ฝ่าวิกฤตภัยพิบัติ PDF
Document Details
![AstoundedSweetPea8517](https://quizgecko.com/images/avatars/avatar-14.webp)
Uploaded by AstoundedSweetPea8517
มหาสารคาม
ผศ.ดร. ประชุมพร เลาห์ประเสริฐ
Tags
Summary
เอกสารนี้กล่าวถึงภัยพิบัติ ประเภทต่างๆ ของภัยพิบัติ และการจัดการเหตุการณ์ภัยพิบัติ มีเนื้อหาที่涵盖หลักการต่างๆ เกี่ยวกับภัยพิบัติและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการรับมือ.
Full Transcript
0042010 ฝ่าวิกฤตภัยพิบัติ (Disaster Survivor ) 0042010 บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภัยพิบัติ https://earthobservatory.nasa.gov/images/92573/typhoon-shanshan-approaches-japan ผศ.ดร. ประชุ...
0042010 ฝ่าวิกฤตภัยพิบัติ (Disaster Survivor ) 0042010 บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภัยพิบัติ https://earthobservatory.nasa.gov/images/92573/typhoon-shanshan-approaches-japan ผศ.ดร. ประชุมพร เลาห์ประเสริฐ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1.1 ความหมาย องค์การอนามัยโลก (WHO) หมายถึง เหตุการณ์ใดๆ ที่ก่อให้เกิดความเสียหาย การทาลาย สิ่งแวดล้อม การสูญเสียชีวิต หรือมีผลต่อการบริการสุขภาพในพื้นที่ ที่เกิด เหตุไม่สามารถดาเนินการได้ตามขีดความสามารถที่มี ต้องร้องขอการ บริการจากหน่วยบริการนอกพื้นที่เพื่อให้การช่วยเหลือ (Any occurrence that cause damage, ecological disruption, loss of human life or deterioration of health service on a scale to warrant an extraordinary response from outside the affected area) ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารระบบการเตือนภัย พิบัติแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (ให้ยกเลิกระเบียบฯเดิม พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2550) ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 11 (8) ภัยพิบัติ หมายความว่า อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ธรณีพิบัติภัย ตลอดจนภัยอื่น ๆ อันมีมาเป็นสาธารณะ ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติหรือมีผู้ทาให้ เกิดขึน ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกายของประชาชน หรือก่อให้เกิด ความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พ.ศ.2525) หมายถึง ภัยที่เกิดแก่คนหมู่มาก เช่น ไฟไหม้ นาท่วม “ภัยพิบัติ (Disaster)” ▪ ภัยที่เกิดแก่คนหมู่มาก ▪ เกิดขึนได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ ทังอย่างกะทันหันและค่อยๆเกิดขึน ▪ เกิดความเสียหายแก่ชีวิต ทรัพย์สิน ของประชาชนและรัฐ ▪ ผู้ประสบภัยเกิดความต้องการในสิ่งจาเป็นพืนฐานอย่างรีบด่วน 1.2 ประเภทของภัยพิบัติ แบ่งตามลักษณะการเกิดหรือสาเหตุ 1.2.1 ภัยพิบัติธรรมชาติ (Natural disaster) 1.2.2 ภัยพิบัติจากการกระทาของมนุษย์ (Man-made disaster) 1. ภัยพิบัติเชิงอุตุนิยมวิทยา (Meteorological disaster) ▪ วาตภัย/ storm surge ▪ อากาศหนาวผิดปกติ ▪ คลื่นความร้อน (heat waves) ▪ ภัยแล้ง (droughts) https://www.climatechangepost.com/news/2018/7/25/ev http://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/64517 en-if-we-reach-paris-agreement-targets-droughts-/ 2. ภัยพิบัติตามสภาพภูมิประเทศ (Topological disaster) ▪ อุทกภัย/ สึนามิ ▪ หิมะถล่ม https://www.bbc.com/thai/thailand-45096600 https://www.nbcnews.com/mach/science/what-tsunami-ncna943571 3. ภัยพิบัติทเี่ กิดจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก (Tectonic disaster) ▪ ดินถล่ม ▪ แผ่นดินไหว ▪ ภูเขาไฟระเบิด https://www.newscientist.com/article/mg22830412-800-earthquake- artificial-intelligence-knows-where-damage-is-worst/ https://www.britannica.com/science/landslide 4. ภัยพิบัติทางชีวภาพ (Biological disaster) ▪ การระบาดของโรค เช่น COVID-19 EBOLA SARS ▪ ภัยจากฝูงสัตว์และแมลง https://covid19.dms.go.th/ 1.2.2 ภัยพิบัติจากการกระทาของมนุษย์ (Man-made disaster) ▪ ภัยจากการจราจร ▪ ภัยจากการประกอบอาชีพ ▪ ภัยจากความไม่สงบของประเทศ ▪ ภัยจากไฟฟ้า อัคคีภัย ▪ ภัยจากวัตถุอันตราย ▪ ภัยจากความเจริญทางเทคโนโลยี https://www.dailynews.co.th/foreign/714586 Natural Man-made disaster disaster อัคคีภัย ไฟไหม้ป่า อุทกภัย การระบาดของโรค 1.3 ระยะการเกิดภัยพิบัติ 1. ระยะก่อนเกิดภัย (Warning Phase) 2. ระยะเกิดภัย (Impact Phase) เป็นระยะที่ก่อให้เกิดความเสียหาย (เกิดครู่เดียว /หรือ กินเวลานาน) 3. ระยะหลังเกิดภัย - ระยะกู้ภัย (Rescue Phase) ช่วยชีวิตและระงับภัย - ระยะบรรเทาภัย (Relief Phase) ภัยอาจยังไม่สงบดีนัก - ระยะฟื้นฟูสภาพ (Rehabilitation Phase) ภัยสงบแล้ว 1.4 ผลกระทบจากภัยพิบัติ 1.4.1 ผลกระทบต่อผู้ประสบภัย 1. ผลกระทบต่อร่างกายและชีวิต 1.1 ไม่พบร่องรอยบาดแผลที่ร่างกาย 1.2 มีบาดเจ็บเล็กน้อยทางกาย 1.3 กลุ่มที่บาดเจ็บร่างกายปานกลาง 1.4 กลุ่มบาดเจ็บรุนแรง (เลือดออกมาก ช๊อค หายใจลาบาก หมดสติ) 1.5 กลุ่มที่เสียชีวิต (ในที่เกิดเหตุ / เสียชีวิตภายหลัง) 2. ผลกระทบต่อจิตใจ (ตกใจ เสียใจ วิตกกังวล ท้อแท้ คุมสติไม่ได้ โรคจิต) 3. สูญเสียทรัพย์สิน ที่อยู่อาศัย 1.4.2 ผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง 1. ผลกระทบทางเศรษฐกิจ 1.1 ค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ (Medical cost) การรักษาพยาบาลผู้ประสบเหตุ ฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ ค่ายารักษา ฯลฯ 1.2 ค่าใช้จ่ายจากแหล่งอื่น (Other resource cost) ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน (ดับเพลิง กู้ภัย ฯลฯ) 1.3 ค่าความสูญเสียวันทางาน (Work loss costs) ผู้ประสบเหตุ นายจ้างของผู้ประสบเหตุ 1.4 คุณภาพชีวิต (Quality of life) พิการทางกาย จิต (เยียวยาได้/ ไม่ได้) 2. ผลกระทบทางการเกษตร อุทกภัย วาตภัย ไฟป่า ภัยแล้ง ฯลฯ ทาให้พื้นที่หากินเสียหาย สัตว์เศรษฐกิจตาย ผลผลิต ตกต่า 3. ผลกระทบทางอุตสาหกรรม การหยุดผลิต ขึ้นกับความรุนแรงของภัยพิบัติ 4. ผลกระทบทางการเมือง การปกครอง รัฐบาลบริหารประเทศดี การช่วยเหลือเป็นไปอย่างรวดเร็ว 5. ผลกระทบทางด้านสาธารณูปโภค คมนาคม และการขนส่ง น้าประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ การจัดการมูลฝอย การคมนาคมทางบก น้า อากาศ ตัดขาด/ ชะงัก/ ล่าช้า 1.5 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง http://www.disaster.go.th/th 1.6 ปรากฏการณ์ล่วงหน้า (Precursory phenomena) 1) พืนดินเกิดการยกตัวขึนมาอย่างผิดปกติ 2) ค่าความเข้มสนามแม่เหล็กโลกเปลี่ยนแปลงไป 3) สภาพการนาไฟฟ้าของหินเปลี่ยนแปลง 4) เกิดแผ่นดินไหวเล็กๆ เกิดขึนเป็นการเตือนภัยก่อน 5) มีปริมาณก๊าชเรดอนในบ่อนาสูงกว่าปกติ 6) ความผิดปกติของพฤติกรรมสัตว์ ** (กรมทรัพยากรธรณี, 2563) 1. สัตว์เลือยคลาน https://www.middleeastmonitor.com/20170613-snakes-predicted-turkish-earthquake/ Snakes predicted Turkish earthquake “There are reports of people seeing snakes two days ago in central areas of some cities, which is similar to what happened before the 1999 earthquake. ตัวอย่ างเหตุการณ์ เช่ น เมื่อ ค.ศ. 1855 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวที่ญี่ปุ่นหนึ่งวัน พบฝูงงูเลื้อยขึ้นมาแข็งตายบนดิน เมื่อ ค.ศ. 1976 หนึ่งวันก่อนเกิดแผ่นดินไหวที่เมืองถังซาน ประเทศจีน พบฝูงงูจานวนมากเข้าไปหลบอยูใ่ นซอกหิ น และเมื่อ ค.ศ. 1977 ตอนเกิดแผ่นดินไหวที่ประเทศโรมาเนีย ก็พบฝูงงูเลื้อยขึ้นมาแข็งตายบนดินเช่นกัน 2. สัตว์สะเทินนาสะเทินบก วันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 แผ่นดินไหวในมณฑลเสฉวน แมกนิจูด 7.9 มีผู้เสียชีวิต 68,516 คน บาดเจ็บ 365,399 คน และสูญหาย 19,350 คน 2-3 วันก่อนแผ่นดินไหว http://kaheel7.com/eng/index.php/nature-a-life/333-can-frogs-predict-the-earthquakes- http://factsanddetails.com/china/cat10/sub65/item407.html 3. สัตว์นา ปี 2011 ซึ่งเกิดแผ่นดินไหวใหญ่และคลื่นสึนามิถล่มพื้นที่ฟูกูชิมะ คร่าชีวิตผู้คนมากกว่า 20,000 คน ปลา Oarfish (ปลาพญานาค) หลายสิบตัวได้ถูกซัดมาเกยตื้นในปีก่อนหน้า ผู้เชี่ยวชาญให้ความเห็นว่า การมีความเปลี่ยนแปลงที่ใต้ท้องทะเลก่อนหน้าการเกิด แผ่นดินไหว ทาให้กระแสน้าปั่นป่วน และสัตว์ใต้ทะเลลึกต้องขึ้นสู่ผิวน้า