บทที่ 2 สัคคกัณฑ์ ว่าด้วยพระนามของพระพุทธ (PDF)

Summary

เอกสารประกอบการสอนในบทที่ 2 สัคคกัณฑ์ ว่าด้วยพระนามของพระพุทธเจ้าและคำศัพท์ต่างๆ ในภาษาบาลี. เอกสารนี้ครอบคลุมพระนามของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์, พระนามของพระพุทธองค์ปัจจุบัน, นิพพาน, พระอรหันต์, และอื่นๆ.

Full Transcript

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ ๒ ขอบข่ายเนื้อหา บทที่ ๒ สัคคกัณฑ์ ๒.๑ พระนามของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ๓๒ ศัพท์ ๒.๒ พระนามของพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน ๗ ศัพท์ ๒.๓ นิพพาน ๔๖ ศัพท์ ๒.๔ พระอรหันต์ ๔ ศัพท์ ๒.๕ สวรรค์ ๕ ศัพท์...

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ ๒ ขอบข่ายเนื้อหา บทที่ ๒ สัคคกัณฑ์ ๒.๑ พระนามของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ๓๒ ศัพท์ ๒.๒ พระนามของพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน ๗ ศัพท์ ๒.๓ นิพพาน ๔๖ ศัพท์ ๒.๔ พระอรหันต์ ๔ ศัพท์ ๒.๕ สวรรค์ ๕ ศัพท์ ๒.๖ ดวงจันทร์, เจ้าแห่งดวงดาว ๑๔ ศัพท์ ๒.๗ ดวงดาว ๖ ศัพท์ ๒.๘ กลุ่มดาวฤกษ์ ๒๗ กลุ่ม ๒.๙ ดวงอาทิตย์ ๑๙ ศัพท์ ๒.๑๐ รัศมี, แสง, แสงสว่าง ๑๔ ศัพท์ ๒.๑๑ เดือน ๑๒ เดือน ๒.๑๒ ฤดู ๖ ศัพท์ ๒.๑๓ บาป, อกุศล, ความชั่ว ๑๒ ศัพท์ ๒.๑๔ บุญ, กุศล, กรรมดี, ธรรม ๖ ศัพท์ ๒.๑๕ โลกนี้, ภพปัจจุบัน, ชาตินี้ ๓ ศัพท์ ๒.๑๖ โลกหน้า, ภพหน้า, ชาติหน้า, ๒ ศัพท์ ๒.๑๗ ขณะนั้น, เวลานั้น ๒ ศัพท์ ๒.๑๘ กาลข้างหน้า ๒ ศัพท์ ๒.๑๙ ความยินดี, ความร่าเริง ๑๓ ศัพท์ ๒.๒๐ ความสุข, ความสะดวก, ความสบาย, ความสาราญ ๓ ศัพท์ ๒.๒๑ ความดี, ความเจริญ, ความประเสริฐ, มงคล ๗ ศัพท์ ๒.๒๒ ความทุกข์, ความลาบาก, ความยาก, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ๖ ศัพท์ ๒.๒๓ ผลกรรมเก่า, วิบาก, โชค ๕ ศัพท์ ๒.๒๔ การเกิด, การอุบัติ ๕ ศัพท์ ๒.๒๕ นิมิต, เหตุ, ปัจจัย, เครื่องหมาย ๑๒ ศัพท์ ๒.๒๖ เหตุใกล้ผล, ปทัฏฐาน ๒.๒๗ ตัวตน, วิญญาณ, อาตมัน, อัตตา ๓ ศัพท์ ๒.๒๘ ปรกติ, ธาตุเดิม, ธาตุแท้ ๒ ศัพท์ ๒.๒๙ สัตว์, บุคคล ๑๓ ศัพท์ ๒.๓๐ อารมณ์ ๖ อย่าง ๒.๓๑ อารมณ์ ๕ ศัพท์ ๒.๓๒ นาฏยรส ๙ อย่าง ๒.๓๓ คาพูด ๑๓ ศัพท์ ๓๒ เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน ๒.๓๔ วากยะ, ประโยค ๒.๓๕ เวลากล่าวคาพูดซ้า ๒.๓๖ คัมภีร์ไตรเพท ๓ คัมภีร์ ๒.๓๗ คัมภีร์เวท ๓ ศัพท์ ๒.๓๘ ฤษีผู้รจนาคัมภีร์เวท ๑๐ ท่าน ๒.๓๙ สรุปท้ายบท วัตถุประสงค์การเรียนประจาบท เมื่อได้ศึกษาเนื้อหาในบทนี้แล้ว นิสิตสามารถ ๑. อธิบายความหมายพระนามของพระพุทธเจ้าและคาศัพท์ต่าง ๆ ในสัคคกัณฑ์นี้ได้ ๒. วิเคราะห์คาศัพท์ต่าง ๆ มีพระนามพระพุทธเจ้าและชื่อของคาศัพท์ต่าง ๆ ในบทนี้ได้ ๓. อธิบายแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้สอนในชั้นเรียนได้ กิจกรรมการเรียนการสอน ๑. นิสิตทุกรูปร่วมกันแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นเกี่ยวกับพระนามของ พระพุทธเจ้าและคาศัพท์ต่าง ๆ ในสัคคกัณฑ์ ๒. นิสิตร่วมกันสังเคราะห์วิเคราะห์ความหมายของพระนามพระพุทธเจ้าและศัพท์ต่าง ๆ ๓. นิสิตแต่ละรูปตรวจสอบความพร้อมของตนเองโดยซักซ้อมทาความเข้าใจเนื้อหาและ เพื่อนร่วมห้อง ๔. อาจารย์สรุปความคิดรวบยอดด้านคาศัพท์ในสัคคกัณฑ์ในเรื่องความหมายและ ความสาคัญของศัพท์ต่าง ๆ สื่อการเรียนการสอน ๑. เอกสารประกอบการสอน ๒. หนังสืออ่านประกอบ (บรรณานุกรม) ๓. สื่อการสอน (Power point) การวัดผลและประเมินผล ๑. การเข้าห้องเรียน ๒. ทาแบบฝึกหัดท้ายบท ๓. การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เช่น การสอบถาม การแลกเปลี่ยนความรู้ ๔. การอภิปรายหน้าชั้นเรียน เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน ๓๓ บทที่ ๒ สัคคกัณฑ์ ว่าด้วยศัพท์ที่เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า ชื่อพระนิพพาน พระอรหันต์ และโลกสวรรค์ เป็นต้น คัมภีร์อภิธานเป็นคัมภีร์ ประเภทพจนานุกรมกล่าวถึงคาศัพท์ในภาษาบาลีมีศัพท์ที่เป็น พระนามของพระพุทธเจ้า ชื่อพระนิพพาน พระอรหันต์ โลกสวรรค์ ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ เป็นต้น เป็นคัมภีร์ทที่ รงคุณค่าตั้งแต่อดีตจนกระทั่งปัจจุบัน แต่ยังไม่เป็นที่แพร่หลายมากนัก ในการศึกษาวิชา อภิธานซึ่งเป็นการศึกษาด้านภาษาศาสตร์จาเป็นจะต้องมีการค้นคว้าในเรื่องของคาศัพท์มาก ดังนั้น จึง ขอกล่าวเนื้อหาในภาพรวมก่อน โดยสังเขปดังนี้ คัมภีร์อภิธาน แบ่งออกเป็น ๓ กัณฑ์ใหญ่ คือ ๑. สัคคกัณฑ์ ว่าด้วยศัพท์ที่เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า ชื่อพระนิพพาน พระ อรหันต์ และโลกสวรรค์ ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ เป็นต้น ๒. ภูกัณฑ์ ว่าด้วยนามศัพท์ที่เป็นสถานที่ พื้นดิน ภูเขา ต้นไม้ แม่น้า และ ลา ธาร เป็นต้น ๓. สามัญญกัณฑ์ ว่าด้วยนามศัพท์และคุณศัพท์สามัญทั่ว ๆ ไป มีความดีงาม ความ ประเสริฐ การกระทาเป็นต้น รวมทั้งศัพท์ที่เป็นนิบาตบทและอุปสัคบท นอกจากนั้น ในกัณฑ์ใหญ่ทั้ง ๓ นั้น ยังประกอบด้วยวรรคย่อยอีก ๑๗ วรรค มีภูมิวรรค และปุรวรรค เป็นต้น เมื่อรวมปณามคาถา ปฏิญญาคาถา ปริภาสาคาถา และนิคมนคาถา ทั้งหมดแล้ว มีจานวนทั้งสิ้น ๑,๒๒๑ คาถา ในบทนี้ จะกล่าวเฉพาะสัคคกัณฑ์อันเป็นกัณฑ์แรกในคัมภีร์มีจานวน ๑๗๙ คาถา แต่จะ นามาจัดการเรียนการสอนในรายวิชาอภิธานนี้เพียง ๔๐ คาถา ประกอบด้วยคาศัพท์เหล่านี้ ๒.๑ พระนามของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ๓๒ ศัพท์ ๒.