเรียกปลาหวงไต้อี๋ว์ /ปลาออร์ฟิช ว่า ปลาแผ่นดินไหว แผ่นดินไหว ( Earthquake ) เขตความรุนแรงน้อยกว่า III วัดความสั่นสะเทือนด้วยเครื่อง พบบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก เขตความรุนแรง III-IV คนรู้สึกได้ เสี่ยงน้อย พบบริเวณ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ภาคตะวันออกและ ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ตั้งแต่จังหวัดนครศรีธรรมราชลงไป เขตที่มีความรุนแรง V-VII สิ่งของตกหล่น ตึกร้าวสิ่งก่อสร้าง เสียหาย พบบริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้ฝั่งอันดามัน เขตที่มีความรุนแรง VII-VIII บ้านสั่นสะเทือน หรืออาจ พังได้ พบบริเวณ ภาคเหนือ และภาคตะวันตก แผนที่แนวรอยเลื่อนที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย 1. รอยเลื่อนแม่จัน (เชียงใหม่/เชียงราย) 7. รอยเลื่อนพะเยา 2. รอยเลื่อนแม่อิง (ลำปาง/พะเยา/เชียงราย) (เชียงราย) 5. รอยเลื่อนแม่ทา 8. รอยเลื่อนปัว (น่าน) (เชียงใหม่/ลำพูน/เชียงราย) 9.รอยเลื่อนอุตรดิตถ์ 3. รอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน (อุตรดิตถ์) (แม่ฮ่องสอน/ตาก) 10. รอยเลื่อนเพชรบูรณ์ 4. รอยเลื่อนเมย (เพชรบูรณ์) (ตาก/กำแพงเพชร) 6. รอยเลื่อนเถิน (ลำปาง/แพร่) แผนที่แนวรอยเลื่อนที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย 11. รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ (อุทัยธานี/กาญจนบุร/ี ตาก/สุพรรณบุร)ี 12. รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ (กาญจนบุร)ี แผนที่แนวรอยเลื่อนที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย 13. รอยเลื่อนระนอง (ระนอง/ประจวบฯ/ชุมพร/พังงา) 14. รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย (สุราษฎร์ฯ/พังงา/กระบี่/ภูเก็ต) แผ่นดินไหวที่รุนแรงที่สุด 3. อินโดนีเซีย (Indonesia) 1. ชิลีตอนใต้ (Southern Chile) 2. อะแลสกา (Alaska) ความรุนแรง 9.0 ริกเตอร์ ความรุนแรง 9.5 ริกเตอร์ ความรุนแรง 9.2 ริกเตอร์ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ.2004 เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ.1960 เมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ.1964 Great_Alaska_Earthquake_Fourth_Ave_Anchorage 3. ญี่ปุ่น (Japan) ความรุนแรง 9.0 ริกเตอร์ เมื่อวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 2011 ภูเขาไฟปะทุ เกิดจากหินหนืดที่อยู่ในชั้นเนื้อโลกหรือชั้นแมนเทิล เรียกว่า แมกมา มีแรงดันและอุณหภูมิสูงแทรกออกมาตามรอยแตกของชั้นหินและขึ้นสูผ ่ ิวโลก ด้วยวิธีปะทุ ไหลหรือพ่นออกมาทางปากปล่องภูเขาไฟ สาเหตุการเกิดภูเขาไฟประทุ เกิดจากการปะทุของแมกมา แก๊ส และเถ้าถ่านใต้เปลือกโลกที่มีแรงดันและ อุณหภูมิสูงแล้วแทรกตัวออกมาตามรอยแตกของชั้นหินขึ้นสู่ผิวโลก ทำให้เกิดแผ่นดินไหวในบริเวณรอบๆภูเขาไฟ สิ่งที่พ่นออกมาจากการปะทุของภูเขาไฟ ได้แก่ หินหนืด เศษหิน ไอน้า ฝุ่นละออง และก๊าซต่างๆ หินหนืดส่วนที่พ่นออกมาจากเปลือกโลก เรียกว่า ลาวา (Lava) ประเภทของภูเขาไฟ (แบ่งตามลักษณะการเกิด) 1. ภูเขาไฟแบบกรวยกรวดภูเขาไฟ 2. ภูเขาไฟแบบกรวยสลับชั้น 3. ภูเขาไฟรูปโล่ ประเภทของภูเขาไฟ (แบ่งตามลักษณะความรุนแรงของการปะทุ) 1. ภูเขาไฟมีพลัง 2. ภูเขาไฟสงบ 3. ภูเขาไฟดับสนิท ภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่นอยู่ตลอดเวลา ภูเขาไฟที่ปะทุแล้วและสงบอยู่ เมื่อมีพลัง ภูเขาไฟที่ไม่มีการปะทุอีกต่อไป อาจปะทุขึ้นมาเมื่อไรก็ได้ ขึ้นใหม่มากพอก็อาจปะทุขึ้นมาอีกได้ ประเภทของภูเขาไฟ (แบ่งตามลักษณะการปะทุ) 1. พลิเนียน 3. วัลเคเนียน 2. สตรอมโบลี 4. ฮาวาย ลักษณะการปะทุของภูเขาไฟ 0184 ตัวอย่างภูเขาไฟในประเทศไทย ภูเขาไฟในประเทศไทย เป็นแบบ........................ ภูเขาไฟกระโดง (บุรีรัมย์) ภูเขาไฟดอยหินและผาคอกหินฟู (ลำปาง) ภูเขาไฟเขาน้อย เขาสูง (เพชรบูรณ์) เหตุผลที่ทำให้ประเทศอินโดนีเซียมักเกิดวิกฤติภูเขาปะทุ เพราะในอดีตพื้นที่ระหว่างเกาะชวากับเกาะสุมาตราของอินโดนีเซียเป็นทะเล ต่อมา เปลือกโลกบริเวณนี้ได้แยกตัวออกส่งผลให้แมกมาและธาตุภูเขาไฟจำนวนมากถูกพ่น ออกมา แล้วเย็นลงจับตัวกันเป็นภูเขาใต้น้าและโผล่พ้นน้ากลายเป็นเกาะที่ไม่แข็งแรง ภูเขาไฟปะทุที่รุนแรงที่สุด ภูเขาไฟแทมโบร่า อินโดนีเซีย ภูเขาไฟกรากะตัว อินโดนีเซีย ระเบิดรุนแรงอันดับ 1 ในประวัติศาสตร์โลก ระเบิดรุนแรงอันดับ 2 ในประวัติศาสตร์โลก วันที่ 10 เมษายน พ.ศ.2358 (ค.ศ.1815) แต่ระเบิดดังที่สุดในโลก ภูเขาไฟวิสุเวียส อิตาลี อยู่ในเขตเมดิเตอร์เรเนียน วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 622 (ค.ศ. 79) เมืองจมหายไปภายใต้ขี้เถาที่ตกลงมาทับถมสูง 10 เมตร ภายใน 2 วัน สึนามิ (Tsunami) เป็นคำภาษาญี่ปุ่น แปลว่า คลื่นอ่าวจอดเรือ สึ แปลว่า ท่าเรือ นามิ แปลว่า คลื่นสึนามิ หมายถึง คลื่นทะเลขนาดใหญ่ ที่เคลื่อนตัวเข้าสู่ชายฝัง่ อย่างรวดเร็วและมีพลังมาก สาเหตุที่ทำให้เกิดสึนามิ 1. แผ่นดินไหวรุนแรง/แผ่นดินถล่มใต้ท้องทะเล 2. การปะทุของภูเขาไฟบนเกาะหรือใต้ทะเล 3. การพุ่งชนของอุกกาบาตขนาดใหญ่ลงในมหาสมุทร 4. การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ทะเล ขั้นตอนการเกิดคลื่นสึนามิ หอเตือนภัยสึนามิ ปล่อยคลื่นเสียงเป็น สัญญาณเตือนภัย เมื่อเกิดแผ่นดินไหว ทุ่นเตือนภัยสึนามิ ตรวจจับความแรงน้า และการสั่นสะเทือน เมื่อเกิดแผ่นดินไหว วันที่ 26 ธ.ค. 2547 บริเวณทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย เกิดสึนามิรุนแรง ตอนเหนือของเกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย วัดความรุนแรง 9 ริกเตอร์/แมกนิจดู ผู้เสียชีวิตประมาณ 200,000 คน ในประเทศไทย มีผู้เสียชีวิตประมาณ 5,400 คน 6 จังหวัดภาคใต้ที่อยู่ติดทะเล อันดามันได้รับผลกระทบ ได้แก่ จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล อุทกภัย (Flood) อุทกภัย (Flood) คือ ภัยที่เกิดจากน้าท่วม เนื่องจากฝนตกหนักและ ต่อเนื่องยาวนาน สาเหตุจากพายุ/มรสุมหรือน้าแข็งละลาย ทำให้พื้นที่ที่ราบลุ่มระบายน้าไม่ทัน อุทกภัย (Flood) อุทกภัย มี 4 ประเภท ได้แก่ 1. น้าป่าไหลหลาก 2. น้าท่วมขัง 3. น้าล้นตลิ่ง 4. คลื่นซัดฝั่ง และน้าท่วมฉับพลัน เกิดบริเวณ น้าในแม่น้ามากจน เกิดจากลมพายุพัด เกิดบริเวณเชิงเขา ที่ราบลุ่มแม่น้า/ ล้นตลิ่งทั้ง 2 ฝั่ง แรง จนเกิดคลื่นลูก ฝนตกหนัก ดินไม่ ที่ราบน้าท่วมถึง ก่อให้เกิดน้าท่วม ใหญ่ซัดเข้าสู่ชายฝั่ง สามารถรับน้าได้จึง บ้านเรือนและไร่นา ทำให้เกิดน้าท่วม ไหลสู่พื้นราบอย่าง เสียหาย พื้นที่ชุมชน รวดเร็ว ชายฝั่งทะเล อุทกภัย (Flood) ลักษณะภูมิประเทศที่เสี่ยงเกิดอุทกภัย 1. บริเวณที่ราบเนินเขา 2. พื้นที่ราบลุ่ม 3. บริเวณปากแม่น้า ลักษณะการเกิด ริมแม่น้าและชายฝั่ง อุทกภัย เรียกว่า น้าป่า อุทกภัย (Flood) สาเหตุการเกิดอุทกภัย 1. การตัดไม้ทำลาย 2. พื้นที่รองรับเป็นที่ 3. น้าทะเล 4. สร้างสิ่งกีด ป่า/ฝนตกหนัก ราบลุ่มและตื้นเขินหรือ หนุนสูง ขวางทางน้า (ระบาย ต่อเนื่องเวลานาน มีไม่เพียงพอ น้าไม่ทัน, อุดตัน) อุทกภัย (Flood) อุทกภัย (Flood) เหตุการณ์น้าท่วมในประเทศไทย : หาดใหญ่ พ.ศ.2553 x74708023 photo_90 แผ่นดินถล่ม/ดินถล่ม เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติโดยการกระทำของฝน เกิดจากกระบวนการเคลื่อนที่ด้วยแรงโน้มถ่วงของโลก มวลดินและหินจากภูเขา หรือที่สูงตามลาดเขามักเกิดร่วมกับน้าป่าไหลหลาก สาเหตุการเกิดแผ่นดินถล่ม สาเหตุจากธรรมชาติ สาเหตุจากการกระทำของมนุษย์ 1. การเคลื่อนที่ของมวลดินและหิน 1. การลักลอบตัดไม้ทำลายป่า 2. การเกิดฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง 2. การเผาป่าทำการเกษตรกรรม 3. การกัดเซาะชายฝั่ง 3. การขุดดินบริเวณไหล่เขาสร้างถนน 4. แผ่นดินไหว/ภูเขาไฟระเบิด/สึนามิ 4. การขุดเหมืองแร่/สร้างอ่างเก็บน้า ประเภทของแผ่นดินถล่ม 1. การร่วงหล่น (Falls) เป็นการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วลงมาตามลาดเขาหรือหน้าผา สูงชัน โดยแรงโน้มถ่วงของโลก มีน้าเข้ามาเกี่ยวข้องน้อยหรือไม่มีเลย 2. การล้มคว่า (Topples) เป็นการเคลื่อนที่โดยมีการหมุนหรือล้มคว่าลงมาตามลาดเขา เกิดเชิงหน้าผาดินหรือหินที่มีรอยแตกรอยแยกมาก มีน้าเข้ามาเกี่ยวข้องน้อยหรือไม่มีเลย 3. การลื่นไถล (Slides) เป็นการเคลื่อนที่ที่มนี ้าเข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ 3.1 การลื่นไถลแบบหมุน (Rotational slide) การลื่นไถลของวัตถุลงมาตามระนาบ มีลักษณะโค้งครึ่งวงกลมคล้ายช้อน ทำให้มีการหมุนตัวของวัตถุ เคลื่อนที่อย่างช้าๆ มัก เกิดในบริเวณดินที่มีความเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น บริเวณที่ชั้นดินหนามาก หรือดินที่นำมาถม 3.2 การลื่นไถลแบบแปร (Translational slide)เป็นการลื่นไถลลงมาตามระนาบ การเคลื่อนมีลักษณะค่อนข้างตรง ส่วนใหญ่เป็นการเคลื่อนที่ตามระนาบของโครงสร้าง ทางธรณีวิทยา เช่น ตามระนาบรอยแตก (joint) ระนาบทิศทางการวางตัวของชั้นหิน (bed) รอยต่อระหว่างชั้นดินและหิน 4. การแผ่ออกทางด้านข้าง (Lateral spread) เกิดพื้นที่ราบหรือพื้นที่มีความลาดชัน น้อย เกิดจากชั้นดินที่อุ้มน้าถูกทับด้วยน้าหนักที่มากทำให้ไหลออกด้านข้าง ชั้นดินหรือชั้นหินที่อยู่ด้านบนจึงแตกออกและยุบตัว 5. การไหล (Flows) เป็นการเกิดดินถล่มที่มีน้าเข้ามาเกี่ยวข้องมากที่สุด น้าทำให้ตะกอนมีลักษณะเป็นของเหลวและเคลื่อนที่ไปบนพื้นระนาบลาดเขา ไหลลงไปทับถมที่ลาดเขาหรือเชิงเขา น้าป่าไหลหลากและดินโคลนถล่มอย่างรุนแรง วันที่ 22 พ.ย. 2531 อ่างเก็บน้าคลองกะทูน ต.กระทูน อ.พิปูน จ.นครศรีธรรมราช การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) การกัดเซาะชายฝั่ง เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่ชายฝั่งทะเลถูกกัดเซาะ เกิดจากการกระทำของคลื่นและลมในทะเล การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) ปัจจัย/สาเหตุที่ทำให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่ง 1. ธรณีพิบัติที่เกิดบริเวณชายฝั่ง เช่น ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว 2. การเปลี่ยนแปลงของอากาศ อุณหภูมิสูงขึ้น อากาศร้อนลมและคลื่นรุนแรง 3. ระดับน้าทะเลสูงขึ้น อุณหภูมิสูงขึ้น ทำให้น้าแข็งขั้วโลกละลาย 4. โครงสร้างทางธรณีวิทยาของท้องทะเล มีการเคลื่อนที่ตามแผ่นเปลือกโลก 5. การกระทำของมนุษย์ เช่น ถมทะเลและสร้างสิ่งก่อสร้างขวางทางคลื่น แผนที่แสดงพื้นที่ถูกกัดเซาะชายฝั่งในประเทศไทย แหลมตาชี จ.ปัตตานี ชายฝั่งแหลมตะลุมพุก จ.นครศรี ฯ ชายฝั่งถูกกัดเซาะ ขุนสมุทรจีน สมุทรปราการ การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) แนวทางการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งโดย : วิธีการทางธรรมชาติ ป่าชายเลน หญ้าทะเล ปะการัง การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) แนวทางการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งโดย : วิธีทางวิศวกรรม 1. กำแพงกันคลื่น (Seawall) สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กตอกเสาเข็มแนวยาว จัดเรียงด้วยหิน ทิ้งแท่งคอนกรีตหรือตาข่ายห่อหุ้มหิน กำแพงกันคลื่นแบบกำแพงพืด การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) 2. เขื่อนกันคลื่น (Breakwater) ใช้ก้อนหินกองขึ้นเป็นฐานและชั้นแกนก่อกองขึ้น (ยับยั้งความเร็วคลืน่ ) การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) 3. ไส้กรอกทราย (Sand Sausage) โครงสร้างที่ใช้แผ่นใยสังเคราะห์บรรจุทราย (ลดความรุนแรงคลื่น ) การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) 4. รอดักทราย (Groin) โครงสร้างยื่นตั้งฉากออกไปจากชายฝั่ง เพื่อให้ตะกอนทราย สะสมตัวระหว่างโครงสร้างของรอแต่ละแนว รอดักทรายรูปตัววาย รอดักทรายรูปตัวที การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) 5. การสร้างหาดทราย (Beach Nourishment) การดูดทรายหรือนำทรายมาถมชายหาด 6. การสร้างเนินทราย (Dune Nourishment) การนำทรายมาถมให้สูงและนำพืชมาปลูกเสริม การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) 7. การสร้างแนวปะการังเทียม เครื่องมือในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้า พิพิธภัณฑ์ประติมากรรมใต้ทะเล ปะการังเทียมที่เม็กซิโก ผลงานของเจสัน เด แครส์ เทย์ เลอร์ ชาวอังกฤษ สามารถนำรูปปั้นลงไปถึงใต้ทะเลได้แล้ว 400 ชิ้น พื้นที่ 150 ตารางเมตร การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal Erosion) ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง หาดชลาทัศน์ แหลมสมิหลา จ.