https://mgronline.com/japan/detail/9620000011933 http://www.deepseanews.com/2013/10/oarfish-can- supposedly-predict-earthquakes-apparently-they-suck-at-it/ 1.7 การใช้เชือกในการบรรเทาภัยพิบตั ิ กลุ่มที่ 1 หมวดต่อเชือก ประกอบด้วย 3 เงือ่ น ได้แก่ เงือ่ นพิรอด เงือ่ นขัดสมาธิ และ เงือ่ นประมง กลุ่มที่ 2 หมวดผูกแน่ น ฉุด ลาก รัง้ ประกอบด้วย 3 เงือ่ น ได้แก่ เงือ่ นผูกร่น เงือ่ นตะกรุดเบ็ด และ เงือ่ นผูกซุง (ลากซุง, เจ๊กลาก) กลุ่มที่ 3 หมวดช่วยชีวิต ประกอบด้วย 4 เงือ่ น ได้แก่ เงือ่ นขโมย เงือ่ นบันไดปม เงือ่ นบ่วงสายธนู และเงือ่ นเก้าอี้ กลุ่มที่ 1 หมวดต่อเชือก 1. เงื่อนพิรอด (reef knot, square knot) ประโยชน์ 1. ใช้ต่อเชือก 2 เส้นทีม่ ขี นาดเท่ากัน 2. ใช้ผกู ปลายเชือกเส้นเดียวกัน เพื่อมัดห่อ สิง่ ของและวัสดุต่างๆ 3. ใช้ผกู เชือกรองเท้า 4. ใช้ผกู โบ ผูกชายผ้าพันแผล หรือทาสลิง คล้องคอ เพราะผูกแน่นแต่แก้งา่ ย 5. ใช้ต่อปลายผ้าเพือ่ ให้มคี วามยาวตาม ทีต่ อ้ งการ https://www.101knots.com/square-reef-knot.html 2. เงื่อนขัดสมาธิ (Sheet Bend Knot) ประโยชน์ 1. ใช้ต่อเชือก 2 เส้นทีม่ ขี นาดต่างกัน 2. โดยใช้เชือกเส้นใหญ่เป็ นหลัก (บ่วง) เส้นเล็กสอดผูกเงือ่ น (เส้นขด) 3. ใช้ผกู เชือกกับห่วงโลหะให้ตดิ แน่น เช่นผูกกับห่วงสมอเรือ ธงชาติ 4. ใช้ต่อเชือกอ่อนกับเชือกแข็ง เช่น ตอก เถาวัลย์ https://www.101knots.com/sheet-bend.html 3. เงื่อนประมง (เงื่อนหัวล้านชนกัน), fisherman’s knot - ใช้ต่อเชือกทีม่ ลี กั ษณะลืน่ - หรือต้องการเชือกทีอ่ ยูค่ นละจุด โยนเชือกให้กนั และกันแล้วผูกต่อ แล้วรูดปมเข้าต่อกันก็จะได้ ความยาวของเชือกเพิม่ ขึน้ ตามต้องการ - เป็ นการต่อเชือก 2 เส้นทีม่ ขี นาดเท่ากันโดยเฉพาะเชือกเส้นเล็ก เช่น ไนล่อน เอ็นตกปลา https://www.101knots.com/fishermans-knot.html กลุ่มที่ 2 หมวดผูกแน่น ฉุด ลาก รัง้ 1. เงื่อนผูกร่น (sheepshank-knot) เป็ นการร่นเชือกให้สนั ้ ลง และให้หลบรอยชารุดของเงื่อนเชือกโดยไม่ต้องตัด https://www.101knots.com/sheepshank-knot.html 2. เงื่อนตะกรุดเบ็ด (Clove Hitch) - ใช้ผกู วัตถุทม่ี ลี กั ษณะทรงกระบอก - ใช้ผกู เชือกกับเสาหรือหลักเพือ่ ล่ามสัตว์เลีย้ งหรือเรือแพ https://www.101knots.com/wp-content/uploads/2018/02/Clove-Hitch.jpg 3. เงื่อนผูกซุง (ลากซุง, เจ๊กลาก) เป็ นเงือ่ นทีใ่ ช้ผกู สิง่ ของให้แน่น เป็ นเงือ่ นทีม่ ี ลักษณะพิเศษ คือ ผูกง่าย แก้งา่ ย แต่เป็ นเงือ่ นทีย่ งิ่ ดึงยิง่ แน่น ยิง่ ดึงแรงเท่าไรก็จะยิง่ แน่น มากขึน้ เท่านัน้ ไม่เปลืองเชือกเพราะใช้ปลายเชือกผูก https://www.101knots.com/timber-hitch.html กลุ่มที่ 3 หมวดช่วยชีวิต 1.เงื่อนขโมย -ใช้ผกู วัตถุและสามารถกระตุกออก ได้โดยไม่ต้องแก้ปม -ช่วยคนที่ติดอยู่อาคารสูงและมี เชือกจากัด -ผูกกับวัตถุทรงกระบอกหรือเหลี่ยม ที่มา:กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2. เงื่อนบันไดปม -ใช้ทาเชือกให้เป็ นปม เพือ่ ใช้เท้า บีบปม แล้วไต่ลงมาจากทีส่ งู ที่มา:กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 3. เงื่อนบ่วงสายธนู เป็ นเงือ่ นทีผ่ กู เป็ นบ่วงแล้วไม่สามารถจะรูดมารัดตัวได้ ใช้เป็ นบ่วงคล้องช่วยคนตกน้าโดยลากขึน้ มา เพราะเงือ่ นชนิดนี้ไม่รดู เข้าหาตัว คนทีเ่ ราช่วย (เวลาลากต้องจับต้นคอคนตกน้าให้หงายขึน้ เพือ่ ให้จมูกพ้นน้า) https://www.101knots.com/bowline-knot.html 4. เงื่อนเก้าอี้ -ใช้ช่วยชีวิตผูห้ มดสติ บาดเจ็บ ไม่มีกาลัง ไต่ลงมา -ใช้ช่วยคนที่ติดอยู่บนที่สงู ไม่สามารถลง ทางบันไดได้ หรือใช้ช่วยคนขึน้ จากที่ตา่ -ทาเป็ นบ่วงสายธนู 2 ชัน้ https://www.survivalworld.com/knots/firemans-chair-knot/ ที่มา:กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 1.8 การเคลื่อนย้ายผูป้ ระสบภัย 1.8.1 แบบไม่ใช้อปุ กรณ์ 1. ผูช้ ่วยเหลือมี 1 คน 1.1 การแบกไว้บนบ่า (Fireman’s carry) - ผูป้ ระสบภัยตัวใหญ่กว่าหรือเท่ากับผูช้ ว่ ยเหลือ - ผูป้ ระสบภัยทัง้ มี/ ไม่มสี ติ - กรณีตอ้ งเคลื่อนย้ายในระยะทางไกล - ห้ามใช้กรณีผปู้ ระสบภัยบาดเจ็บทีค่ อและหลัง https://simple.wiktionary.org/wiki/File:Firemans_carry.jpg 1.2 การพยุงให้เดินไป (Supporting carry) -กรณีผปู้ ระสบภัยบาดเจ็บทีข่ าเล็กน้อยและยังมีสติ -ให้สว่ นทีบ่ าดเจ็บอยูต่ ดิ ฝั ง่ ผูช้ ว่ ยเหลือหันหน้าไปทางเดียวกัน แขนข้างหนึ่ง ของผูป้ ่ วยพาดคอ ผูช้ ว่ ยเหลือจับมือผูป้ ่ วยไว้ ส่วนแขนอีกข้างหนึ่งของ ผูช้ ว่ ยเหลือโอบเอวและพยุง http://www.tpub.com/seabee/5-48.htm 1.3 การให้ขี่หลัง (Saddleback carry) -กรณีผปู้ ระสบภัยยังมีสติพอทีจ่ ะยึดเหนี่ยวได้ (ต้องไขว้มอื ) -กรณีผปู้ ระสบภัยตัวเล็กกว่าผูช้ ว่ ยเหลือ -ห้ามใช้กรณีผปู้ ระสบภัยบาดเจ็บทีค่ อ หลัง http://www.tpub.com/seabee/5-49.htm 1.4 การอุ้ม (Arms carry) -กรณีผปู้ ระสบภัยตัวเล็กกว่าผูช้ ว่ ยเหลือ -เหมาะกับระยะทางใกล้ๆเท่านัน้ -ห้ามใช้กรณีผปู้ ระสบภัยบาดเจ็บทีค่ อ หลัง ขาหัก http://www.medtrng.com/cls/lesson_15_1.htm 1.5 การให้เกาะหลัง (Pack-strap carry) -กรณีผปู้ ระสบภัยหมดสติและตัวโตกว่าผูช้ ว่ ยเหลือ (มือผูช้ ว่ ยให้รวบข้อมือผูบ้ าดเจ็บ) -เหมาะกับระยะทางใกล้ๆเท่านัน้ -ห้ามใช้กรณีผปู้ ระสบภัยบาดเจ็บทีค่ อ หลัง http://www.medtrng.com/cls/lesson_15_1.htm 1.6 การคลานลาก (Fireman’s crawl) -กรณีไฟไหม้ และต้องคลานต่า -ผูป้ ระสบภัยมี/ ไม่มสี ติ -ผูช้ ว่ ยเหลือใกล้หมดแรง (วิธนี ้ใี ช้แรงไม่มาก) -ต้องใช้เชือก /ผ้า มัดข้อมือผูบ้ าดเจ็บไว้ -การลากจะลดอันตรายลงถ้าใช้ผา้ ห่มหรือเสือ่ หรือ แผ่นกระดานรอง -ห้ามใช้กรณีผปู้ ระสบภัยบาดเจ็บทีค่ อ หลัง http://www.nzdl.org 1.7 การอุ้มลาก (Fireman’s drag) -กรณีผปู้ ระสบภัยน้าหนักมากและต้องเคลื่อนย้ายลงบันได -เหมาะทีจ่ ะใช้ในกรณีฉุกเฉิน เช่น เกิดไฟไหม้ ถังแก็สระเบิด หรือตึกถล่ม (จาเป็ นต้องเคลื่อนย้ายออกจากทีเ่ กิดเหตุให้เร็วทีส่ ดุ ) -การลากจะลดอันตรายลงถ้าใช้ผา้ ห่มหรือเสือ่ หรือ แผ่นกระดานรอง -ห้ามใช้กรณีผปู้ ระสบภัยบาดเจ็บทีค่ อ หลัง http://www.nzdl.org 1.8 การแบกไว้บนหลัง (Pistol Belt carry) -กรณีผปู้ ระสบภัยตัวเล็กกว่าและต้องเคลื่อนย้ายไปไกลๆโดยไม่เลื่อนหล่นและมือผูช้ ว่ ยเหลือ ว่างทัง้ 2 ข้าง -ผูป้ ระสบภัยหมดสติ -ห้ามใช้กรณีผปู้ ระสบภัยบาดเจ็บทีค่ อและหลัง 5 3 1 4 6 2 http://www.tpub.com/seabee/5-52.htm 2. ผูช้ ่วยเหลือมี 2 คน 2.1 การพยุงให้เดินไป (Supporting carry) -กรณีผปู้ ระสบภัยบาดเจ็บทีข่ า/ เท้า ทัง้ 2 ข้างและยังมีสติ -ผูช้ ว่ ยเหลือหันหน้าไปทางเดียวกัน แขนของผูป้ ระสบภัยพาดคอ - วิธนี ้ีเท้าของผูป้ ระสบภัยไม่แตะพืน้ - ห้ามใช้กรณีผปู้ ระสบภัยบาดเจ็บทีค่ อและหลัง https://armypubs.army.mil/epubs/DR_pubs/DR_a/pdf/web/atp4_25x13.pdf Two-handed seat 2.2 การนัง่ ประสานมือกัน -กรณีผปู้ ระสบภัยยังมีสติ -วิธนี ้ีมนคงกว่ ั่ าการอุม้ ผูป้ ระสบภัยไม่พลัดตก -ห้ามใช้กรณีผปู้ ระสบภัยบาดเจ็บทีค่ อและหลัง https://ya-webdesign.com/imgdownload.html Three-handed seat Four-handed seat http://www.nzdl.org https://aneskey.com/litters-and-carries/ 2.3 การยกหน้ าและยกหลัง (Fore and Aft method) -กรณีผปู้ ระสบภัยหมดสติ และน้าหนักตัวมาก -วิธนี ้เี คลื่อนย้ายได้รวดเร็ว และผูป้ ระสบภัยไม่พลัดตก -คนช่วย ต้องหันหน้าไปทางเดียวกัน -ห้ามใช้กรณีผปู้ ระสบภัยบาดเจ็บทีค่ อและหลัง http://www.tpub.com/dental1/108.htm 3. ผูช้ ่วยเหลือมี 3 คนขึน้ ไป 3.1 อุ้มสามคนเรียง - เหมาะสาหรับผูป้ ระสบภัยหมดสติ - ต้องการอุม้ ขึน้ วางบนเตียงหรืออุม้ ผ่านทางแคบๆ - วิธเี คลือ่ นย้าย ผูช้ ว่ ยเหลือทัง้ สามคนคุกเข่าเรียงกัน ในท่าคุกเข่าข้างเดียว ทุกคนสอดมือเข้าใต้ตวั ผูป้ ่ วย และอุม้ พยุงไว้ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายดังนี้ คนที่ 1 สอดมือทัง้ สองเข้าใต้ตวั ผูป้ ่ วยบริเวณคอและหลังส่วนบน คนที่ 2 สอดมือทัง้ สองเข้าใต้ตวั ผูป้ ่ วยตรงบริเวณหลังส่วนล่างและก้น คนที่ 3 สอดมือทัง้ สองเข้าใต้ขา (ผูช้ ว่ ยเหลือคนทีอ่ ่อนแอทีส่ ดุ ควรเป็ นคนที่ 3) https://www.youtube.com/watch?v=WvC5z6G565A 3.2 การอุ้ม - เหมาะสาหรับผูป้ ระสบภัยตัวโต อาการหนัก ต้องเดินทางระยะไกล - วิธเี คลื่อนย้าย ผูช้ ว่ ยเหลือ 2 คนคุกเข่าข้างผูป้ ่ วยข้างหนึ่ง ส่วนอีกคนอยู่ตรงข้าม คนที่ 1 มือข้างหนึ่ง ประคองหัวและไหล่อีกข้างรองที่หลัง คนที่ 2 อยู่ฝั่งตรงข้าม มือข้างหนึ่งรองหลัง อีกมือรองสะโพก คนที่ 3 มือหนึ่งอยู่เหนือต้นขา อีกมือรองใต้เข่า https://www.troop55brookfield.com/first-aid-04-moving-victims 1.8.2 แบบใช้อปุ กรณ์ 1. การเคลื่อนย้ายผูป้ ่ วยโดยใช้เปลหาม อาจทาได้งา่ ยโดยดัดแปลงวัสดุ วิธีการเคลื่อนย้าย เริม่ ต้นด้วยการอุม้ ผูป้ ่ วยนอนราบบนเปล จากนัน้ ควรให้ผชู้ ว่ ยเหลือคนหนึ่งเป็ นคนออก คาสังให้ ่ ยกและหามเดิน เพือ่ ความพร้อมเพรียง และนุ่มนวล ถ้ามีผชู้ ว่ ยเหลือสองคน คนหนึ่งหาม ทางด้านศีรษะ อีกคนหามทางด้านปลายเท้าและ หันหน้าไปทางเดียวกัน https://www.troop55brookfield.com/first-aid-04-moving-victims 2. การเคลื่อนย้ายผูป้ ่ วยโดยใช้เก้าอี้ วิธีการเคลื่อนย้าย ให้ยก 2 คน คนหนึ่งจับขาเก้าอีท้ งั ้ สองข้างหน้า อีกคนจับพนักพิง https://www.dreamstime.com/stock-illustration-first-aid-carry-injured-woman-chair-vector-image72672629 1.9 การวางแผนรับมือภัยพิบัติ 1.9.1 เป้ฉุกเฉิน ▪ เป็นเป้ฉุกเฉินชุดที่เตรียมไว้ในที่พักอาศัย สาหรับยามเกิดพิบัติ ▪ โดยรวมสิ่งของที่จาเป็นไว้ในเป้สามารถ คว้าได้ทันที สาหรับดารงชีพใน 3-7 วัน https://allabout-japan.com/th/article/6368/ https://www.emergency-live.com/th/civil-protection/disaster- emergency-kit-how-to-realize-it/ ชุดเตรียมพร้อมสาหรับ 1 คน (ใส่ในเป้ สะพาย) 1. เงินสด ของมีค่า เอกสารสาคัญ บัตรประชาชน 2. วิทยุ (พร้อมแบตเตอรี่) 3. ไฟฉาย (พร้อมแบตเตอรี่) 4. โทรศัพท์มือถือ (พร้อมแบตเตอรี่) 5. เสื้อผ้าสาหรับ 3-7 วัน 6. ผ้าห่มผืนเล็ก บาง 7. ยาประจาตัว -Drugs/Medications -Dressings -Other First Aid Supplies 8. อาหารแห้งและน้าดื่ม (1 แกลลอน/คน/วัน) 9. นกหวีด (เพื่อขอความช่วยเหลือ) 10. เทียนไข ไม้ขีดไฟ มีด ยางรัดของ ถุงพลาสติก ทิชชู https://www.redcross.org/get-help/how-to-prepare-for-emergencies/survival-kit-supplies.html และ https://www.ready.gov/sites/default/files/documents/files/checklist3.pdf 1.9.2 การทานาให้สะอาด 1. ต้มให้เดือด 5 นาที 2. หยดคลอรีนฆ่าเชือ 6 % sodium hypochlorite https://www.epa.gov/ground-water-and-drinking-water/emergency-disinfection-drinking-water 1.9.3 การทาส้วมฉุกเฉิน มัดปากถุงพลาสติกให้แน่น รวบรวมถุงพลาสติกฯไว้ในถังที่มีฝาปิด เพื่อนาไปกาจัดต่อไป ที่มา: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข http://env.anamai.moph.go.th/download/download/pdf/2556/rain250956/12.pdf คาถามและหัวข้ออภิปราย ให้นิสิตศึกษาเหตุการณ์ภัยพิบัติ 1 เหตุการณ์และวิเคราะห์ว่า เหตุการณ์นันมีผลกระทบทังทีเ่ กิดกับผูป้ ระสบภัย เศรษฐกิจ สังคม การปกครอง อุตสาหกรรม การเกษตร การคมนาคม และการสาธารณูปโภคอย่างไร