พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 PDF
Document Details

Uploaded by AffluentBowenite9152
2546
Tags
Summary
This document is the พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546, which translates to the Ministry of Education Administration Regulations Act, B.E. 2546. It concerns regulations and administration of the Ministry of Education in Thailand.
Full Transcript
พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖...
พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นปีที่ ๕๘ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชกากระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖” มาตรา ๒๑ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติระเบียบการปฏิบัติราชการของทบวงมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๒๐ (๒) พระราชบัญญัติระเบียบการปฏิบัติราชการของทบวงมหาวิทยาลัย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗ (๓) พระราชบัญญัติคณะกรรมการการประถมศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๓ (๔) พระราชบัญญัติคณะกรรมการการประถมศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ (๕) พระราชบัญญัติคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ บรรดากฎหมาย กฎ ข้อบังคับอื่นในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ หรื อซึ่งขัดหรือแย้งกับ บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ๔ ให้นากฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและกฎหมายว่าด้วยการศึกษา แห่งชาติมาใช้บังคับแก่กระทรวงศึกษาธิการโดยอนุโลม เว้นแต่ในพระราชบัญญัตินี้จะได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น มาตรา ๕ กระทรวงศึกษาธิการมีอานาจหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมาย ว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ๑ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๐/หน้า ๑/ตอนที่ ๖๒ ก/๖ กรกฎาคม ๒๕๔๖ -๒- มาตรา ๖ ให้จัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ (๑) ระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง (๒) ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา (๓) ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล มาตรา ๗ การกาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือนของข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการ ให้คานึงถึง คุณวุฒิ ประสบการณ์ มาตรฐานวิชาชีพ ลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบ และคุณภาพของงาน แล้วแต่กรณี การบรรจุและการแต่งตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่งหน้าที่ราชการต่ าง ๆ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย การนั้น มาตรา ๘ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจ ออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งให้มีอานาจตีความและวินิจฉัย ชี้ขาดปัญหาอันเกี่ยวกับการปฏิบัติการ อานาจหน้าที่ของผู้ดารงตาแหน่งหรือหน่วยงานต่าง ๆ ตามที่กาหนดไว้ ในบทเฉพาะกาลของพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้ หมวด ๑ การจัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง ส่วนที่ ๑ บททั่วไป มาตรา ๙ ให้จัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง ดังนี้ (๑) สานักงานปลัดกระทรวง (๒) ส่วนราชการที่มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ มาตรา ๑๐ การแบ่งส่วนราชการในส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ นี้ โดยให้มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ (๑) สานักงานรัฐมนตรี (๒) สานักงานปลัดกระทรวง (๓) สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (๔) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (๕) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (๖) สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา -๓- ส่วนราชการตาม (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) มีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นกรมตามกฎหมายว่าด้วย ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา ๑๑ การแบ่งส่วนราชการภายในส่วนราชการตามมาตรา ๑๐ ให้ออกเป็นกฎกระทรวงและ ให้ระบุอานาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการไว้ในกฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการดังกล่าว มาตรา ๑๒ กระทรวงศึกษาธิการมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และกาหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงศึกษาธิการ ให้สอดคล้องกับนโยบายที่ คณะรั ฐ มนตรี แ ถลงไว้ ต่อ รั ฐ สภา หรื อที่ คณะรัฐ มนตรีก าหนดหรือ อนุมั ติ โดยจะให้ มี รัฐ มนตรีช่ ว ยว่ าการ กระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการก็ได้ ในกรณีที่มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ การสั่งหรือการปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีช่วย ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมอบหมาย มาตรา ๑๓ ในกรณีที่ส ภาการศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษา และคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา เสนอความเห็ น หรื อ ค า แนะน าต่ อ รั ฐ มนตรี ว่ า การ กระทรวงศึกษาธิการแล้ว ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนาความเห็นหรือคาแนะนามาประกอบการ พิจารณาเพื่อให้เหมาะสมกับการศึกษาของชาติ มาตรา ๑๔ ให้มีสภาการศึกษา มีหน้าที่ (๑) พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับ การศึกษาทุกระดับ (๒) พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาให้ดาเนินการเป็นไปตามแผนตาม (๑) (๓) พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา (๔) ดาเนินการประเมินผลการจัดการศึกษาตาม (๑) (๕) ให้ความเห็นหรือคาแนะนาในเรื่องกฎหมายและกฎกระทรวงที่เกี่ยวกับการศึกษา การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานการศึกษา ให้เสนอต่อคณะรัฐมนตรี นอกจากหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้สภาการศึกษามีหน้าที่ให้ความเห็นหรือคาแนะนาแก่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารหรื อ คณะรั ฐ มนตรี และมี อ านาจหน้ า ที่ อื่ น ตามที่ ก ฎหมายก าหนด หรื อ ตามที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมอบหมาย ให้ คณะกรรมการสภาการศึกษา ประกอบด้วยรัฐ มนตรีเป็นประธานกรรมการโดยตาแหน่งจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กรวิช าชีพ พระภิกษุ ซึ่งเป็ น ผู้ แทนคณะสงฆ์ ผู้ แทนคณะกรรมการกลางอิสลามแห่ งประเทศไทย ผู้ แทนองค์กรศาสนาอื่น และ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมีจานวนไม่น้อยกว่าจานวนกรรมการประเภทอื่นรวมกัน จานวนกรรมการ คุณสมบั ติ หลั กเกณฑ์ และวิธีการสรรหา การเลือกกรรมการ วาระการดารง ตาแหน่ง และการพ้นจากตาแหน่งของกรรมการให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง -๔- ให้สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาทาหน้าที่รับผิดชอบงานเลขานุการของสภาการศึกษาและมี อานาจหน้าที่ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการตามมาตรา ๑๑ โดยมีเลขาธิการสภา การศึกษาทาหน้าที่เป็นกรรมการและเลขานุการของสภาการศึกษา มาตรา ๑๕ ให้มีคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีห น้าที่พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนา มาตรฐาน และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษาแห่งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐาน และเสนอแนะในการออกระเบียบ หลักเกณฑ์ และประกาศที่เกี่ยวกับการบริหารงานของสานักงาน นอกจากหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่ให้ความเห็นหรือให้ คาแนะนาแก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการหรือคณะรัฐมนตรี และมีอานาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมาย กาหนดหรือตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมอบหมาย ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย กรรมการโดยตาแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กรวิ ชาชีพ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมี จานวนไม่น้อยกว่าจานวนกรรมการประเภทอื่นรวมกัน จานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหน่งของกรรมการให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ให้ ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ท าหน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบงานเลขานุ ก ารของ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งส่ว น ราชการตามมาตรา ๑๑ โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทาหน้าที่เป็นกรรมการและ เลขานุการของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรา ๑๖ ให้มีคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และ มาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษาแห่งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึ กษา โดยคานึงถึง ความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับปริญญา ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้ง สถานศึกษาแต่ละแห่งและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเสนอแนะในการออกระเบียบ หลักเกณฑ์ และประกาศที่ เกี่ยวกับการบริหารงานของสานักงาน นอกจากหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าที่ให้ความเห็นหรือให้คาแนะนา แก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการหรือคณะรัฐมนตรี และมีอานาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกาหนดหรือ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมอบหมาย ตลอดทั้งให้มีอานาจเสนอแนะและให้ความเห็นในการ จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปให้แก่สถานศึกษาระดับปริญญา ทั้งที่เป็นสถานศึกษาในสังกัดและสถานศึกษาในกากับ แก่คณะรัฐมนตรี ให้ คณะกรรมการการอุดมศึกษาประกอบด้วย กรรมการโดยตาแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ และกรรมการผู้ ทรงคุณวุฒิ ซึ่งมี จานวนไม่น้อยกว่าจานวนกรรมการประเภทอื่นรวมกัน -๕- จานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหน่งของกรรมการ ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทาหน้าที่รับผิดชอบงานเลขานุการของคณะกรรมการการ อุดมศึกษา และมีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการตามมาตรา ๑๑ โดยมี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาทาหน้าที่เป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการการอุดมศึกษา มาตรา ๑๗ ให้มีคณะกรรมการการอาชีว ศึกษา มีห น้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒ นา มาตรฐาน และหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับ ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ แผนการศึกษาแห่งชาติ การส่ งเสริ มประสานงานการจัดการอาชีว ศึกษาของรัฐ และเอกชน การสนับสนุน ทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาอาชีวศึกษา โดยคานึงถึงคุณภาพและความ เป็นเลิศทางวิชาชีพ และเสนอแนะในการออกระเบียบ หลักเกณฑ์ และประกาศที่เกี่ยวกับการบริหารงานของ สานักงาน เพื่อประโยชน์ในการพิจารณานโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอาชีวศึกษาระดับปริญญา ให้ คณะกรรมการการอาชี ว ศึ กษาพิ จ ารณาให้ ส อดคล้ อ งกั บนโยบาย แผนพั ฒ นา และเป็น ไปตามมาตรฐาน การศึกษาระดับอุดมศึกษาของคณะกรรมการการอุดมศึกษา นอกจากหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการการอาชีวศึกษามีหน้าที่ให้ความเห็นหรือให้คาแนะนา แก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการหรือคณะรัฐมนตรี และมีอานาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกาหนดหรือ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมอบหมาย ให้คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประกอบด้วย กรรมการโดยตาแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ และกรรมการผู้ทรงคุณ วุฒิซึ่งมี จานวนไม่น้อยกว่าจานวนกรรมการประเภทอื่นรวมกัน จานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่ง และการพ้นจากตาแหน่งของคณะกรรมการ ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ให้สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทาหน้าที่รับผิดชอบงานเลขานุการของคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา และมีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการตามมาตรา ๑๑ โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทาหน้าที่เป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา มาตรา ๑๘ สภาการศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา และ คณะกรรมการการอาชีวศึกษา อาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานเพื่อพิจารณาเสนอความเห็นใน เรื่ อ งหนึ่ ง เรื่ อ งใด หรื อ มอบหมายให้ ป ฏิ บั ติ ก ารอย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใดอั น อยู่ ใ นอ านาจหน้ า ที่ ข องสภาหรื อ คณะกรรมการก็ได้ มาตรา ๑๙ สานักงานรัฐมนตรีมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรีซึ่ง เป็ นข้าราชการการเมืองเป็ นผู้ บังคับ บัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของส านักงาน รัฐมนตรีซึ่งหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และจะให้มีผู้ช่วยเ ลขานุการ -๖- รัฐ มนตรี ซึ่งเป็ น ข้าราชการการเมืองคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นผู้ ช่ว ยสั่ งหรือปฏิบัติราชการแทนเลขานุการ รัฐมนตรีก็ได้ มาตรา ๒๐ ให้กระทรวงศึกษาธิการมีผู้ตรวจราชการของกระทรวง เพื่อทาหน้าที่ในการตรวจ ราชการ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตาม และประเมินผลระดับนโยบาย เพื่อนิเทศให้คาปรึกษาและแนะนาเพื่อ การปรับปรุงพัฒนา ในระดั บ ส านั ก งานคณะกรรมการหรื อส่ ว นราชการที่เ รียกชื่อ อย่า งอื่ น ให้ ท าหน้ าที่ ติดตามและ ประเมินผลนโยบายตามภารกิจ ตลอดจนนิเทศ ให้คาปรึกษาและแนะนาเพื่อปรับปรุงพัฒนา ในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ให้เป็นการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการ บริหารและการดาเนินการโดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อ การเตรียมการรับการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลจากหน่วยงานภายนอก การดาเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสาม ให้มีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การจั ดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิ การและคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ การศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา เป็นผู้รับผิดชอบดาเนินการ สาหรับกระทรวงศึกษาธิการหรือสาหรับแต่ละ เขตพื้นที่การศึกษา ทั้งนี้ จ านวน หลั กเกณฑ์ และวิธีการได้มาของคณะกรรมการดังกล่าวให้ เป็นไปตามที่ กาหนดในกฎกระทรวง การดาเนินการในเรื่องการตรวจราชการและการดาเนินการของคณะกรรมการต่าง ๆ ที่กาหนดใน มาตรานี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎกระทรวง ระเบียบ หรือข้อบังคับของกระทรวงหรือส่วนราชการ หรือมติ คณะรัฐมนตรี หรือคาสั่งของนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้ จะต้องไม่กระทบกระเทือนต่อสาระการบริหารและการจัดการ ของสถานศึ ก ษาของรั ฐ ที่ จั ด การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาที่ เ ป็ น นิ ติ บุ ค คลในสายบั ง คั บ บั ญ ชาของส านั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาที่สามารถดาเนินกิจการได้โดยอิสระ พัฒนาระบบบริหาร และการจัดการที่เป็น ของตนเอง มีความคล่อ งตั ว มีเสรีภาพทางวิช าการ และอยู่ภายใต้การกากับดูแลของสภาสถานศึกษาตาม กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึกษานั้น มาตรา ๒๑ ให้กระทรวงศึกษาธิการกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัด การศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมีหน้าที่ในการประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้สามารถจัดการศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและได้มาตรฐานการศึกษา รวมทั้งการเสนอแนะการจัดสรร งบประมาณอุดหนุนการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๒ ในกรณีที่เขตพื้นที่การศึกษาตามมาตรา ๓๓ ไม่อาจบริหารและจัดการการศึกษาขั้น พื้น ฐานบางประเภทได้ และในกรณี การจั ดการศึ กษาระดับอุ ดมศึก ษาระดั บต่ากว่ าปริญญาบางประเภท สานักงานปลัดกระทรวงหรือสานักงานต่ าง ๆ ตามที่กาหนดในส่วนที่ ๓ อาจจัดให้มีการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือ การศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่าปริญญา เพื่อเสริมการบริหารและการจัดการของเขตพื้นที่การศึกษา ดังต่อไปนี้ก็ได้ -๗- (๑) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพ (๒) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัย (๓) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสาหรับบุคคลที่มีความสามารถพิเศษ (๔) การจัดการศึกษาทางไกล และการจัดการศึกษาที่ให้บริการในหลายเขตพื้นที่การศึกษา (๕) การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่าปริญญาในรูปแบบวิทยาลัยชุมชนและรูปแบบอื่น สาหรับ สถานศึกษาของรั ฐระดับอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาระดับต่ากว่าปริญญาซึ่งไม่มีฐานะเป็น นิติบุคคลและมิได้มีกฎหมายอื่นกาหนดหลักเกณฑ์การบริหารงานไว้โดยเฉพาะให้มีคณะกรรมการสถานศึกษา และผู้อานวยการสถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบ การจัดตั้ง การบริหารงาน สังกัดและการจัดประเภทของสถานศึกษาของรัฐระดับอุดมศึกษาที่จัด การศึกษาระดับต่ากว่าปริญญา ตลอดจนหลักเกณฑ์อื่นในการบริหารงานและการดาเนินการทางวิชาการ ให้ เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ส่วนที่ ๒ การจัดระเบียบราชการในสานักงานปลัดกระทรวง มาตรา ๒๓ กระทรวงศึกษาธิการมีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ (๑) รั บผิ ดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนปฏิบัติ ราชการ กากับการทางานของส่วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสานการปฏิบัติงานของส่วน ราชการในกระทรวงให้มีเอกภาพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่งรัดติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วน ราชการในกระทรวงให้เป็นไปตามแผนงานของกระทรวง (๒) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในสานักงานปลัดกระทรวงรองจากรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงานปลัดกระทรวง ในการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงตามวรรคหนึ่ง ให้มีรองปลัดกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ ราชการ และจะให้มีผู้ช่วยปลัดกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการด้วยก็ได้ ในกรณีที่มีรองปลัดกระทรวง หรือผู้ช่วยปลัดกระทรวง หรือมีทั้งรองปลัดกระทรวงและผู้ช่วยปลัดกระทรวง ให้รองปลัดกระทรวงหรือผู้ช่วย ปลัดกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการรองจากปลัดกระทรวง ให้ ร องปลั ดกระทรวง ผู้ ช่ว ยปลั ดกระทรวง และผู้ ดารงตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่ นในส านักงาน ปลัดกระทรวง มีอานาจหน้าที่ตามที่ปลัดกระทรวงกาหนดหรือมอบหมาย มาตรา ๒๔ สานักงานปลัดกระทรวงมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ (๑) ดาเนินการเกี่ยวกับราชการประจาทั่วไปของกระทรวงและราชการที่คณะรัฐมนตรีมิได้กาหนดให้ เป็นหน้าที่ของสานักงานใดสานักงานหนึ่งในสังกัดกระทรวงโดยเฉพาะ -๘- (๒) ประสานงานต่าง ๆ ในกระทรวง และดาเนินงานต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นงานที่ต้องปฏิบัติตาม สายงานการบังคับบัญชาอันเป็นอานาจหน้าที่ซึ่งจะต้องมีการกาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือกาหนดใน กฎหมายอื่น (๓) จัดทางบประมาณและแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการ ปฏิบัติราชการในกระทรวงให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง (๔) ดาเนินการเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติที่มิได้อยู่ในอานาจของส่วนราชการอื่น (๕) ดาเนินการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการ มาตรา ๒๕ สานักงานปลัดกระทรวง อาจแบ่งส่วนราชการ ดังนี้ (๑) สานักอานวยการ (๒) สานัก สานักบริหารงาน หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าสานักหรือสานัก บริหารงาน ในกรณีที่มีความจ าเป็ น ส านั กงานปลั ดกระทรวงอาจแบ่งส่ ว นราชการโดยให้ มีส่ ว นราชการอื่ น นอกจาก (๑) หรือ (๒) ก็ได้ ส่วนราชการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้มีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ให้เป็นของส่วนราชการ นั้น ๆ โดยให้มีผู้อานวยการสานักอานวยการ ผู้อานวยการสานัก ผู้อานวยการสานักบริหารงาน หรือหัวหน้า ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าสานักหรือสานักบริหารงาน หรือหัวหน้าส่วนราชการตาม วรรคสอง เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบปฏิบัติราชการ มาตรา ๒๖ สานักอานวยการมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของสานักงานปลัดกระทรวง และ ราชการที่ มิ ไ ด้ แ ยกให้ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องส านั ก งานหรื อ ส่ ว นราชการใดโดยเฉพาะ โดยมี ผู้ อ านวยการส านั ก อานวยการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ สานักบริหารงานเป็นส่วนราชการของสานักงานปลัดกระทรวง ซึ่งทาหน้าที่เป็นหน่วยบริหารงาน ทั่วไปของคณะกรรมการที่ทาหน้าที่กาหนดนโยบายหรือประสานงานหรือบริหารงานบุคคล