สงขลา วาตภัย (Storms) วาตภัย (Storms) ภัยธรรมชาติที่มีลมพายุขนาดใหญ่ก่อตัวขึ้นบริเวณศูนย์กลางความ กดอากาศต่าและเมื่อมีกำลังแรงจะเกิดลมพัดเวียนเข้าศูนย์กลางด้วยความเร็วสูงมาก วาตภัย (Storms) พายุ (Storms) พายุ แบ่งงได้ (Storms) แบ่ ได้ 33 ประเภทใหญ่ ประเภทใหญ่ๆๆ ได้ ได้แแก่ก่ 1. พายุฝนฟ้าคะนอง 2. พายุหมุนเขตร้อน 3.พายุทอร์นาโด เกิดในฤดูร้อน เวลาสั้น พายุหมุนขนาดใหญ่ก่อตัว เกิดในอเมริกา มีขนาดเนื้อที่ บริเวณแคบ ฝนตกหนัก ในทะเล เช่น เล็ก/เส้นผ่าศูนย์กลางน้อย ลูกเห็บตก - พายุดีเปรสชั่น แต่หมุนด้วยความเร็วสูง - พายุโซนร้อน - พายุไต้ฝุ่น วาตภัย (Storms) 1. พายุฝนฟ้าคะนอง เกิดจากเมฆที่ก่อตัวขึ้นในแนวดิ่งขนาดใหญ่ ทำให้เกิดสภาพ อากาศรุนแรง เช่น ลมกระโชก ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า ฝนตกหนัก ลูกเห็บตก ขั้นตอนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง วาตภัย (Storms) ขั้นตอนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง วาตภัย (Storms) วาตภัย (Storms) 2. พายุหมุนเขตร้อน เกิดการก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศตา่ กำลังแรงซึ่งอยู่ เหนือผิวน้าทะเลในบริเวณเขตร้อนเกิดขึ้นพร้อมกับลมที่พัดรุนแรงมาก ลมพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลาง เกิดในเขตละติจูดต่า : เขตร้อน (เส้นศูนย์สูตร) พายุหมุนนอกเขตร้อน เกิดในเขตละติจูดกลาง และเขตละติจูดสูง วาตภัย (Storms) ศูนย์กลางการเกิดพายุหมุน ศูนย์กลางการเกิดพายุหมุน ที่เกิดในซีกโลกเหนือ ที่เกิดในซีกโลกใต้ กระแสลมจะพัดทวนเข็มนาฬิกา กระแสลมจะพัดตามเข็มนาฬิกา วาตภัย (Storms) พายุหมุนเขตร้อน เมื่ออากาศเหนือพื้นน้าไม่เสถียร จะเกิดการลอยตัวสูงขึ้น พัฒนา เป็นหย่อมความกดอากาศต่า รวมกับแรงที่เกิดจากการ หมุนรอบตัวเองของโลก ทำให้ เกิดลมเฉือนในแนวดิ่งก่อตัวเป็น พายุหมุนเขตร้อน วาตภัย (Storms) บริเวณศูนย์กลางของพายุหมุน เป็นบริเวณที่มีความกดอากาศตา่ ที่สุดมีลักษณะ วงกลมหรือวงรีเรียกว่า ตาพายุ (Strom eye) ตาพายุ (Strom eye) มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 15-60 กม. เป็นเขตลมสงบท้องฟ้า โปร่งไม่มีฝน แต่บริเวณรอบๆ ตาพายุมีลมพัดแรงมาก ฝนตกหนักและพายุรนุ แรง วาตภัย (Storms) พายุหมุนเขตร้อนมีชื่อเรียกต่างกันไปตามแหล่งกำเนิด เช่น มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ทะเลแคริบเบียนและอ่าวเม็กซิโก : เฮอร์ริเคน มหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลจีนใต้ : ไต้ฝุ่น มหาสมุทรอินเดีย อ่าวเบงกอล ทะเลอาหรับ : ไซโคลน พายุไซโคลนที่เกิดในออสเตรเลียเรียกว่า : วิลลี่-วิลลี่ วาตภัย (Storms) วาตภัย (Storms) การแบ่งเกณฑ์ความรุนแรงของพายุตามข้อตกลงระหว่างประเทศ โดยใช้ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุเป็นเกณฑ์ ชนิด/ระดับความรุนแรง ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางการเกิดพายุ พายุดีเปรสชั่น (กำลัง ไม่เกิน 61 กิโลเมตร/ชั่วโมง อ่อน) พายุโซนร้อน (กำลังปาน 62-118 กิโลเมตร/ชั่วโมง กลาง) พายุไต้ฝุ่น (กำลังแรงมาก 118 กิโลเมตร/ชั่วโมง ขึ้นไป ที่สุด) วาตภัย (Storms) 3. ลมงวงหรือพายุทอร์นาโด (Tornado) พายุหมุนรุนแรงขนาดเล็กเส้นผ่าศูนย์กลาง น้อย แต่หมุนด้วยความเร็วสูง หมุนบิดเป็นเกลียวเป็นลำเหมือนงวงช้าง เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 300 เมตร เกิดที่อเมริกา ในช่วงฤดูใบไม้ผลิ และฤดูร้อน ถ้าเกิดเหนือพื้นน้าและไม่มีความรุนแรงมาก เรียกว่า นาคเล่นน้า ทอร์นาโดหรือลมงวง นาคเล่นน้า วาตภัย (Storms) วาตภัย (Storms) ระดับความรุนแรงของเทอร์นาโด วาตภัย (Storms) วาตภัย (Storms) พายุหมุนเขตร้อนในประเทศไทย 1. พายุไต้ฝุ่น - เคลื่อนที่ทางตะวันออก - แหล่งกำเนิดที่ทะเลจีนใต้ - เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน - ฝนตกหนักที่สุดเดือนตุลาคม 2. พายุไซโคลน - เคลื่อนที่ทางตะวันตก - แหล่งกำเนิดอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน - เกิดเฉพาะเดือนพฤษภาคม วาตภัย (Storms) ลมพายุที่พัดในประเทศไทย 1. ลมประจำฤดูกาล 1. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (กลางเดือนพฤษภาคม-กลางตุลาคม) - แหล่งกำเนิดบริเวณซีกโลกใต้แถบมหาสมุทรอินเดีย - ทำให้มีฝนตกชุกทั่วไป เพราะมวลอากาศชื้นจากม.อินเดีย 2. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (กลางเดือนตุลาคม-กลางกุมภาพันธ์) - เกิดบริเวณซีกโลกเหนือแถบประเทศมองโกเลียและจีน - ทำให้ท้องฟ้าโปร่ง อากาศหนาวแห้งแล้งในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน ยกเว้น ภาคใต้จะมีฝนตกชุก เพราะมวลอากาศเย็นและแห้ง วาตภัย (Storms) 2. ลมประจำถิ่น 1. ลมว่าว/ลมข้าวเบา 2. ลมตะเภา 3. ลมพัทธยา พัดจากตอนบน พัดจากทะเลอ่าวไทย พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ ลงมาตามแม่น้าเจ้าพระยา ขึ้นไปสู่ลุ่มน้าเจ้าพระยา ไปยังตะวันออกเฉียงเหนือ ปลายเดือนตุลาคม เดือนมีนาคม-เมษายน ต้นพฤษภาคม (พัดความเย็นเข้ามา) (พัดไม่แรง คลายร้อน) (ลมร้อนแต่ชุ่มชื้น) วาตภัย (Storms) 3. ลมประจำเวลา 1. ลมบก เกิดเวลากลางคืน อากาศ 2. ลมทะเล เกิดเวลากลางวัน อากาศ บนพื้นดินเย็นกว่าอากาศพื้นน้า พื้นดินร้อนกว่าอากาศพื้นน้า อากาศ อากาศเคลื่อนที่จากฝั่งออกสู่ทะเล เคลื่อนที่จากพื้นน้าเข้าสู่ฝั่ง วาตภัย (Storms) 4. ลมพายุฤดูร้อน ลมพายุฤดูร้อน เกิดระหว่างเดือนมีนาคม-เมษายน เกิดบ่อยในภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วงที่อากาศร้อนอบอ้าวติดต่อกันหลายวัน แล้วมีกระแสอากาศ เย็นจากประเทศจีนพัดมาปะทะทำให้เกิดฝนฟ้าคะนอง มีพายุลมแรง และลูกเห็บตก วาตภัย (Storms) สถานการณ์การเกิดวาตภัย พายุไต้ฝุ่นเกย์ จ.ชุมพร 2532 พายุโซนร้อนแฮเรียต พัดแหลมตะลุมพุก จ.นครศรีธรรมราช เมื่อ 25 ต.ค. 2505 วาตภัย (Storms) ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (Haiyan) พายุรุนแรงที่สุดในโลก ค.ศ. 2013 พัดถล่มภาคกลาง ของฟิลิปปินส์ วันที่ 8 พ.ย. 2556 ความเร็ว 315 ก.ม./ชม. ไฟป่า (Wild Fire) ภัยธรรมชาติที่เกิดจากไฟไหม้ป่าโดยปราศจาก การควบคุม ทำให้ไฟลุกลามจนสร้างความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน องค์ประกอบของไฟ (สามเหลี่ยมไฟ) ไฟเกิดจากขบวนการทางเคมี มีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ 1. เชื้อเพลิง อินทรีย์สารทุกชนิดที่ติดไฟได้ เช่น ต้นไม้ และอื่น ๆ 2. ความร้อน มาจาก 2 แหล่ง คือ - แหล่งความร้อนตามธรรมชาติ เช่น ฟ้าผ่า การเสียดสีของกิ่งไม้ - แหล่งความร้อนจากการกระทำของมนุษย์ เช่น การจุดไฟในป่า 3. ออกซิเจน ก๊าซที่มีโดยทั่วไปในป่า มีการแปรผันตามทิศทางของลม สาเหตุที่ทำให้เกิดไฟป่า สาเหตุที่เกิดจากธรรมชาติ สาเหตุที่จากการกระทำของมนุษย์ - ฟ้าผ่า เกิดไฟป่าในเขตอบอุ่น - เก็บหาของป่า จุดไฟไล่ผึ้ง - กิ่งไม้เสียดสีกัน อากาศแห้งจัด - เผาไร่ กำจัดวัชพืช - แสงแดดตกกระทบผลึกหิน - ความประมาท ทิ้งก้นบุหรี่ - การล่าสัตว์ จุดไฟให้สัตว์ออกมา ชนิดของไฟป่า 1. ไฟใต้ดิน 2. ไฟผิวดิน 3. ไฟเรือนยอด การไหม้ลงไปใต้ผิวป่าทีม่ ี พบมากที่สุด เกิดการเผา เกิดการลุกลามจากยอด เศษเชื้อเพลิงบนพื้นหนา ไหม้จากพื้นดินในช่วง ของต้นไม้ เกิดในป่าสน ไฟจะลามไปเรื่อยๆ อย่าง แล้ง สาเหตุจากกิ่งไม้แห้ง เขตอบอุ่น อาจเกิดจาก ช้าๆ สังเกตได้ยาก เสียดสีหรือการเผาป่า ฟ้าผ่า ดับได้ยาก พบในเขตอบอุ่น ควบคุมได้ไม่ยาก ต้องใช้เครื่องกลช่วย 1. หัวไฟ คือ ส่วนที่ลกุ ลาม ส่วนต่างๆของไฟ 5. ขอบไฟ คือ ขอบเขต ตามทิศทางลม หรือตาม ของไฟป่านั้นๆ ความลาดชันของภูเขา อันตรายมากที่สุด 6. ง่ามไฟ คือ ส่วนของ ขอบไฟที่อยู่ระหว่างนิ้วไฟ 2. หางไฟ คือ ส่วนของไฟ ที่ไหม้ในทิศทางตรงกันข้าม 7. ลูกไฟ คือ ส่วนของไฟ กับหัวไฟ ที่ไหม้นำหน้าตัวไฟหลัก 3. ปีกไฟ คือ ส่วนที่ไหม้ตั้งฉาก 4. นิ้วไฟ คือ ส่วนของไฟ หรือขนานไปกับทิศทาง ที่เป็นแนวยาวแคบๆ ยื่น หลักของหัวไฟ ออกไปจากตัวไฟ การปฏิบัติงานควบคุมไฟป่า แบ่งได้ 2 กิจกรรมหลัก คือ 1. การป้องกันไฟป่า รณรงค์ป้องกันไฟป่าให้ประชาชนเลิกจุดไฟเผาป่า 2. การจัดการเชื้อเพลิง การทำแนวกันไฟ /กำจัดเชื้อเพลิงในพื้นที่เสี่ยง ทำหน้าที่ ในการดับไฟป่าและ ควบคุมไฟป่าไม่ให้ลุกลาม สถานการณ์ไฟป่า ไฟไหม้ป่าอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ พ.ศ. 2567 ภัยแล้ง ภัยแล้ง คือ ลักษณะภูมิอากาศที่มีน้าฝนน้อยกว่าปกติ หรือฝนไม่ตกตามฤดูกาล และไม่ครอบคลุมพื้นที่ในบริเวณกว้าง ภัยแล้ง สาเหตุการเกิดภัยแล้ง มี 2 ลักษณะ คือ สาเหตุตามธรรมชาติ 1. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก ที่มีภาวะฤดูร้อนสูงกว่าปกติ 2. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พายุหมุนที่เคลื่อนผ่านน้อยกว่าปกติ 3. ปรากฏการณ์เอลนีโญ สาเหตุจากการกระทำของมนุษย์ 1. การตัดไม้ทำลายป่า 2. การทำลายบรรยากาศชั้นโอโซน 3. ผลกระทบจากภาวะเรือนกระจก ภัยแล้ง ภาวะโลกร้อน (Global Warming) ปรากฏการณ์ที่โลกมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าปกติ ซึ่งส่งผลให้ภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของระดับน้าทะเลและปริมาณน้าฝน ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวต ิ บนโลก ภาวะโลกร้อน (Global Warming) สาเหตุที่ทำให้โลกร้อนขึ้น การปล่อยก๊าซพิษต่างๆจากโรงงานอุตสาหกรรม ทำให้ชั้นโอโซนถูกทำลาย แสงอาทิตย์ส่องทะลุผ่านชั้นบรรยากาศมาสู่พื้นโลกได้มากขึ้น ภาวะโลกร้อน (Global Warming) ปรากฏการณ์เรือนกระจก ปรากฏการณ์ที่แสงอาทิตย์ผ่านลงมาแล้วไม่สามารถ สะท้อนกลับ เพราะก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซอื่นๆ ที่พอกพูนอยู่ในบรรยากาศ ระดับต่าจะกักความร้อนเอาไว้ไม่ให้สะท้อนออกไป ภาวะโลกร้อน (Global Warming) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เอลนีโญ : เด็กชาย ลานีญา : เด็กหญิง ภาวะโลกร้อน (Global Warming) เอลนีโญ สภาวะปกติ เอลนีโญ ภาวะโลกร้อน (Global Warming) เอลนีโญ สภาวะปกติ : ผิวน้ามหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันออกจะ อุณหภูมิต่ากว่าฝั่งตะวันตก จึงเกิดลมพัดพากระแสน้าอุ่น จากฝั่งตะวันออกสู่ฝั่งตะวันตก เรียกว่า ลมค้า ส่งผลให้ อินโดนีเซีย/ออสเตรเลียฝนตกปกติ ส่วน อเมริกาใต้ อากาศหนาวเย็นปกติ เอลนีโญ : ลมค้าอ่อนกำลังลงอย่างฉับพลัน กระแสน้าอุ่นฝั่ง ตะวันตกจึงไหลย้อนมาทางตะวันออก ส่งผลให้ อินโดนีเซีย/ออสเตรเลียแห้งแล้ง ไฟไหม้ป่ารุนแรง ส่วน อเมริกาใต้ ฝนตกหนัก/ปลาลดน้อยลงกว่าปกติ ภาวะโลกร้อน (Global Warming) เอลนีโญเป็นปรากฏการณ์ที่ทำให้สภาพอากาศแปรปรวน บริเวณที่เคยฝนตกชุกจะกลับแห้งแล้ง บริเวณที่ แห้งแล้งกลับฝนตกชุกกว่าปกติ ซึ่งเอลนีโญอาจทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ หากอุณหภูมิของโลกสูงขึ้น เอลนีโญส่งผลให้ธรรมชาติใต้ท้องทะเลอันดามันเปลี่ยนแปลง น้าทะเลเป็นน้าเย็นมีตะกอนขุ่น น้าเย็นมา จากน้าที่อยู่ในทะเลลึกเคลื่อนที่เข้าสู่พื้นที่ใกล้ฝั่ง นักท่องเที่ยวย้ายจุดดำน้าลึกจากอันดามันใต้ไปเหนือ ภาวะโลกร้อน (Global Warming) ลานีญา สภาวะปกติ ลานีญา ภาวะโลกร้อน (Global Warming) ลานีญา สภาวะปกติ : ผิวน้ามหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันออกจะ อุณหภูมิต่ากว่าฝั่งตะวันตก จึงเกิดลมพัดพากระแสน้าอุ่นจาก ฝั่งตะวันออกสู่ฝั่งตะวันตก เรียกว่า ลมค้า ส่งผลให้ อินโดนีเซีย/ออสเตรเลียฝนตกปกติ ส่วน อเมริกาใต้ อากาศหนาวเย็นปกติ ลานีญา : ลมค้ากำลังแรงขึ้นกว่าปกติ กระแสน้าอุ่นไหล ย้อนกลับ น้าทะเลที่มีความเย็นอยู่ด้านล่างไหลมาแทนที่ชายฝั่ง ตะวันออก ส่งผลให้ อินโดนีเซีย/ฟิลิปปินส์/ออสเตรเลีย ฝนตกหนัก น้าท่วม อุณหภูมิต่ากว่าปกติ ส่วน อเมริกาใต้ แห้งแล้ง หนาว มีปลาชุกชุม

Use Quizgecko on...
Browser
Browser