๒ พระนามของพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน ๗ ศัพท์ ๒.๓ นิพพาน ๔๖ ศัพท์ ๒.๔ พระอรหันต์ ๔ ศัพท์ ๒.๕ สวรรค์ ๕ ศัพท์ ๒.๖ ดวงจันทร์, เจ้าแห่งดวงดาว ๑๔ ศัพท์ ๒.๗ ดวงดาว ๖ ศัพท์ ๒.๘ กลุ่มดาวฤกษ์ ๒๗ กลุ่ม ๒.๙ ดวงอาทิตย์ ๑๙ ศัพท์ ๒.๑๐ รัศมี, แสง, แสงสว่าง ๑๔ ศัพท์ ๒.๑๑ เดือน ๑๒ เดือน ๒.๑๒ ฤดู ๖ ศัพท์ ๒.๑๓ บาป, อกุศล, ความชั่ว ๑๒ ศัพท์ ๒.๑๔ บุญ, กุศล, กรรมดี, ธรรม ๖ ศัพท์ ๒.๑๕ โลกนี้, ภพปัจจุบัน, ชาตินี้ ๓ ศัพท์ ๓๔ เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน ๒.๑๖ โลกหน้า, ภพหน้า, ชาติหน้า, ๒ ศัพท์ ๒.๑๗ ขณะนั้น, เวลานั้น ๒ ศัพท์ ๒.๑๘ กาลข้างหน้า ๒ ศัพท์ ๒.๑๙ ความยินดี, ความร่าเริง ๑๓ ศัพท์ ๒.๒๐ ความสุข, ความสะดวก, ความสบาย, ความสาราญ ๓ ศัพท์ ๒.๒๑ ความดี, ความเจริญ, ความประเสริฐ, มงคล ๗ ศัพท์ ๒.๒๒ ความทุกข์, ความลาบาก, ความยาก, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ๖ ศัพท์ ๒.๒๓ ผลกรรมเก่า, วิบาก, โชค ๕ ศัพท์ ๒.๒๔ การเกิด, การอุบัติ ๕ ศัพท์ ๒.๒๕ นิมิต, เหตุ, ปัจจัย, เครื่องหมาย ๑๒ ศัพท์ ๒.๒๖ เหตุใกล้ผล, ปทัฏฐาน ๒.๒๗ ตัวตน, วิญญาณ, อาตมัน, อัตตา ๓ ศัพท์ ๒.๒๘ ปรกติ, ธาตุเดิม, ธาตุแท้ ๒ ศัพท์ ๒.๒๙ สัตว์, บุคคล ๑๓ ศัพท์ ๒.๓๐ อารมณ์ ๖ อย่าง ๒.๓๑ อารมณ์ ๕ ศัพท์ ๒.๓๒ นาฏยรส ๙ อย่าง ๒.๓๓ คาพูด ๑๓ ศัพท์ ๒.๓๔ วากยะ, ประโยค ๒.๓๕ เวลากล่าวคาพูดซ้า ๒.๓๖ คัมภีร์ไตรเพท ๓ คัมภีร์ ๒.๓๗ คัมภีร์เวท ๓ ศัพท์ ๒.๓๘ ฤษีผู้รจนาคัมภีร์เวท ๑๐ ท่าน ๒.๓๙ สรุปท้ายบท ๒.๑ พระนามพระพุทธเจ้า ๓๒ ศัพท์ ๑. พุทฺโธ ทสพโล สตฺถา สพฺพญฺญู ทฺวิปทุตฺตโม; (๑) มุนินฺโท ภควา นาโถ จกฺขุมงฺคีรโส มุนิ. ๒. โลกนาโถ’นธิวโร มเหสิ จ วินายโก; (๒) สมนฺตจกฺขุ สุคโต ภูริปญฺโ จ มารชิ. ๓. นรสีโห นรวโร ธมฺมราชา มหามุนิ; (๓) เทวเทโว โลกครุ ธมฺมสฺสามี ตถาคโต. ๔. สยมฺภู สมฺมาสมฺพุทฺโธ วรปญฺโ จ นายโก; (๔) ชิโน สกฺโก ตุ สิทฺธตฺโถ สุทฺโธทนิ จ โคตโม. ๕. สกฺยสีโห ตถา สกฺย- มุนิ จา’ทิจฺจพนฺธุ จ. (๕) มีศัพท์ว่า พุทฺธ, ทสพล, สตฺถุ สพฺพญฺญู, ทฺวิปทุตฺตม, มุนินฺท, ภควนฺตุ, นาถ, จกฺขุมนฺตุ, องฺครี ส, มุนิ, โลกนาถ, อนธิวร, มเหสิ, วินายก, สมนฺตจกฺขุ สุคต, ภูริปญฺ , มารชิ, นรสีห, นรวร, ธมฺม เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน ๓๕ ราช, มหามุนิ, เทวเทว, โลกครุ, ธมฺมสฺสามี, ตถาคต, สยมฺภู, สมฺมาสมฺพุทฺธ, วรปญฺ , นายก และ ชิน โดยอธิบายตามลาดับศัพท์ดังต่อไปนี้ ๑. พุทฺธ แปลว่า พระพุทธเจ้า, ผู้ตรัสรู้ รูปวิเคราะห์ : พุทฺโธติ เกนตฺเถน พุทฺโธ ๑ ถามว่า คาว่า “พุทฺโธ” พระพุทธเจ้าทรงพระ นามว่าพุทธะ เพราะอรรถว่าอย่างไร, ตอบว่า ทรงพระนามว่าพุทธะ เพราะประกอบอรรถวิเคราะห์ว่า ๑) พุชฺฌิตา สจฺจานีติ พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะทรงตรัสรู้สัจธรรม ๒) โพเธตา ปชายาติ พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะทรงให้หมู่สัตว์รู้ตาม ๓) สพฺพญฺญุตาย พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะทรงรู้ธรรมทั้งปวง ๔) สพฺพทสฺสาวิตาย พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะทรงเห็นแจ้งธรรมทั้งปวง ๕) อภิญฺเ ยฺยตาย พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะทรงรู้ยิ่ง ๖) วิสวิตาย พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะทรงทาพระนิพพานให้แจ้ง ๗) ขีณาสวสงฺขาเตน พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะทรงสิ้นอาสวะ ๘) นิรุปกฺกิเลสสงฺขาเตน พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะทรงปราศจากอุปกิเลส ๙) เอกนฺตวีตราโคติ พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะทรงปราศจากราคะแน่นอน ๑๐) เอกนฺตวีตโทโสติ พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะทรงปราศจากโทสะแน่นอน ๑๑) เอกนฺตวีตโมโหติ พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะทรงปราศจากโมหะแน่นอน ๑๒) เอกนฺตนิกฺกิเลโสติ พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะทรงสิ้นกิเลสแน่นอน ๑๓) เอกายนมคฺค คโตติ พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะเสด็จไปสู่ทางอันเอก ๑๔) เอโก อนุตฺตร สมฺมาสมฺโพธึ อภิสมฺพุทฺโธติ พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะตรัสรู้ พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณได้เพียงพระองค์เดียว ๑๕) อพุทฺธิวิหตตฺตา พุทฺธิปฏิลาภตฺตา พุทฺโธ พระนามว่าพุทธะ เพราะทรงกาจัดอวิชชา แล้วตรัสรู้วิชชา ๑๖) พุชฺฌตีติ พุทฺโธ ผู้ตรัสรู้ พระนามว่าพุทธะ (พุธ อวคมเน=ตรัสรู้-รู้-บรรลุ + ต) อุทาหรณ์: เตน สมเย พุทฺโธ ภควา เวรญฺชาย วิหรติ นเฬรุจิมนฺทมู เล มหตา ภิกฺขุสเฆน สทฺธึ ปญฺจมตฺเตน ภิกฺขุสเตหิ๒ สมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ควงต้นสะเดาอันเป็นที่ อยู่ของนเฬรุยักข์ เขตเมืองเวรัญชา พร้อมภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ ประมาณ ๕๐๐ องค์ อิติ พุทฺโธ อภิญฺ าย ธมฺมมกฺขาสิ ภิกฺขุน ทุกฺขสฺสนฺตงฺกโร สตฺถา จกฺขุมา ปรินิพฺพุโต๓ ดังนั้น พระพุทธเจ้าจึงตรัสบอกธรรม แก่ภิกษุทั้งหลายเพื่อความรู้ยิ่ง พระศาสดา ทรงทาที่สุดแห่งทุกข์ มีพระจักษุ ปรินิพพานแล้ว อริยา วุจฺจนฺติ พุทฺธา จ พุทฺธสาวกา จ๔ พระพุทธเจ้าและสาวกของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระอริยะทั้งหลาย ๑ ขุ.ม.๒๙/๑๙๒/๓๘๘, ขุ.จู.๓๐/๙๗/๒๐๗, ขุ.ป.๓๑/๑๖๒/๑๘๕-๑๘๖. ๒ วิ.มหา.๑/๑/๑. ๓ ที.ม.๑๐/๑๘๖/๑๐๙. ๔ อภิ.วิ.๓๕/๕๘๘/๓๑๔. ๓๖ เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน อห พุทฺธญฺจ ธมฺมญฺจ สฆญฺจ สรณ คโต อุปาสกตฺต เทเสสึ สกฺยปุตฺตสฺส สาสเน๕ หม่อม ฉันได้ถึงพระพุทธเจ้า พระธรรมและพระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะที่พึ่งแล้ว ได้แสดงตนเป็นอุบาสก ในพระ ศาสนาแห่งพระศากยบุตรแล้ว สาวกา จ ปจฺเจกพุทฺธา จ พุทฺธา จ อนุสฺสรนฺติ ๖ พระสาวกทั้งหลาย พระปัจเจกพุทธเจ้า ทั้งหลาย และพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมทรงระลึกได้ พุทฺโธ จ โลเกติ อิท วินา พุทฺธุปฺปาเทน สฆเภทสฺส อภาวทสฺสนตฺถ วุตฺต๗ บทว่า พุทฺโธ จ โลเก นี้ สกวาทีกล่าวไว้เพื่อแสดงความไม่มีสังฆเภท โดยเว้นจากการอุบัติของพระพุทธเจ้า อตฺถโต ปน ปารมิตาปริภาวิโต สยมฺภู าเณน สห วาสนาย วิหตวิทฺธสิตนิรวเสสกิเลโส มหากรุณาสพฺพญฺญุตญฺ าณาทิอปริเมยฺยคุณคณาธาโร ขนฺธสนฺตาโน พุทฺโธ ๘ ก็โดยความหมาย คือ พระพุทธเจ้า ผู้ทรงกาจัดกิเลสได้หมดสิ้นพร้อมทั้งวาสนา ด้วยพระสยัมภูญาณ เพราะทรงอบรมบ่ม พระบารมีมาแล้ว ผู้มีพระขันธสันดานทรงไว้ซึ่งหมู่คุณอันนับประมาณไม่ได้มีพระมหากรุณาธิคุณและ พระสัพพัญญุตญาณเป็นต้น ๒. ทสพล แปลว่า พระพุทธเจ้า, พระทศพล รูปวิเคราะห์: ทานสีลนฺตฺยาทโย านา านญฺ าทโย วา ทส พลานิ อสฺสตฺถีติ ทสพโล พระนามว่าทสพละ เพราะทรงมีกาลัง ๑๐ ประการ มี ทาน ศีลเป็นต้น หรือ านา าน าณเป็นต้น (ทส=๑๐ + พล=กาลัง) กาลัง ๑๐ ประการ คือ (๑) านา าน าณ พระปรีชาหยั่งรู้ฐานะและอฐานะ คือ ทรงรู้ ว่าอะไรเป็นไปได้ และอะไรเป็นไปไม่ได้ รู้เหตุรู้ผล (๒) กัมมวิปาก าณ พระปรีชาญาณหยั่งรู้ผลของ กรรมดีและชั่ว (๓) สัพพัตถคามินีปฏิปทา าณ พระปรีชาญาณหยั่งรู้ข้อปฏิบัติที่จะนาไปสู่สุคติ ทุคติ หรือพ้นจากคติ รู้ประโยชน์ในปัจจุบัน ประโยชน์ในอนาคตและประโยชน์อันสูงสุด (๔) นานาธาตุ าณ พระปรีชาญาณหยั่งรู้สภาวะของธรรมชาติทั้งฝุายอุปาทินนกสังขาร (สังขารที่กรรมยึดครอง) และฝุาย อนุปาทินนกสังขาร (สังขารที่กรรมไม่ยึดครอง) (๕) นานาธิมุตติก าณ พระปรีชาญาณหยั่งรู้อัธยาศัย ความเชื่อถือ ความสนใจของสัตว์ทั้งหลาย (๖) อินทรียปโรปริยัตต าณ พระปรีชาญาณหยั่งรู้ความยิ่ง และความหย่อนแห่งอินทรีย์ของสัตว์ทั้งหลายว่า มีศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา หย่อนหรือแก่กล้า เพียงไร (๗) ฌานาทิสังกิเลสาทิ าณ พระปรีชาญาณหยั่งรู้ความเศร้าหมองและความผ่องแผ้วของการ ออกจากฌาน วิโมกข์ สมาธิ และสมาบัติทั้งหลาย (๘) ปุพเพนิวาสานุสสติ าณ พระปรีชาญาณหยั่งรู้ ถึงภพอันเคยเป็นอยู่ในอดีต (๙) จุตูปปาต าณ พระปรีชาญาณหยั่งรู้จุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลายผู้ เป็นไปตามกรรมของตน (๑๐) อาสวักขย าณ พระปรีชาญาณหยั่งรู้ความสิ้นไปแห่งอาสวะ๙ อุทาหรณ์: มหคฺคธมฺโม ทสพโล พลาติพลปารคู ธรณูปโม มหาวีโร โส เม พุทฺโธ ๑๐ นิมนฺติโต พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ทรงมีพระธรรมล้าเลิศ น่าบูชา เป็นพระทศพล ทรงถึงความ ๕ วิ.อ.๑/๖๙. ๖ ที.ม.อ. ๒/๑/๒. ๗ อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๕๔-๖๕๗/๒๖๖. ๘ สารตฺถ.ฏีกา ๑/๑๒-๑๓. ๙ ม.มู.๑๒/๑๔๘/๑๐๗-๑๑๐. ๑๐ ขุ.อป.๓๒/๒๔๗/๔๔๗. เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน ๓๗ สาเร็จพลธรรมเหนือพลธรรม (ของคนทั่วไป) เปรียบด้วยแผ่นดิน ทรงเป็นผู้มีความเพียรมาก ข้าพเจ้า ทูลนิมนต์แล้ว ทสสหสฺสจกฺกวาเฬ ปน เทวตา สพฺพาว สนฺติปติตฺวา อชฺช ทสพโล ปรินิพฺพายติ อิโตทานิ ปฏฺ าย อนฺธการ ภวิสฺสตีติ ปริเทวนฺติ๑๑ ก็เทวดาในหมื่นจักรวาล ประชุมกันทั้งหมดพากันคร่าครวญ ราพันว่า “วันนี้ พระทศพลจะปรินิพพาน จาเดิมแต่นี้ไป จักมีแต่ความมืด” ปาฏิหาริยฏฺ าเนปิ สพฺพา ทฺวาทสโยชนิกา ปริสา อนุรุทฺธ อุปสงฺกมิตฺวา กห ภนฺเต ทสพโล ิโตติ ปุจฺฉึสุ๑๒ แม้ในที่ทรงทายมกปาฏิหาริย์ บริษัททั้งหมดประมาณ ๑๒ โยชน์ เข้าไปหาพระ อนุรุทธะ ถามว่า “ท่านผู้เจริญ พระทศพลประทับอยู่ ณ ที่ไหน” ๓. สตฺถุ แปลว่า พระพุทธเจ้า, พระศาสดา, ผู้สอน รูปวิเคราะห์: ทิฏฺ ธมฺมิกสมฺปรายิกปรมตฺเถหิ ยถารห อนุสาสตีติ สตฺ ถา พระนามว่า สัตถุ เพราะทรงสั่งสอนสรรพสัตว์ด้วยประโยชน์ในปัจจุบัน ประโยชน์ในอนาคตและประโยชน์อันสูงสุด (สาส อนุสิฏฺ ิมฺหิ=แนะนา-สั่งสอน + รตฺถุ) กิเลเส สชติ วิสฺสชฺเชติ อนภาว คเมตีติ สตฺ ถา พระนามว่า สัตถุ เพราะทรงสละกิเลส (สช อติสชฺชเน=สละ-ปล่อย + รตฺถุ) กิเลเส สาสโนทเกน สิญฺจตีติ สตฺถา พระนามว่าสัตถุ เพราะทรงล้างกิเลสด้วยน้าคือคาสอน (สิจ เสจเน=ไหล-รด-ราด + รตฺถุ) กิเลสสตฺติ- สงฺขาต ปงฺก โสสาเปตีติ สตฺถา พระนามว่า สัตถุ เพราะทรงทาเปือกตมคือคมกิเลสให้แห้ งไป (สุ ส โสสเน=แห้ง-ผาก-เหี่ยว + รตฺถุ) กิเลเส สสติ หึสตีติ สตฺถา พระนามว่าสัตถุ เพราะเบียดเบียนกิเลส (สสุ หึสาย=เบียดเบียน + รตฺถ)ุ สวติ อาสวติ ธมฺมกถ โสตุ อิจฺฉตีติ สตฺถา พระนามว่าสัตถุ เพราะทรง ต้องการฟังธรรมกถา (สุ สวเน=ฟัง + รตฺถ)ุ สเมติ กิเลเส อุปสเมตีติ สตฺถา พระนามว่าสัตถุ เพราะทรง ทากิเลสให้สงบ (สมุ อุปสเม=สงบ-ระงับ + รตฺถุ) อุทาหรณ์: โส สมณุทฺเทโส ภิกขูหิ เอวมสฺส วจนีโย อชฺชตคฺเค เต อาวุโส สมณุสฺเทส น เจว โส ภควา สตฺถา อปทิสิตพฺโพ๑๓ สมณุทเทสนั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงว่ากล่าวตักเตือนว่า สมณุทเทส ตั้งแต่วันนี้ เธอไม่พึงอ้างพระผู้มีพระภาคเจ้าว่าเป็นศาสดา โส โว มมจฺจเยน สตฺถา ๑๔ พระธรรมวินัยนั้นจะเป็นศาสดาของพวกเธอ เมื่อเราล่วงไป แล้ว กตมานิ ปญฺจ ? อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุโน สตฺถา ธมฺม เทเสติ อญฺ ตโร วา ครุฏฺ านิโย สพฺรหฺม ๑๕ จารี ภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ ๑ ศาสดาหรือเพื่อนพรหมจารีในฐานะ ครูบางรูป แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ๔. สพฺพญฺญู แปลว่า พระพุทธเจ้า, พระสัพพัญญู, ผู้รู้ธรรมทั้งปวง รูปวิเคราะห์: สพฺพ ชานาตีติ สพฺพญฺญู พระนามว่าสัพพัญญู เพราะทรงรู้ธรรมทั้งปวง สพฺพสงฺขตมสงฺขต อนวเสส ชานาตีติ สพฺพญฺญู พระนามว่าสัพพัญญู เพราะทรงรู้ สังขตธรรมและ อสังขตธรรมทั้งปวง (สพฺพ + า อวโพธเน=รู้ + รู) ๑๑ องฺ.เอกก.อ.๑/๑๓๐/๘๒. ๑๒ องฺ.เอกก.อ.๑/๑๘๘/๑๑๓. ๑๓ วิ.มหา.๒/๔๒๙/๓๑๕. ๑๔ ที.ม.๑๐/๒๑๖/๑๓๔. ๑๕ องฺ.ปญฺจก.๒๒/๒๖/๑๘. ๓๘ เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน สัพพัญญู ๕ ประการ๑๖ คือ (๑) กมสัพพัญญู ทรงรู้จุติและอุบัติทุกอย่างของสัตว์ผู้เป็นไป ตามลาดับกรรม (๒) สกิงสัพพัญญู ทรงรู้สภาวะธรรมชาติทุกอย่างได้ในขณะญาณเดียว (๓) สตต- สัพพัญญู ทรงรู้สภาวธรรมทุกอย่างตามความเป็นจริง (๔) สัตติสัพพัญญู ทรงรู้สภาวธรรมทุกอย่างด้วย พระปรีชาสามารถ (๕) ญาตสัพพัญญู ทรงรู้สภาวธรรมทุกอย่างด้วยพระปัญญาที่ทรงตรัสรู้อริยสัจ ๔ ในสัพพัญญู ๕ อย่างนี้ หมายถึงญาตสัพพัญญู คือ ตรัสรู้อริยสัจ ๔ อุทาหรณ์ : เอว วุตฺเต มหานาม เต นิคณฺ า ม เอตทโวจุ นิคณฺโ อาวุโ ส นาฏปุตฺโ ต สพฺพญฺญู สพฺพทสฺสาวี อปริเสส าณทสฺสน ปฏิชานาติ๑๗ เมื่อเรากล่าวอย่างนั้นแล้ว นิครนถ์เหล่านั้น ได้กล่าวกับเราว่า ท่านผู้มีอายุ นิครนถ์นาฏบุตร เป็นสัพพัญญู เห็นสิ่งทั้งปวง ปฏิญญาญาณทัสสนะ อย่างเบ็ดเสร็จ กถ ภควา สมนฺ ต จกฺ ขุ น าปิ วิ ว ฏจกฺ ขุ ? สมนฺ ต จกฺ ขุ วุ จฺ จ ติ สพฺ พ ญฺ ญุ ต าณ ภควา สพฺพญฺญุต าเณน อุเปโต สมุเปโต อุปคโต สมุปคโต อุปปนฺโน สมุปปนฺโน สมนฺนาคโต ๑๘ พระผู้มีพระ ภาคเจ้ามีพระจักษุแจ่มแจ้งด้วยสมันตจักษุ เป็นอย่างไร คือ พระสัพพัญญุตญาณ ตรัสเรียกว่า สมันต จั ก ษุ พระผู้ มี พ ระภาคเจ้ า ทรงประกอบพร้ อ มด้ ว ยพระสั พ พั ญ ญุ ต ญาณ จึ ง ทรงพระนามว่ า พระ สัพพัญญู) เตน ยถาวุตฺเตน การเณน ตถาคโต สมนฺตจกฺขุ สพฺพญฺญูติ วุตฺต โหติ ๑๙ เพราะเหตุตามที่ กล่าวมานั้น พระตถาคตเจ้า จึงทรงพระนามว่าพระสมันตจักษุ พระสัพพัญญู ๕. ทฺวิปทุตฺตม แปลว่า พระพุทธเจ้า, ผู้ประเสริฐกว่าสัตว์สองเท้าคือมนุษย์และเทวดา รูปวิเคราะห์: ทฺวิปทาน อุตฺตโม ทฺวิปทุตฺตโม๒๐ พระนามว่าทวิปทุตตมะ เพราะประเสริฐ กว่าสัตว์สองเท้าทุกชนิด ทฺวิปทาน ทฺวิปเทสุ วา อุตฺตโม ทฺวิปทุตฺตโม บรรดาสัตว์สองเท้าคือมนุษย์และ เทวดาทั้งหลาย พระพุทธเจ้าเป็นผู้ประเสริฐที่สุด จึงทรงพระนามว่าทวิปทุตตมะ (ทฺวิ + ปท + อุตฺตม) อุทาหรณ์: ปุจฺฉามิ มุนึ ปหุตปญฺ พุทฺธ ธมฺมสฺสามึ วีตตณฺห ทฺวิปทุตฺตม สารถีน ปวร กติ โลเก สมณา ตทึฆ พฺรูหิ๒๑ ข้าพระองค์ขอทูลถามพระพุทธเจ้าผู้เป็ นมุนี มีพระปัญญามาก ผู้เป็น เจ้าของแห่งพระธรรม ผู้มีตัณหาปราศจากไปแล้ว ผู้สูงสุดกว่าสัตว์ ผู้ประเสริฐกว่าสารถีทั้งหลายว่า สมณะในโลกมีเท่าไร ขอพระองค์ตรัสบอกสมณะเหล่านั้นด้วยเถิด ฯ ต เทวเทว วนฺทามิ ปุตฺตนฺเต ทฺวิปทุตฺตม อนุชาต มหาวีร นาค นาคสฺส โอสรนฺติ๒๒ ข้าแต่ พระผู้มีภาคเจ้า ข้าพระองค์ขอกราบไหว้ท่านนิโครธกัปปกเถระ ผู้เป็นวิสุทธิเทพ เป็นอนุชาตบุตร มี ความเพียรมาก เป็นผู้ประเสริฐ ทั้งเป็นพระโอรสของพระองค์ผู้ประเสริฐนั้น ทฺวิปทุตฺตโม ทฺวิปทาน เทวพฺรหฺมมนุสฺสาน อุตฺตโม เสฏฺโ ๒๓ บรรดาเทวดา พรหมและ มนุษย์ผู้มีสองเท้า พระพุทธเจ้าเป็นผู้ประเสริฐที่สุด ๑๖ ขุ.ม.อ.๑๕๖/๓๙๐. ๑๗ ม.มู.๑๒/๑๗๙/๑๔๐. ๑๘ ขุ.ม.๒๙/๑๕๖/๒๙๙. ๑๙ ขุ.ม.อ.๑๕๖/๓๙๑. ๒๐ ขุ.พุทฺธ.อ.๓๗/๗๑. ๒๑ ขุ.สุ.๒๕/๘๓/๓๕๓. ๒๒ ขุ.เถร.๒๖/๑๒๘๘/๔๓๐. ๒๓ ขุ.อป.อ.๑/๒๑๙/๒๗๐. เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน ๓๙ ๖. มุนินฺท แปลว่า พระพุทธเจ้า, พระมุนินท์ รูปวิเคราะห์: มุนีน อินฺโท ราชา มุนินฺโท พระนามว่ามุนินทะ เพราะทรงยิ่งใหญ่กว่าพระ มุนีทั้งหลาย (มุนิ + อินฺท) พระมุนีมีกล่าวไว้ในอรรถกถาว่า มุนีติ หิ อคาริยมุนิ อนคาริยมุนิ เสกฺขมุนิ อเสกฺขมุนิ ปจฺเจกมุนิ มุนิมุนีติ อเนกวิธา มุนโย๒๔ คาว่า มุนิ ได้แก่ พระมุนีทั้งหลาย คือ (๑) อคาริยมุนิ คฤหัสถ์ ผู้รักษาศีล เจริญภาวนา เป็นกัลยาณปุถุชน (๒) อนคาริยมุนิ บรรพชิตผู้มีจาตุปาริสุทธิศีลสมบูรณ์ (๓) เสกขมุนิ เสกขบุคคล ๗ จาพวก คือ คฤหัสถ์หรือบรรพชิตผู้บรรลุธรรมขั้นโสดาปัตติมรรค โสดา- ปัตติผล สกทาคามิมรรค สกทาคามิผล อนาคามิมรรค อนาคามิผล และอรหัตตมรรค (๔) อเสกขมุนิ คฤหั ส ถ์ห รื อบรรพชิต ผู้ บ รรลุ ธ รรมขั้น อรหั ตตผล (๕) ปัจเจกมุนิ พระปัจเจกพุ ทธเจ้า (๖) มุนิมุ นิ พระพุทธเจ้า ในจานวนนั้น พระพุทธเจ้าเป็นใหญ่กว่ามุนีทั้ง ๕ ข้างต้น จึงทรงพระนามว่ามุนิมุนิ หรือ มุนินทะ อุทาหรณ์: สุทฺโธทโน มุนิวร อภิทสฺสนาย อมจฺจปุตฺเต ทสธา อเปสยิ พเลน สทฺธึ มหตา มุนินฺท สมโย มหาวีร องฺคีรสาน๒๕ ข้าแต่พระจอมมุนี พระเจ้าสุทโธทนะมหาราช มีพระราชพระสงค์ จะทรงพบพระจอมมุนี จึงทรงส่งบุตรอามาตย์ พร้อมกองกาลังใหญ่มาถึง ๑๐ ครั้ง ข้าแต่พระมหาวีระ เป็นสมัยสมควรสาหรับพระอังคีรสแล้ว พระเจ้าข้า ตทสฺสเนนพฺภุตปีติราสิ อุทิกฺขมาน ทฺวิปทานมินฺท โตเสหิ ต มุนินฺท คุณเสฏฺ สมโย มหา วีร องฺคีรสาน๒๖ ข้าแต่พระจอมมุนี ผู้มีกองปีติน่าอัศจรรย์เพราะการเห็นพระองค์ ขอพระองค์ โปรด ทรงปลอบพระผู้เป็นเจ้าแห่งหมู่มนุษย์ ผู้มีพระคุณอันประเสริฐ ซึ่งตั้งพระเนตรรอคอยพระองค์นั้น ด้วยเถิด ข้าแต่พระมหาวีระ เป็นสมัยสมควรสาหรับพระอังคีรสแล้ว พระเจ้าข้า จิร าตุ ธมฺโม มุนินฺทสฺส โลเก๒๗ ขอให้ธรรมะของพระพุทธเจ้าจงดารงมั่นตลอดกาลนาน ๗. ภควนฺตุ แปลว่า พระพุทธเจ้า, พระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้มีโชค รูปวิเคราะห์: ราคโทสโมหมานสฺส ภคฺคตฺตา ภคา อสฺส อตฺถีติ ภควา พระนามว่าพระผู้มี พระภาคเจ้า (ผู้มีโชค) เพราะทรงทาลายราคะ โทสะ โมหะ และมานะได้แล้ว (ภค + วนฺตุ) ภคสงฺขาตา โลกิยโลกุตฺต รสมฺปตฺติโย วนิ ภชิ เสวีติ ภควา พระนามว่าภควา เพราะทรงเสพสมบัติที่เป็นโลกิยะ และโลกุตตระที่เรียกว่าภคะ (ภค + วนุ เสวาย=เสพ-คบ + วนฺตุ) โสมนสฺสกุมารตฺตภาวาทีสุ จริมตฺต - ภาเว จ ภคสงฺขาต สิริ อิสฺสริย ยส จ วมิ อุคฺคิริ เขฬปิ ณฺฑ วิย อนเปกฺโข ฉฑฺฑยีติ ภควา พระนามว่า ภควา เพราะทรงคลายคือละไปไม่ใยดีในสิริ ความเป็น ใหญ่ และเกียรติยศที่เรียกว่าภคะ เหมือนก้อน เขฬะ ในคราวเสวยพระชาติเป็นโสมนัสสกุมารเป็นต้น และในอัตภาพสุดท้าย (ภค + วมุ อุคฺคิรเณ= คายออก + วนฺตุ) สม ปวตฺตตฺตา ภคสงฺขาเต สิเนรุยุคนฺธรอุตฺตรกุรุหิมวนฺตาทิภาชนโลเก วมี ตนฺนิวาสี สตฺตาวาสสมติกฺกมนโต ตปฺปฏิพทฺธฉนฺ ทราคปฺปหาเนน ปชหีติ ภควา พระนามว่า ภควา เพราะทรง คลาย คื อ ทรงละโอกาสโลกมี ภู เขาสิ เ นรุ ภู เ ขายุ คัน ธร อุ ตตรกุ รุท วี ปและปุ า หิ มพานต์ เ ป็น ต้ น ที่ ๒๔ ขุ.อิติ.อ.๓๘/๑๗๒. ๒๕ ขุ.พุทฺธ.อ.๖๐/๔๖. ๒๖ ขุ.พุทฺธ.อ.๖๒/๔๖. ๒๗ ขุ.พุทฺธ.อ.๑-๑๘/๔๓๕. ๔๐ เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน เรียกว่าภคะ เพราะเป็นไปร่วมกับนักษัตร์ (ที่เรียกว่า ภะ) ด้วยการละฉันทราคะอันเนื่องด้วยโอกาส โลกนั้น เพราะล่วงที่อยู่ของเหล่าสัตว์ผู้อยู่ในโอกาสโลกนั้น (ภค + วมุ อุคฺคิรเณ=คายออก + วนฺตุ)๒๘ อุทาหรณ์: อิติปิ โส ภควา อรห สมฺมาสมฺพุทฺโธ๒๙ แม้เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้โดยชอบด้วยพระองค์เอง เอก สมย ภควา สาวตฺถิย วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม๓๐ สมัยนั้น พระผู้มี พระภาคเจ้า ประทับอยู่ที่เชตะวันมหาวิหาร อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้กรุงสาวัตถี ภควาติ คารวาธิวจน, อปิจ ภคฺคราโคติ ภควา, ภคฺคโทโสติ ภควา, ภคฺคโมโหติ ภควา, ภคฺคมาโนติ ภควา คาว่า ภควา เป็นพระนามที่พุทธบริษัทเรียกโดยเคารพ อนึ่ง ทรงพระนามว่าภควา เพราะทรงทาลายราคะ โทสะ โมหะ และมานะได้๓๑ ๘. นาถ แปลว่า พระพุทธเจ้า, ผู้ทรงเป็นที่พึ่ง รูปวิเคราะห์ว่า: เวเนยฺยาน หิตสุข นาถติ อาสีสตีติ นาโถ พระนามว่านาถะ เพราะทรง หวังประโยชน์สุขแก่เวไนยสัตว์ (นาถ อาสีสเน=ปรารถนา-หวัง + อ) ต ต หิตปฏิปตฺตึ นาถติ ยาจตีติ นาโถ พระนามว่านาถะ เพราะทรงปฏิบัติเพื่อประโยชน์ นั้น ๆ (นาถ ยาจเน=ขอ-อ้อนวอน + อ) สพฺพสตฺเต นาถติ อภิภวตีติ นาโถ พระนามว่านาถะ เพราะทรงปกครองสรรพสัตว์ (นาถ อิสฺสริเย=เป็น ใหญ่ + อ) สตฺตาน หิตสุข นาถติ นิโยเชตีติ นาโถ พระนามว่านาถะ เพราะทรงบาเพ็ญประโยชน์สุขแก่ สัตว์โลกทั้งมวล (นาถ นิโยชเน=ประกอบ + อ) กิเลเส นาถติ อุปตาเปตีติ นาโถ พระนามว่านาถะ เพราะทรงคุกคามกิเลสให้เร่าร้อน (นาถ อุปตาเป=ทาให้ร้อน + อ) นาโถติ โลกปฏิสรโณ โลกสามิ โลก นายโกติ วุตฺต โหติ คาว่า นาโถ หมายถึง พระผู้ทรงเป็นที่พึ่งของชาวโลก เป็นเจ้าแห่งชาวโลก เป็นผู้นา ของชาวโลก๓๒ อุทาหรณ์: อุกฺกามุขปหฏฺโ จ ขทิรงฺคารสนฺนิโภ วิชฺชูปโม มหาวีโร โส เม นาโถ ๓๓ นิมนฺติโต พระพุทธเจ้าทรงมีรัศมีเรืองรองดุจถ่านเพลิงไม้ตะเคียน กระทบปากเบ้าทองคา เปรียบ ด้วยสายฟูา ทรงเป็นผู้มีความเพียรมาก พระองค์นั้น ข้าพเจ้าทูลนิมนต์แล้ว กรวิกรุโท นาโถ พฺรหฺมโฆโส ตถาคโต อุทฺธรนฺโต มหาทุกฺขา วิปฺปนฏฺเ อนายเก๓๔ พระ ตถาคตเจ้า ผู้ทรงเป็นที่พึ่ง มีพระสุรเสียงไพเราะ เหมือนเสียงนกการเวก มีพระสุรเสียงก้องดังเสียง พรหม ทรงถอนเวไนยสัตว์ผู้จะฉิบหายเพราะขาดผู้แนะนาขึ้นจากมหันตทุกข์ อถ รูปา อรูปา จ สุขทุกฺขา วิมุจฺจติ อิจฺเจว อภณิ นาโถ ติโลกสรโณ มุนีติ๓๕ เมื่อนั้น เขา ย่อมพ้นจากรูปภพ อรูปภพ สุข และทุกข์ พระพุทธเจ้าผู้เป็นมุนี เป็นที่พึ่งของโลกทั้งสาม ได้ตรัสไว้ อย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้ ๒๘ นีติ.ธาตุ. ๙๓๗. ๒๙ วิ.มหา. ๑/๑/๑. ๓๐ องฺ.สตฺตก.๒๓/๒๘/๒๒. ๓๑ ขุ.ม.๒๙/๕๐/๑๑๙. ๓๒ สารตฺถ.๑/๑๐. ๓๓ ขุ.อป.๓๒/๒๔๐/๔๔๖. ๓๔ ขุ.อป.๓๓/๖/๔๖. ๓๕ ขุ.อป.๓๓/๒๒๐/๒๐๗. เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน ๔๑ ๙. จกฺขุมนฺตุ แปลวว่า พระพุทธเจ้า, ผู้มีจักษุคือสัพพัญญุตญาณ รูปวิเคราะห์ว่า: จกฺขุ าณจกฺขุ อสฺสตฺถีติ จกฺขุมา พระนามว่าจักขุมัน ตุ เพราะทรงมี ปัญญาจักษุ พุทฺธธมฺมสมนฺต าณทิพฺพจกฺขุมสจกฺขุสงฺขาเตหิ ปญฺจหิ จกฺขูหิ สมนฺนาคตตฺตา จกฺขุมา พระนามว่าจักขุมันตุ เพราะทรงประกอบด้วยญาณจักษุ ๕ คือ พุทธจักษุ ธัมมจักษุ สมันตจักษุ ปัญญา จักษุ ทิพพจักษุ และมังสจักษุคือตาเนื้อ (จกฺขุ + มนฺตุ) คาว่า จักษุ นี้ มีขยายความว่า เทฺว จกฺขูนิ าณจกฺขุ เจว มสจกฺขุ จ, ตฺตถ าณจกฺขุ ปญฺจวิธ พุทฺธจกฺขุ ธมฺมจกฺขุ สมนฺตจกฺขุ ทิพฺพจกฺขุ ปญฺ าจกฺขูติ๓๖ จักษุ ๒ คือ ญาณจักษุ (หรือปัญญา จักษุ) และมังสจักษุ ในจักษุ ๒ อย่างนั้น ญาณจักษุมี ๕ คือ พุทธจักษุ ธัมมจักษุ สมันตจักษุ ทิพพจักษุ และปัญญาจักษุ อุทาหรณ์: ทุกฺขสฺสนฺตงฺกโร สตฺถา จกฺขุมา ปรินิพฺพุโต๓๗ พระศาสดาทรงทาที่สุดแห่ ง ทุกข์ มีพระจักษุ ปรินิพพานแล้ว สนฺตานนฺท เทวตา อากาเส ป วีสญฺ ินิโย เกเส ปกิริย กนฺทนฺติ พาหา ปคฺคยฺห กนฺทนฺติ ฉินฺนปาท วิย ปปตนฺติ อาวฏฺฏนฺติ วิวฏฺฏนฺติ อติขิปฺปํ ภควา ปรินิพฺพายิสฺสติ อติขิปฺปํ สุคโต ปริ- นิพฺพายิสฺสติ อติขิปฺปํ จกฺขุมา โลเก อนฺตรธายิสฺสตีติ๓๘ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบว่า มีเทวดาบาง พวกเป็นผู้เนรมิตแผ่นดินขึ้นบนอากาศ สยายผมประคองแขนร้องไห้คร่าครวญ ล้มเกลือกกลิ้งไปมา เหมือนคนขาขาด เพ้อราพันว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าด่วนปรินิพพาน พระสุคตเจ้าด่วนปรินิพพาน พระ จักขุมาของโลก จักด่วนปรินิพพานไปแล้ว อปฺเปกจฺเจ พาหา ปคฺคยฺห กนฺทนฺติ ฉินฺนปาท วิย ปปตนฺติ อาวฏฺฏนฺติ วิวฏฺฏนฺติ อติขิปฺปํ ภควา ปรินิพฺพุโต อติขิปฺปํ สุคโต ปรินิพฺพุโต อติขิปฺปํ จกฺขุมา โลเก อนฺตรหิโตติ๓๙ ภิกษุบางพวกที่ยังมี ราคะ พาประคองแขนร้องไห้คร่าครวญ ล้มเกลือกกลิ้งไปมา เหมือนคนขาขาด เพ้อราพันว่า พระผู้มี พระภาคเจ้าด่วนปรินิพพาน พระสุคตเจ้าด่วนปรินิพพาน พระจักขุมาของโลก ด่วนปรินิพพานไปแล้ว ๑๐. องฺคีรส แปลว่า พระพุทธเจ้า, พระอังคีรส, ผู้มีรัศมีแผ่ซ่านออกจากพระวรกาย รูปวิเคราะห์ว่า: องฺคโต สรีรโต นิคฺคตา รสฺมิ ยสฺส โส องฺคีรโส ๔๐ พระพุทธเจ้าพระนาม ว่าอังคีรสะ เพราะทรงมีพระรัศมีซ่านออกจากพระวรกาย สพฺพทา พยามปฺปภาย กายโต นิจฺฉรณวเสน องฺคีรโส พระนามว่าอังคีรสะ เพราะทรงมีพระรัศมีแผ่ซ่านออกจากพระวรกายตลอดเวลา องฺคีรสสฺส อิสิโน อปจฺจ องฺคีรโส พระนามว่าอังคีรสะ เพราะเป็นผู้สืบเชื้อสายของฤๅษีอังคีรส (องฺคีรส + ณ) องฺคมฺหิ กาเย รโส รสิ ทิปฺปเต ยสฺสาติ องฺคีรโส พระนามว่าอังคีรสะ เพราะทรงมีพระรัศมีซ่านออกจาก พระวรกาย (องฺค=ร่างกาย + อี + รส=รัศมี + ณ) อุทาหรณ์: องฺคีรสสฺส นมตฺถุ สกฺยปุตฺตสฺส สิรีมโต๔๑ ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ผู้ ศากยบุตร ผู้มีพระสิริ ๓๖ ส.สฬา.,ม.อ.๓/๑/๑. ๓๗ ที.ม.๑๐/๑๘๖/๑๐๙. ๓๘ ที.ม.๑๐/๒๐๐/๑๒๓. ๓๙ ที.ม.๑๐/๒๒๔/๑๓๗. ๔๐ ขุ.อป.อ.๒/๕๒/๘๑. ๔๑ ที.ปา.๑๑/๒๗๗/๑๗๐. ๔๒ เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน องฺคี ร ส ปสฺ ส วิโ รจมาน ตปนฺ ตมาทิจฺจ มิว นฺ ตลิ กฺ เขติ ๔๒ ท่า นจงดู พระพุ ทธเจ้าผู้ ทรง รุ่งเรืองอยู่ ดุจดวงอาทิตย์รุ่งโรจน์อยู่ในอากาศ ฉะนั้น เอวมฺปิ องฺคีรส ตฺว มหามุนิ อติโรจสิ ยสสา สพฺพโลกนฺติ๔๓ ข้าแต่พระมหามุนีอังคีรส พระองค์ทรงรุ่งเรืองล่วงโลกทั้งหมดด้วยพระยศ แม้ฉันนั้น ๑๑. มุนิ แปลว่า พระพุทธเจ้า, พระมุนี, ผู้รู้ รูปวิเคราะห์ว่า: อตฺตหิตญฺจ ปรหิตญฺจ มุนาติ ชานาตีติ มุนิ๔๔ พระนามว่ามุนิ เพราะ ทรงรู้ประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่น สพฺพธมฺเม มุนติ ชานาตีติ มุนิ พระนามว่ามุนิ เพราะทรงรู้ธรรม ทั้งปวง (มุน าเณ=รู้ + อิ) ขนฺธาทิโลเก ตุล อาโรเปตฺวา มิเณนฺโต วิย อิเม อชฺฌตฺติ กา ขนฺธา อิเม พาหิราติอาทินา นเยน อุโภ อตฺเถ มุนาตีติ มุนิ ชื่อว่ามุนิ เพราะรู้ประโยชน์ทั้ง ๒ เหล่านี้ในโลกมีขันธ์ เป็นต้น เหมือนยกตราชั่งขึ้นชั่งอยู่โดยนัยเป็นต้นว่า ขันธ์เหล่านี้เป็นภายใน เหล่านี้เป็นภายนอก โมน วุจฺจติ าณ กายโมเนยฺยาทีสุ อญฺ ตร วา ญาณหรือความเป็นผู้นิ่งทางกายเป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง ท่านเรียกว่า โมนะ เตน สมนฺนาคตตฺตา ปุคฺคโล มุนีติ วุจฺจติ บุคคลท่านเรียกว่ามุนิ เพราะประกอบ ด้วยญาณหรื อความเป็ นผู้นิ่งนั้น (สงบนิ่งด้ว ยปัญญารู้เท่าทันกิเลส) โมนมสฺส อตฺถีติ มุนิ ชื่อว่ามุนิ เพราะมีโมนะ (โมน=ญาณหรือความเป็นผู้นิ่ง + อี) อตฺตโน จิตฺต มุนาติ พนฺธติ ราคโทสาทิวส คนฺตุ น เทตีติ มุนิ ชื่อว่ามุนิ เพราะผูกจิตของตนไม่ให้ตกไปสู่อานาจของราคะและโทสะเป็นต้น (มุ พนฺธเน= พัน-ผูก + นา + อิ) มุนิเป็นได้ทั้งพระนามที่ใช้เรียกพระพุทธเจ้า และหมายถึงผู้รู้หรือนั กปราชญ์ทั่วไปได้ เช่นกัน ขึ้นอยู่กับบริบทของประโยคนั้น ๆ มุนี ติ หิ อคาริ ย มุนิ อนคาริย มุนิ เสกฺขมุนิ อเสกฺ ขมุนิ ปจฺเจกมุ นิ มุนิมุ นีติ อเนกวิธ า ๔๕ มุนโย คาว่า มุนิ คือ (๑) อคาริยมุนิ กัลยาณปุถุชน (๒) อนคาริยมุนิ บรรพชิตผู้มีจาตุปาริสุทธิศีล สมบูร ณ์ (๓) เสกขมุนิ เสกขบุ คล ๗ จาพวกทั้งคฤหั ส ถ์ห รือบรรพชิต (๔) อเสกขมุนิ คฤหั ส ถ์ห รือ บรรพชิตผู้บรรลุธรรมขั้นอรหัตตผล (๕) ปัจเจกมุนิ พระปัจเจกพุทธเจ้า (๖) มุนิมุนิ พระพุทธเจ้า อุทาหรณ์: พหุนฺน วต อตฺถาย โพธิมชฺฌคา มุนิ ๔๖ พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้โพธิญาณ เพื่อ ประโยชน์แก่ชนหมู่มากหนอ โมเนยฺยธมฺมสมนฺนาคเมน มุนิ๔๗ พระนามว่ามุนิ เพราะทรงประกอบด้วยโมเนยยธรรม (คือพระปัญญาญาณ) อสฺโสสิ โข ถุลฺลนนฺทา ภิกฺขุนี อยฺเยน กิร มหากสฺสเปน อยฺโย อานนฺโท เวเทหมุนิ กุมารก-วาเทน อปสาทิโตติ๔๘ ภิกษุณีถุลลนันทาได้ยินแล้วคิดว่า ทราบว่าพระอานนท์ผู้เป็นเจ้า ผู้เป็น มุนีปราด เปรื่อง ถูกพระคุณเจ้ามหากัสสปะรุกรานด้วยการกล่าวว่าเป็นเด็ก ๔๒ ส.ส.๑๕/๑๒๓/๙๗. ๔๓ ส.ส.๑๕/๒๑๙/๒๓๖. ๔๔ ขุ.เปต.อ.๓๗๐/๑๗๓. ๔๕ ขุ.อิติ.อ. ๓๘/๑๗๒. ๔๖ ส.ส.๑๕/๒๒๐/๒๓๖. ๔๗ ขุ.อิติ.อ.๙๙/๓๖๐. ๔๘ ส.นิ.๑๖/๑๕๔/๒๐๙. เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน ๔๓ มุนิ ทณฺฑ โอตฺถรก ตตฺถ อนุญฺ าสิ๔๙ พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตผ้ากรองน้ามีขอบ ในที่ นั้น ๑๒. โลกนาถ แปลว่า พระพุทธเจ้า, พระโลกนาถ, ผู้ทรงเป็นที่พึ่งของสัตว์โลก รูปวิเคราะห์: โลกาน โลเกสุ วา นาโถ โลกนาโถ พระนามว่าโลกนาถะ เพราะทรงเป็นที่ พึ่งของชาวโลก (โลก + นาถ ยาจโนปตาปิสฺสริยาสีสาสุ=ขอร้อง, ทาให้ร้อน, เป็นใหญ่, ปรารถนา + อ) อุทาหรณ์: เตน วิตฺถาริก อาสิ โลกนาถสฺส สาสน๕๐ เพราะเหตุนั้น พระศาสนาของพระ โลกนาถ จึงแผ่ไปอย่างกว้างขวาง เอว โลกนาถสฺส กรุณาคุณ อาวชฺชิตฺวา กเถตพฺพ๕๑ ภิกษุควรราลึกถึงพระกรุณาคุณของ พระพุทธเจ้าอย่างนี้แล้ว พึงกล่าวเถิด อจฺจนฺตสุขุมาโล โลกนาโถ เทววิมานสทิส คนฺธกุฏึ ปหาย ตตฺถ ตตฺถ วิปฺปกิณฺณฉาริกาย ภินฺนภาชนติณปลาสกุกฺกุฏสูกรวจฺจาทิสงฺกิลิฏฺ าย สงฺการฏฺ านสทิสาย กุมฺภการสาลาย ติณสนฺถาร สนฺถริตฺวา ปํสุกูลจีวร ปญฺ เปตฺวา เทววิมานสทิส ทิพฺพคนฺธสุคนฺธ คนฺธกุฏึ ปวิสิตฺวา นิสีทนฺโต วิย นิสีทิ๕๒ พระโลกนาถทรงสุขุมาลชาติอย่างยิ่ง ทรงละพระคันธกุฏีเป็นเช่นกับเทพวิมาน ทรงปูลาด ถัดคือหญ้า ในศาลาช่างหม้อ ซึ่งมีขี้เถ้า เรี่ยราดไปทั่ว สกปรกด้วยภาชนะแตก หญ้าแห้ง ขี้ไก่ และขี้ สุกรเป็นต้น เป็นเช่นกับที่ทิ้งขยะ ทรงปูบังสุกู ลจีวรประทับนั่ง ดุจเสด็จเข้าพระมหาคันธกุฎีอันมีกลิ่น ทิพย์เช่นกับเทพวิมานแล้วประทับนั่งฉะนั้น มหาภินีหารโต ปฏฺ าย หิ ยาว มหาปรินิพฺพานา โลกหิตตฺถเมว โลกนาถา ติฏฺ นฺติ๕๓ ตั้งแต่เสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์จนถึงมหาปรินิพพาน พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงดารงอยู่เพื่อเกื้อกูล ชาวโลกเหมือนกัน ๑๓. อนธิวร แปลว่า พระพุทธเจ้า, ผู้ประเสริฐสุด รูปวิเคราะห์ว่า: อจฺจนฺตวโร อธิวโร นาสฺส อตฺถีติ อนธิวโร, น ตโต อธิโก วโร อตฺถีติ วา อนธิวโร, อนุตฺตโรติ อตฺโถ๕๔ พระพุทธเจ้าพระนามว่าอนธิวระ เพราะไม่มีใครยิ่งกว่า ได้แก่ ผู้ประเสริฐ ที่สุด อตฺตโน อธิกสฺส กสฺสจิ อภาวโต อนธิวโร พระนามว่าอนธิวระ เพราะไม่มีผู้ ใดประเสริฐยิ่งกว่า พระองค์ (น + อธิวร) อุ ท าหรณ์ : พฺ ร หฺ ม า จ โลกาธิ ป ตี สหมฺ ป ติ กตญฺ ช ลี อนธิ ว ร อยาจถ สนฺ ตี ธ สตฺ ต า อปฺปรชกฺขชาติกา เทเสหิ ธมฺม อนุกมฺปิม ปช๕๕ ท้าวสหัมบดีพรหมผู้เป็นประธานในโลกทั้ง ๓ ประนม อัญชลีกราบทูลอาราธนาพระพุทธเจ้าว่า ในโลกนี้ เหล่าสัตว์ผู้เกิดมามีนัยน์ตาเปื้อนธุลีเพียงน้อยนิด มี อยู่ ขอพระองค์ทรงอาศัยความเอ็นดูหมู่สัตว์นี้แล้ว โปรดทรงแสดงธรรมด้วยเถิด ๔๙ วิ.จู.๗/๒๙๓/๕๔. ๕๐ ขุ.อป.๓๓/๕/๔๖๗. ๕๑ วิ.อ.๑/๕๕/๒๗๖. ๕๒ ม.อุ.อ.๓/๓๔๒/๒๑๐. ๕๓ สารตฺถ.๑/๑๑. ๕๔ ขุ.พุทฺธ.อ.๑/๑๗. ๕๕ ขุ.อป.๓๓/๑/๔๓๕. ๔๔ เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน ตสฺมา กายา อจฺฉรา กามวณฺณินี อิธาคตา อนธิวร นมสฺสิตุ๕๖ ดิฉัน (เทพธิดาสิริมา) เป็น นางอัปสรซึ่งมีรูปร่างน่าพึงใจ ประสงค์จะนมัสการพระพุทธเจ้า จึงมายังโลกมนุษย์นี้ อิธ อนธิวรา พุทฺธา อภิสมฺพุทฺธา วิโรจนฺติ๕๗ ในสถานที่นี้ พระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้ล้าเลิศ ตรัสรู้ด้วยพระองค์ ทรงรุ่งเรืองอยู่ ๑๔. มเหสิ แปลว่า พระพุทธเจ้า, ผู้ทรงแสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ รูปวิเคราะห์ว่า: มหนฺเต สีลสมาธิปญฺ าวิมุตฺติวิมุตฺติ าณทสฺสนกฺขนฺเธ เอสิ คเวสีติ ๕๘ มเหสิ พระพุทธเจ้าพระนามว่ามเหสิ เพราะทรงแสวงหาศีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิมุตติขันธ์ และวิมุตติญาณทัสสนขันธ์อันยิ่งใหญ่ มหนฺตาน สีลกฺขนฺธาทีน เอสนโต คเวสนโต มเหสิ ทรงพระนาม ว่ามเหสิ เพราะทรงแสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่มีศีลขันธ์เป็นต้น (มหนฺต + เอส คเวสเน=แสวงหา + อิ) มหนฺโต อีโส วิภูติ เอตสฺสาติ มเหสิ พระนามว่ามเหสิ เพราะทรงมีความเป็นใหญ่ยิ่ง (มหนฺต + อีส + อิ) อุทาหรณ์: ตสฺส มเหสิโน สยมฺภุสฺส จีวรตฺถาย โขมวตฺถ มยา ทินฺน ๕๙ ข้าพเจ้าได้ถวายผ้า โขมะเพื่อทาจีวร แด่พระพุทธเจ้าผู้สยัมภูพระองค์นั้น เตน โข ปน สมเยน มนุสฺสา อิม คาถ คายนฺติ ทณฺเฑเนเก ทมยนฺติ องฺกุเสหิ กสาหิ จ อทณฺเฑน อสตฺเถน นาโค ทนฺโต มเหสินาติ๖๐ สมัยนั้น คนทั้งหลายพากันขับร้องคาถานี้ว่า คนฝึกช้าง และคนฝึกม้า บางพวกมีท่อนไม้ ขอ และแส้จึงจะฝึกได้ แต่พระพุทธเจ้าไม่ต้องใช้ ท่อนไม้ ไม่ต้องใช้ ศัสตรา ทรงฝึกช้างได้เลย ๑๕. วินายก แปลว่า พระพุทธเจ้า, ผู้แนะนา, ผู้นาสัตว์ไปสู่นิพพาน รูปวิเคราะห์ว่า: พหูหิ วินยนูปาเยหิ สตฺเต วิเนติ ทเมตีติ วินายโก ๖๑ พระพุทธเจ้า พระ นามว่าวินายกะ เพราะทรงฝึกสัตว์ทั้งหลายด้วยอุบายเครื่องฝึกเป็นอันมาก หิต วินยติ อนุสาสตีติ วินายโก พระนามว่าวินายกะ เพราะทรงแนะนาประโยชน์เกื้อกูล (วิ + นี ปาปุณเน=นาไป-ถึง + ณฺวุ) อุทาหรณ์ : ปพฺ พ ชฺช โคตมี ยาจิ นานุ ญฺ าสิ ตถาคโต กปิ ล วตฺถุ เวสาลึ อคมาสิ ๖๒ วินายโก เรื่องพระนางโคตมีทูลขอบรรพชา พระตถาคตไม่ทรงอนุญาต และเรื่องพระพุทธเจ้าเสด็จ จากกรุงกบิลพัสดุ์ ไปยังกรุงเวสาลี กปิลวตฺถุ เวสาลึ อคมาสิ วินายโก๖๓ เรื่องพระพุทธเจ้าเสด็จจากกรุงกบิลพัสดุ์ ไปยังกรุง เวสาลี ฉนฺโน ตเยว อาปตฺตึ ปฏิกาตุ น อิจฺฉติ อุกฺเขปนาปฺปฏิกมฺเม อาณาเปสิ วินายโก๖๔ พระ ฉันนะไม่ปรารถนาจะรู้เห็นอาบัติ พระพุทธเจ้าผู้อุดมรับสั่งให้ลงอุกเขปนียกรรม เพราะไม่ เห็นว่าเป็น อาบัติในกรุงโกสัมพี ๕๖ ขุ.วิ.๒๖/๑๓๙/๒๑. ๕๗ ขุ.ชา.๒๗/๖๙/๒๗๘. ๕๘ ขุ.อป.อ.๒/๒๗/๗. ๕๙ ขุ.อป.อ.๒/๒๗/๗. ๖๐ วิ.จู.๗/๓๔๒/๑๓๕. ๖๑ ขุ.พุทฺธ.อ.๙/๖๐. ๖๒ วิ.จู.๗/๔๓๖/๒๖๙. ๖๓ วิ.จู.๗/๖๑๓/๓๗๔. ๖๔ วิ.จู.๖/๗๔/๙๘. เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน ๔๕ ๑๖. สมนฺตจกฺขุ พระพุทธเจ้า, ผู้ทรงมีพุทธญาณรอบทิศ รูปวิเคราะห์ว่า: สมนฺตจกฺขุสงฺขาต สพฺพญฺญุตญฺ าณ อสฺสาตฺถีติ สมนฺตจกฺขุ พระพุทธ- เจ้า พระนามว่าสมัน ตจั กขุ เพราะทรงมีพระสั พพัญญุตญาณคือพระสมันตจักษุ สมนฺตจกฺขุ จุทฺทส พุทฺธ าณานิ, ทุกฺเข าณ๖๕ พุทธญาณ ๑๔ ชื่อว่าสมันตจักขุ ได้แก่ ปัญญาเห็นทุกขสัจ สมนฺตจกฺขุ วุ จฺ จ ติ สพฺ พ ญฺ ญุ ต าณ ๖๖ พระสั พ พั ญ ญุ ต ญาณท่ า นเรี ย กว่ า สมั น ตจั ก ขุ สพฺ พ ธมฺ ม ทสฺ ส นสี ล ตาย สมนฺตจกฺขูติ ลทฺธนาเมน สพฺพญฺญุต าเณน สมนฺนาคตตฺตา สมนฺตจกฺขุ พระนามว่าสมันตจักขุ เพราะ ทรงมีปรกติเห็นธรรมทั้งปวง และเพราะทรงประกอบด้วยพระสัพพัญญุตญาณ (สมนฺต + จกฺขุ) อุทาหรณ์: วิวฏจฺฉโทสิ สมนฺตจกฺขุ วิโรจสิ วิมโล สพฺพโลเก๖๗ ข้าแต่พระพุทธเจ้า พระองค์ผู้มีกิเลสดุจหลังคาที่เปิดแล้ว เป็นผู้ปราศจากมลทิน รุ่งโรจน์อยู่ในโลกทั้งปวง ต สาวก สกฺก มยมฺปิ สพฺเพ อญฺ าตุมิจฺฉาม สมนฺตจกฺขุ๖๘ ข้าแต่พระพุทธเจ้าผู้ศากยะ แม้ข้าพระองค์ทั้งหมดปราราถนาจะทราบถึงพระสาวกรูปนั้น ๑๗. สุคต แปลว่า พระพุทธเจ้า, พระสุคตเจ้า, ผู้มีญาณอันงดงาม, ผู้เสด็จไปดีแล้ว รูปวิเคราะห์ว่า: สุคโตติ โสภณคมนตฺตา สุนฺทร าน คตตฺตา, สมฺมาคตตฺตา สุคโต ๖๙ คา ว่า สุคโต มีความหมายว่า พระพุทธเจ้า พระนามว่าพระสุคต เพราะเสด็จไปดี เสด็จไปสู่ที่ดี เสด็จไป โดยชอบ อรหตฺตมคฺเคน เย กิเลสา ปหีนา เต กิเลเส น ปุเนติ น ปจฺเจติ น ปจฺจาคจฺฉตีติ สุคโต ๗๐ พระ นามว่าสุคตะ เพราะทรงละกิเลสด้วยอรหัตตมรรคญาณแล้วไม่ทรงกลับมาสู่กิเลสนั้นอีก โสภน คต าณมสฺสาติ สุคโต พระนามว่าสุคตะ เพราะทรงมีญาณอันงดงาม สสารา สุฏฺฐุ อปุนราวตฺติยา คตวาติ สุคโต พระนามว่าสุคตะ เพราะเสด็จไปจากสงสารแล้วไม่กลับมาอีก สปรสุขสิทฺธตฺถ สมฺมา คตวาติ สุคโต พระนามว่าสุคตะ เพราะเสด็จไปเพื่อยังประโยชน์ตนและผู้อื่นให้สาเร็จด้วยดี (สุ + คมุ คติมฺหิ= ไป + ต) อุทาหรณ์: ติฏฺ ตุ สุคโต กปฺปํ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย อตฺถาย หิตาย สุขายเทวมนุสฺสาน๗๑ ขอพระสุคตเจ้าโปรดดารงพระชนม์ชีพอยู่ตลอดกัป เพื่อเกื้อกูลแก่ชนหมู่มาก เพื่อความสุขแก่ชนหมู่มาก เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก เพื่อประโยชน์ เพื่ อเกื้อกูล เพื่อควาสุขแก่เทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย ๑๘. ภูริปญฺ แปลว่า พระพุทธเจ้า, ผู้มีปัญญามาก, ผู้มีปัญญากว้างดุจแผ่นดิน รูปวิเคราะห์ว่า: ภูริ ปหุกา ปญฺ า อสฺสาติ วา ภูริสมา ปญฺ า อสฺส อตฺถีติ ภูริปญฺโ พระพุทธเจ้าพระนามว่าภูริปัญญะ เพราะทรงมีปัญญามาก หรือทรงมีปัญญากว้างใหญ่ดุจแผ่นดิน (ภูริ + ปญฺ า + ณ) ภูริปญฺโ ติ ภูริปญฺโ มหาปญฺโ ติกฺขปญฺโ ปุถุปญฺโ หาสปญฺโ ชวนปญฺโ ๖๕ ขุ.ป.๓๑/๑๒๑/๑๓๗, ๒๐๘/๒๔๖. ๖๖ ขุ.ม.๒๙/๑๕๖/๒๙๙. ๖๗ ขุ.สุ.๒๕/๓๘๑/๔๐๖. ๖๘ ขุ.เถร.๒๖/๑๒๗๔/๔๒๗. ๖๙ ขุ.อุ.อ.๑๐/๙๒. ๗๐ วิ.มหา.อ.๑/๑/๑๐๘. ๗๑ วิ.จู.๗/๔๔๓/๒๘๐. ๔๖ เอกสารประกอบการสอนวิชาอภิธาน นิพฺเพธิกปญฺโ ๗๒ คาว่า ภูริปญฺโ ได้แก่ ผู้มีปัญญากว้างขวางดุจแผ่นดิน มีปัญญามาก มีปัญญาแก่ กล้า มีปัญญาสูง มีปัญญาดี มีปัญญาเร็ว มีปัญญากาจัดกิเลส อุทาหรณ์ : ธีโร หเว สตฺตยุค ปุเนติ ยสฺมึ กุเล ชายติ ภูริปญฺโ ๗๓ พระพุทธเจ้าผู้เป็น นักปราชญ์ ทรงเกิดในตระกูลใด ย่อมทรงทาตระกูลนั้นให้บริสุทธิ์ถึง ๗ ชั่วคน ๑๙. มารชิ แปลว่า พระพุทธเจ้า, ผู้ชนะมารทั้ง ๕ มีกิเลสมารเป็นต้น รูปวิเคราะห์ว่า : กิเลสาทิเก ปญฺจ มาเร ชิตวาติ มารชิ พระพุทธเจ้าพระนามว่ามารชิ เพราะทรงชนะมารทั้ง ๕ มีกิเลสมารเป็นต้น (มาร + ชิ ชเย=ชนะ + กฺวิ) อุทาหรณ์: เทวปุตฺโต กิเลโส จ อภิสงฺขารมารโก ขนฺธมาโร มจฺจุมาโร มาโร ปญฺจวิโธ ๗๔ มโต นักปราชญ์รู้ว่ามารมี ๕ อย่าง คือ เทวปุตตมาร กิเลสมาร อภิสังขารมาร ขันธมาร และมัจจุมาร ๒๐. นรสีห แปลว่า พระพุทธเจ้า, พระนรสีห์, ผู้ปกครองมนุษย์และเทวดา รูปวิเคราะห์ว่า: นราน สีโห เสฏฺโ นรสีโห พระพุทธเจ้าพระนามว่านรสีหะ เพราะทรง ประเสริฐกว่าเทวดาและมนุษย์ ปรปฺปวาทสหณโต มทฺทนโต นรสี โห พระนามว่านรสีหะ เพราะทรง หักล้างวาทะของเจ้าลัทธิอื่นได้ สีโห วิยาติ สีโห สหตีติ วา สีโห นโร จ โส สีโห จาติ นรสีโห พระนาม ว่านรสีห ะ เพราะทรงเป็ นดุจสี หะหรื อทรงเป็นผู้ ปกครอง นราน สี โห นรสีโ ห พระนามว่านรสี ห ะ เพราะทรงประเสริฐกว่าคนทั้งหลาย ยถา หิ สีโห มิคราชา จตูหิ ทา าหิ สพฺพสตฺเต หึสติ อภิภวติ ตถา ภควา สีลปญฺ าปุญฺ ทฺธิสงฺขาเตหิ จตูหิ ธมฺเมหิ สพฺพโลก หึสติ อภิภวติ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงชนะ ชาวโลกด้วยธรรม ๔ ประการ คือ ศีล ปัญญา บุญ อิทธิปาฏิหาริย์ ได้ เหมือนกับราชสีห์ชนะหมู่สัตว์ ด้วยเขี้ยวทั้ง ๔ ของตนได้ ฉะนั้น (นร + สห ขนฺตฺยภิภเวสุ=อดทน, ปกครอง-ครอบงา + อ) อุทาหรณ์: รสิชาลวิตโต นรสีโห เอส หิ ตุยฺห ปิตา นรสีโห๗๕ พระพุทธเจ้าผู้ทรงแผ่ซ่าน ไปด้วยพระข่ายแห่งพระรัศมี เพราะพระพุทธเจ้าพระองค์นี้ทรงเป็นพระชนกของพระองค์ นิโรธสมาปตฺติโย วุฏฺ าย นรสีโห สีห โอโลเกตฺวา ภิกฺขุสงฺเฆปิสฺส จิตฺตปฺปสาโท โหตูติ สงฺโฆ อาคจฺฉตูติ จินฺเตสิ๗๖ พระพุทธเจ้าเสด็จออกจากนิโรธสมาบัติแล้วทรงตรวจดูราชสีห์โพธิสัตว์แล้ว ทรงดาริว่า ขอราชสีห์นี้จงมีจิตเลื่อมใสแม้ในหมู่สงฆ์ ขอสงฆ์จงมา ๒๑. นรวร แปลว่า พระพุทธเจ้า, ผู้ประเสริฐกว่าเทวดาและมนุษย์ รูปวิเคราะห์: นราน สพฺพปุริสาน เสฏฺ ตฺตา นรวโร, นราน วา เทวมนุสฺสาน เสฏฺ ตฺตา นรวโร พระพุทธเจ้าพระนามว่านรวระ เพราะทรงประเสริฐกว่านรชน หรือ เพราะทรงประเสริฐกว่า เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย (นร + วร) นรศัพท์ หมายถึงเทวดาและมนุษย์ เหมือนในสั งยุตตนิกาย สคาถวรรคว่า สีเล ปติฏฺ าย นโร สปญฺโ ๗๗ เทวดาและมนุษย์ผู้มีปัญญา ตั้งมั่นอยู่ในศีล อุทาหรณ์: นรวโร จ โส อคฺคปุคฺคลตฺตา ทมฺมาน ทเมตพฺพาน เวเนยฺยาน นิพฺพานาภิมุข สารณโต ทมฺมสารถิ จาติ นรวรทมฺมสารถิ๗๘ พระผู้ทรงพระนามว่านรวรทัมมสารถี เพราะทรงพระนาม ๗๒

Use Quizgecko on...
Browser
Browser