ซึ่งมีกฎหมายหรือ กฎกระทรวง กาหนดให้มีขึ้นตามความจาเป็นและสภาพของภารกิจของสานักบริหารงานนั้น สานักบริหารงานมีผู้อานวยการสานักบริหารงานคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของ สานักบริหารงานให้เป็นไปตามนโยบายหรือมติของคณะกรรมการที่สานักบริหารงานนั้นเป็นหน่วยธุรการ และ เป็นไปตามนโยบายและการสั่งการของปลัดกระทรวง มาตรา ๒๗ ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมสนับสนุนและประสานความร่วมมือการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยในสานักงานปลัดกระทรวงทาหน้าที่เป็นองค์กรให้คาปรึกษา และมีอานาจหน้าที่ตามที่ กาหนดไว้ในกฎหมาย กฎกระทรวง หรือประกาศกระทรวงว่าด้วยการดังกล่าว ทั้งนี้ จานวน หลักเกณฑ์ และ วิธีการได้มาของคณะกรรมการดังกล่าวให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง -๙- ส่วนที่ ๓ การจัดระเบียบราชการในสานักงาน มาตรา ๒๘ ให้สานักงานที่มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตาม มาตรา ๑๐ (๓) (๔) (๕) และ (๖) มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และ รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงาน และอาจแบ่งส่วนราชการ ดังนี้ (๑) สานักอานวยการ (๒) สานัก สานักบริหารงาน หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าสานักหรือสานัก บริหารงาน สานักงานใดมีความจาเป็น อาจแบ่งส่วนราชการให้มีส่วนราชการอื่นนอกจาก (๑) หรือ (๒) ก็ได้ ส่วนราชการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้มีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ให้เป็นของส่วนราชการ นั้น ๆ โดยให้มีผู้อานวยการสานักอานวยการ ผู้อานวยการสานัก ผู้อานวยการสานักบริหารงานหรือหัวหน้าส่วน ราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าสานักหรือสานักบริหารงาน หรือหัวหน้าส่วนราชการอื่นตาม วรรคสอง เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบปฏิบัติราชการ มาตรา ๒๙ ให้ส่วนราชการที่มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐ มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตามมาตรา ๑๐ (๓) (๔) (๕) และ (๖) มีเลขาธิการซึ่งมีฐานะเทียบเท่าปลัดกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชาและ รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการนั้นให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๓๐ เลขาธิ ก ารซึ่ ง เป็ น ผู้ บั งคั บ บั ญชาของส่ ว นราชการตามมาตรา ๒๘ มี อานาจหน้ า ที่ ดังต่อไปนี้ (๑) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักงาน แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนปฏิบัติการ กากับการปฏิบัติงานของส่วนราชการในสานักงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ รวมทั้งเร่งรัดติดตามและประเมินผลการ ปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสานักงาน (๒) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานรองจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและ รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของข้าราชการในสานักงาน ตลอดจนการจัดทาแผนพัฒนาของหน่วยงาน ให้เลขาธิการสภาการศึกษารับผิดชอบบังคับบัญชาสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาตามมาตรา ๑๐ (๓) ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งรับผิดชอบบังคับบัญชาสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรา ๑๐ (๔) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือใน สถานศึกษาที่อยู่ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาด้วย ให้เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึ กษาซึ่งรับผิดชอบบังคับบัญชาสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาตามมาตรา ๑๐ (๕) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสถานศึกษาของรัฐในสังกัดที่เป็นนิติบุคคลที่จัด การศึกษาระดับปริญญาด้วย - ๑๐ - ให้เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาซึ่งรับผิดชอบบังคับบัญชาสานักงานคณะกรรมการการ อาชี ว ศึ ก ษาตามมาตรา ๑๐ (๖) เป็ น ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาข้ า ราชการในสถานศึ ก ษาของรั ฐ ในสั ง กั ด ส านั ก งาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาด้วย ในการปฏิบัติราชการของเลขาธิการตามมาตรานี้ให้มีรองเลขาธิการเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ และจะให้มีผู้ช่วยเลขาธิการเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการด้วยก็ได้ ในกรณีที่ มีร องเลขาธิการหรื อผู้ ช่ ว ยเลขาธิการ หรือมีทั้ง รองเลขาธิการและผู้ ช่ ว ยเลขาธิการให้ รองเลขาธิการหรือผู้ช่วยเลขาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการรองจาก เลขาธิการ ให้รองเลขาธิการ ผู้ช่วยเลขาธิการ และผู้ดารงตาแหน่งที่ เรียกชื่ออย่างอื่นในสานักงานเลขาธิการ มีอานาจหน้าที่ตามที่เลขาธิการกาหนดหรือมอบหมาย มาตรา ๓๑ สานักอานวยการมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของสานักงาน และราชการที่ มิได้แยกให้เป็นหน้าที่ของสานักงานหรือส่วนราชการใดโดยเฉพาะ โดยมีผู้อานวยการสานักอานวยการเป็น ผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ ส านั ก บริ ห ารงานเป็ น ส่ ว นราชการของส านั ก งานที่ ท าหน้ า ที่ เ ป็ น หน่ ว ยบริ ห ารงานทั่ ว ไปของ คณะกรรมการที่ ท าหน้ า ที่ ก าหนดนโยบายหรื อ ประสานงานหรื อ บริ ห ารงานบุ ค คลซึ่ ง มี ก ฎหมายหรื อ กฎกระทรวงกาหนดให้มีขึ้นตามความจาเป็นและสภาพของภารกิจของสานักบริหารงานนั้น สานักบริหารงานมีผู้อานวยการสานักบริหารงานคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของ สานักบริหารงานให้เป็นไปตามนโยบายหรือมติของคณะกรรมการที่สานักบริหารงานนั้นเป็นหน่วยธุรการ และ เป็นไปตามนโยบายและการสั่งการของเลขาธิการที่เป็นผู้บังคับบัญชาของสานักบริหารงานนั้น มาตรา ๓๒ ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาพิเศษ ในสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้น ฐานทาหน้ าที่ เป็ น องค์ กรส่ ง เสริ มและให้ ค าปรึ กษาเกี่ยวกับการจัด การศึกษาส าหรับบุ คคล ซึ่งมี ความ บกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสาร และการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือ ทุพพลภาพ หรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส และมีอานาจหน้า ที่ตามที่ กาหนดไว้ในกฎหมาย กฎกระทรวง หรือประกาศกระทรวงว่าด้วยการนั้น ให้ มี ค ณะกรรมการส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาส าหรั บ บุ ค คลซึ่ ง มี ค วามสามารถพิ เ ศษในส านั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทาหน้าที่เป็นองค์กรส่งเสริมและให้คาปรึกษาเกี่ยวกับการจัดการศึกษา สาหรับ บุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ และมีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกฎหมาย กฎกระทรวง หรือ ประกาศกระทรวงว่าด้วยการนั้น จานวน หลักเกณฑ์ และวิธีการได้มาของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งและวรรคสองให้เป็นไปตามที่ กาหนดในกฎกระทรวง - ๑๑ - หมวด ๒ การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา มาตรา ๓๓๒ การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา โดยคานึงถึง ระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวนสถานศึกษา จานวนประชากร วัฒนธรรม และความเหมาะสมด้านอื่น ด้วย เว้นแต่การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษา ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคาแนะนาของสภาการศึกษามีอานาจประกาศในราช กิจจานุเบกษากาหนดเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งเป็นเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ในกรณีที่สถานศึกษาใดจัดการศึกษาขั้น พื้นฐานทั้งระดับประถมศึกษาและระดับ มัธยมศึกษาการ กาหนดให้สถานศึกษาแห่งนั้นอยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาใด ให้ยึดระดับการศึกษาของสถานศึกษานั้นเป็นสาคัญ ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในกรณีที่มีความจาเป็นเพื่อประโยชน์การจัดการศึกษาหรือมีเหตุผลความจาเป็นอย่างอื่นตามสภาพ การจัดการศึกษาบางประเภท คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอาจประกาศกาหนดให้ ขยายการบริการ การศึกษาขั้นพื้นฐานของเขตพื้นที่การศึกษาหนึ่งไปในเขตพื้นที่การศึกษาอื่นได้ มาตรา ๓๔ ให้จัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้ (๑) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา (๒) สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น การแบ่งส่วนราชการภายในตาม (๑) ให้จัดทาเป็นประกาศกระทรวงและให้ระบุอานาจหน้าที่ของแต่ ละส่วนราชการไว้ในประกาศกระทรวง ทั้งนี้ โดยคาแนะนาของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การแบ่งส่วนราชการภายในตาม (๒) และอานาจหน้าที่ของสถานศึกษาหรือส่วนราชการที่เรียกชื่อ อย่างอื่นให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาแต่ละเขตพื้นที่การศึกษากาหนด การแบ่งส่วนราชการตามวรรคสองและวรรคสามให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๕ สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามมาตรา ๓๔ (๒) เฉพาะที่เป็นโรงเรียน มีฐานะ เป็นนิติบุคคล เมื่อมีการยุบเลิกสถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง ให้ความเป็นนิติบุคคลสิ้นสุดลง มาตรา ๓๖ ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ให้มีคณะกรรมการและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มี อานาจหน้าที่ในการกากับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษา ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษา ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่ว น ท้องถิ่น ให้สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมและสนับสนุนการจัด ๒ มาตรา ๓๓ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๑๒ - การศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบั น สั งคมอื่น ที่จัดการศึกษาในรูปแบบที่ห ลากหลายในเขตพื้นที่การศึกษา และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่ เกี่ยวข้องกับอานาจหน้าที่ที่ระบุไว้ข้างต้น ทั้งนี้ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประกอบด้วย ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทน องค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่ น ผู้ แ ทนสมาคมผู้ ประกอบวิช าชี พครู ผู้ แ ทนสมาคมผู้ ประกอบวิ ช าชี พบริห าร การศึกษา ผู้แทนสมาคมผู้ปกครองและครู และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม จานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่ง และการพ้นจากตาแหน่งให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการเขตพื้นที่ การศึกษา ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่งในส่วนที่เกี่ยวกับสถานศึกษาเอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ว่าจะอยู่ในอานาจหน้าที่ของเขตพื้นที่การศึกษาใด ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศ กาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน๓ มาตรา ๓๗ ให้มีสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อทาหน้าที่ในการดาเนินการให้เป็นไปตามอานาจ หน้าที่ของคณะกรรมการตามที่กาหนดไว้ในมาตรา ๓๖ และให้มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการศึกษา ตามที่กาหนด ไว้ในกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น และมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ (๑) อานาจหน้าที่ในการบริหารและการจัดการศึกษา และพัฒนาสาระของหลักสูตรการศึกษาให้ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (๒) อานาจหน้าที่ในการพัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ร่วมกับสถานศึกษา (๓) รับผิดชอบในการพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาของสถานศึกษาและสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา (๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกาหนด สานักงานตามวรรคหนึ่ง มีผู้ อานวยการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติ ราชการของสานักงานให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง ในกรณีที่มี กฎหมายอื่นกาหนดอานาจหน้าที่ของผู้อานวยการไว้เป็นการเฉพาะการใช้อานาจและการปฏิบัติหน้ าที่ตาม กฎหมายดังกล่าวให้คานึงถึงนโยบายที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของ กระทรวงด้วย ในสานักงานตามวรรคหนึ่งจะให้มีรองผู้อานวยการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการรองจากผู้อานวยการ เพื่อช่วยปฏิบัติราชการก็ได้ รองผู้ อ านวยการหรื อ ผู้ ด ารงต าแหน่ ง ที่ เ รี ย กชื่ อ อย่ า งอื่ น ในส านั ก งาน มี อ านาจหน้ า ที่ ต ามที่ ผู้อานวยการกาหนดหรือมอบหมาย ๓ มาตรา ๓๖ ววรคห้า เพิ่มโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๑๓ - มาตรา ๓๘ ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่า ปริญญา และสถานศึกษาอาชีวศึกษาของแต่ละสถานศึกษา เพื่อทาหน้าที่กากับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการ ของสถานศึกษา ประกอบด้ว ยผู้ แทนผู้ ปกครอง ผู้แทนครู ผู้ แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่ว น ท้องถิ่น ผู้ แทนศิษย์ เก่าของสถานศึกษา ผู้แทนพระภิกษุส งฆ์และหรือผู้แทนองค์กรศาสนาอื่นในพื้นที่ และ ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่ง และการพ้นจากตาแหน่ง ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง องค์ป ระกอบ อานาจหน้ าที่ หลั กเกณฑ์ วิธีการสรรหา และจานวนกรรมการในคณะกรรมการ สถานศึกษาสาหรับสถานศึกษาบางประเภทที่มีสภาพและลักษณะการปฏิบัติงานแตกต่างไปจากสถานศึกษาขั้น พื้นฐานโดยทั่วไป อาจกาหนดให้แตกต่างไปตามสภาพและลักษณะการปฏิบัติงานตลอดทั้งความจาเป็นเฉพาะ ของสถานศึกษาประเภทนั้นได้ ทั้งนี้ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการสถานศึกษา ความในมาตรานี้ไม่ใช้บังคับแก่สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยและศูนย์การเรียน มาตรา ๓๙ สถานศึกษาและส่วนราชการตามมาตรา ๓๔ (๒) มีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ให้เป็น หน้าที่ของส่วนราชการนั้น ๆ โดยให้มีผู้อานวยการสถานศึกษา หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นเป็น ผู้บังคับบัญชาข้าราชการและมีอานาจหน้าที่ ดังนี้ (๑) บริหารกิจการของสถานศึกษาหรือส่วนราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ของทางราชการและของสถานศึกษาหรือส่วนราชการ รวมทั้งนโยบายและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษาหรือ ส่วนราชการ (๒) ประสานการระดมทรั พยากรเพื่อการศึกษา รวมทั้งควบคุมดูแลบุคลากร การเงิน การพัส ดุ สถานที่ และทรัพย์สินอื่นของสถานศึกษาหรือส่วนราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับของ ทางราชการ (๓) เป็นผู้แทนของสถานศึกษาหรือส่วนราชการในกิจการทั่วไป รวมทั้งการจัดทานิติกรรมสัญญาใน ราชการของสถานศึกษาหรือส่วนราชการตามวงเงินงบประมาณที่สถานศึกษาหรือส่วนราชการได้รับตามที่ได้รับ มอบอานาจ (๔) จั ด ท ารายงานประจ าปี เ กี่ ย วกั บ กิ จ การของสถานศึ ก ษาหรื อ ส่ ว นราชการเพื่อ เสนอต่ อ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา (๕) อานาจหน้าที่ในการอนุมัติประกาศนียบัตรและวุฒิบัตรของสถานศึกษาให้เป็นไปตามระเบียบที่ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด (๖) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวง เลขาธิ การสภาการศึ กษา เลขาธิ ก ารคณะกรรมการการศึ กษาขั้ น พื้ น ฐาน เลขาธิก ารคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งงาน อื่นที่กระทรวงมอบหมาย สถานศึกษาและส่ ว นราชการตามมาตรา ๓๔ (๒) จะให้ มีรองผู้ อานวยการหรือรองหั ว หน้าส่ ว น ราชการรองจากผู้อานวยการหรือหัวหน้าส่วนราชการเพื่อช่วยปฏิบัติราชการก็ได้ - ๑๔ - สถานศึกษาและส่วนราชการตามมาตรา ๓๔ (๒) ใดที่ยังไม่สามารถปฏิบัติงานบางประการตามที่ กาหนดในกฎหมายหรือที่ได้รับมอบหมายได้ อาจขอให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่สถานศึกษาหรือส่วน ราชการนั้นสังกัดเป็นผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานเฉพาะอย่างให้แทนเป็นการชั่วคราวได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และลักษณะของงานที่จะให้ปฏิบัติแทนได้ที่กาหนดในกฎกระทรวง หมวด ๓ การจัดระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษา ระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล มาตรา ๔๐ ระเบียบปฏิบัติราชการหรือระเบียบปฏิบัติงานของสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคลทั้งที่เป็นสถานศึกษาในสังกัดและที่เป็นสถานศึกษาในกากับให้ เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการดังกล่าว การแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาที่เป็น ส่วนราชการและเป็นนิติบุคคลในสายการบังคับบัญชาของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึกษานั้น มาตรา ๔๑ เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามมาตรา ๔๐ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) เสนอแนะการจัดสรรเงินงบประมาณให้แก่สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับปริญญาในสังกัด สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาในกากับ และสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับต่ากว่าปริญญาต่อคณะรัฐมนตรี (๒) ประสานงานจัดการศึกษาระหว่างสถานศึกษาของรัฐ ที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับ ปริ ญ ญาที่ เ ป็ น นิ ติ บุ ค คลในสั ง กั ด สถานศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาที่ เ ป็ น นิ ติ บุ ค คลในก ากั บ สถานศึกษาเอกชนที่จัดการศึกษาระดับปริญญา และสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่าปริญญา (๓) เสนอการจัดตั้ง ยุบ รวม ปรับปรุงและเลิกสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคลในสังกัดและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคลในกากับ (๔) วางระเบียบการปฏิบัติราชการเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจการต่าง ๆ ร่วมกันของสถานศึกษา ของรัฐที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคลในสังกัดอันมิใช่กิจการของสถาบันแห่งหนึ่ง แห่งใดโดยเฉพาะ มาตรา ๔๒ ให้มีคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยเรียกโดยย่อว่า ก.ม. ทาหน้าที่เป็น องค์กรบริหารงานบุคคลสาหรับข้าราชการพลเรือนในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับ ปริญญาในสังกัด ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในกฎหมายว่าด้วยการดังกล่าว มาตรา ๔๓ กระทรวงศึกษาธิการอาจขอให้กระทรวง ทบวง กรมอื่น และองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นที่มีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาในสังกัดเสนอโครงการและแผนงานเกี่ยวกับการศึกษา - ๑๕ - ของสถานศึกษานั้น ตลอดจนรายละเอียดทางวิชาการ การเงิน สถิติ และเรื่องที่จาเป็นแก่การปฏิบัติงานใน อานาจหน้าที่ได้ หมวด ๔ การปฏิบัติราชการแทน มาตรา ๔๔ ให้ ปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษากระจายอานาจ การบริหารและการจัดการศึกษาทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป ไปยัง คณะกรรมการเขตพื้น ที่การศึกษา และส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง ในกรณีที่มี กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาไว้ เป็นการเฉพาะ ให้ผู้ดารงตาแหน่งดังกล่าวมอบอานาจให้แก่ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือ ผู้อานวยการสถานศึกษา แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ให้คานึงถึงความเป็นอิสระ และการบริหารงานที่คล่องตัวในการจัด การศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ภายใต้หลักการบริหารงานการศึกษา ดังต่อไปนี้ (๑) อานาจหน้าที่ในการพิจารณาให้ความเห็ นชอบเกี่ยวกับงบประมาณและการดาเนินการทาง งบประมาณของผู้อานวยการสถานศึกษาหรือผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมตลอดถึงหลักการ การให้สถานศึกษาหรือสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามี อานาจทานิติกรรมสัญญาในวงเงินงบประมาณที่ได้รับ อนุมัติแล้ว (๒) หลักเกณฑ์การพิจารณาความดีความชอบ การพัฒ นา และดาเนินการทางวินัยกับครูและ บุคลากรทางการศึกษาโดยสัมพันธ์กับแนวทางที่กาหนดในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา การกระจายอานาจและการมอบอานาจตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา และเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา อาจกาหนดให้หัวหน้าส่วนราชการ ในสังกัดมอบอานาจในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจที่ตนรับผิดชอบไปยังผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และผู้อานวยการสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรงก็ได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ผู้ดารงตาแหน่ง ในการบังคับบัญชาส่วนราชการดังกล่าวเป็นผู้กาหนด ผู้อานวยการสานักบริหารงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวง และผู้อานวยการสานักบริหารงานใน สังกัดสานักงานคณะกรรมการต่าง ๆ อาจมอบอานาจในส่วนที่เกี่ยวกับภารกิจที่ตนรับผิดชอบ หรือที่ได้รับ มอบหมายตามระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ จากสานักงานคณะกรรมการต่าง ๆ ไปยังผู้อานวยการสานักงานเขต พื้นที่การศึกษา หรือผู้อานวยการสถานศึกษา หรือหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า ผู้อานวยการสถานศึกษาโดยตรงได้ ทั้งนี้ โดยจะต้องไม่ขัดต่อนโยบายหรือการสั่ งการของกระทรวง หรือ คณะกรรมการต้นสังกัด - ๑๖ - มาตรา ๔๕ อานาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการหรือการด