Thai Past Paper: Civil Liability of Public Officials Act B.E. 2539 PDF

Summary

This document is a Thai legal document which includes a past paper on the Civil Responsibility of Public Officials Act 2539. The paper comprises questions and answers relating to the act.

Full Transcript

: วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com พระราชบัญญัตคิ วามรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ภูมิพ...

: วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com พระราชบัญญัตคิ วามรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ เปนปที่ ๕๑ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยทีส่ มควรมีกฎหมายวาดวยความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา ๓ บรรดากฎหมาย กฎ และขอบังคับใด ๆ ในสวนที่มีบัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแยง กับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “เจาหนาที่” หมายความวา ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง หรือผูป ฏิบัติงานประเภทอื่น ไมวาจะเปนการ แตงตั้งในฐานะเปนกรรมการหรือฐานะอื่นใด “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมี ฐานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้น โดยพระราชบัญ ญัติหรือพระราช กฤษฎี ก าและให ห มายความรวมถึงหน วยงานอื่น ของรัฐ ที่ มี พ ระราชกฤษฎี กากำหนดให เป น หน วยงานของรัฐตาม พระราชบัญญัตินี้ดวย มาตรา ๕ หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนไดกระทำในการปฏิบัติ หนาที่ ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวไดโดยตรง แตจะฟองเจาหนาที่ไมได ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใดใหถือวากระทรวงการคลังเปนหนวยงาน ของรัฐที่ตองรับผิดตามวรรคหนึ่ง มาตรา ๖ ถาการกระทำละเมิดของเจาหนาที่มิใชการกระทำในการปฏิบัติหนาที่ เจาหนาที่ตองรับผิดในการนั้น เปนการเฉพาะตัว ในกรณีนี้ผเู สียหายอาจฟองเจาหนาที่ไดโดยตรง แตจะฟองหนวยงานของรัฐไมได มาตรา ๗ ในคดีที่ผูเสียหายฟองหนวยงานของรัฐ ถาหนวยงานของรัฐเห็นวาเปนเรื่องที่เจาหนาที่ตองรับผิดหรือ ตองรวมรับผิดหรือในคดีที่ผูเสียหายฟองเจาหนาที่ถาเจาหนาที่เห็นวาเปนเรื่องที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดหรือตองรวม รับผิดหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ดังกลาวมีสิทธิขอใหศาลที่พิจารณาคดีนั้นอยูเรียกเจาหนาที่หรือหนวยงานของรัฐ แลวแตกรณี เขามาเปนคูความในคดี 1 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com ถาศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิด ใหขยายอายุความ ฟองรองผูที่ตองรับผิดซึ่งมิไดถูกเรียกเขามาในคดีออกไปถึงหกเดือนนับแตวันที่คำพิพากษานั้นถึงที่สุด มาตรา ๘ ในกรณีที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายเพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ ให หนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทำละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาวแกหนวยงานของรัฐไดถาเจาหนาที่ ไดกระทำการนั้นไปดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง สิทธิเรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีไดเพียงใดใหคำนึงถึงระดับความรายแรงแหงการกระทำและ ความเปนธรรมในแตละกรณีเปนเกณฑโดยมิตองใหใชเต็มจำนวนของความเสียหายก็ได ถาการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของหนวยงานของรัฐหรือระบบการดำเนินงานสวนรวม ใหหัก สวนแหงความรับผิดดังกลาวออกดวย ในกรณีที่การละเมิดเกิดจากเจาหนาที่หลายคน มิใหนำหลักเรื่องลูกหนี้รวมมาใชบังคับและเจาหนาที่แตละคนตอง รับผิดใชคาสินไหมทดแทนเฉพาะสวนของตนเทานั้น มาตรา ๙ ถาหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย สิทธิที่จะเรียกใหอีกฝายหนึ่ง ชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนใหมีกำหนดอายุความหนึ่งปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหม ทดแทนนั้นแกผูเสียหาย มาตรา ๑๐ ในกรณีที่เจาหนาที่เปนผูกระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐไมวาจะเปนหนวยงานของรัฐที่ผูนั้นอยูใน สังกัดหรือไม ถาเปนการกระทำในการปฏิบัติหนาที่การเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากเจาหนาที่ใหนำบทบัญญัติมาตรา ๘ มาใชบังคับโดยอนุโลม แตถามิใชการกระทำในการปฏิบัติหนาที่ใหบังคับตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย สิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากเจาหนาที่ทั้งสองประการตามวรรคหนึ่ง ใหมีกำหนดอายุความสองปนับแตวันที่ หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทน และกรณีที่หนวยงานของรัฐเห็นวา เจาหนาที่ผูนั้นไมตองรับผิด แตกระทรวงการคลังตรวจสอบแลวเห็นวาตองรับผิด ใหสิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนนั้น มีกำหนดอายุความหนึ่งปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง มาตรา ๑๑ ในกรณี ที่ ผู เสี ย หายเห็ น ว า หน วยงานของรัฐ ต อ งรับ ผิ ด ตามมาตรา 5 ผู เสี ย หายจะยื่ น คำขอต อ หนวยงานของรัฐใหพิจารณาชดใชคาสินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายที่เกิดแกตนก็ได ในการนี้หนวยงานของรัฐตอง ออกใบรับคำขอใหไวเปนหลักฐานและพิจารณาคำขอนั้นโดยไมชักชา เมื่อหนวยงานของรัฐมีคำสั่งเชนใดแลวหาก ผูเสียหายยังไมพอใจในผลการวินิจฉัยของหนวยงานของรัฐก็ใหมีสิทธิรองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตาม กฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกาไดภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย ใหหนวยงานของรัฐพิจารณาคำขอที่ไดรับตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอยแปดสิบวัน หากเรื่องใดไมอาจ พิ จารณาได ทั น ในกำหนดนั้ น จะต อ งรายงานป ญ หาและอุ ป สรรคให รัฐมนตรีเจาสั งกั ด หรื อกำกั บ หรือ ควบคุ ม ดู แ ล หนวยงานของรัฐแหงนั้นทราบและขออนุมัติขยายระยะเวลาออกไปได แตรัฐมนตรีดังกลาวจะพิจารณาอนุมัติใหขยาย ระยะเวลาใหอีกไดไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวัน มาตรา ๑๒ ในกรณีที่เจาหนาที่ตองชดใชคาสินไหมทดแทนที่หนวยงานของรัฐไดใชใหแกผูเสียหายตามมาตรา ๘ หรือในกรณีที่เจาหนาที่ตองใชคาสินไหมทดแทนเนื่องจากเจาหนาที่ผูนั้นไดกระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐตามมาตรา 2 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com ๑๐ ประกอบกับมาตรา ๘ ใหหนวยงานของรัฐที่เสียหายมีอำนาจออกคำสั่งเรียกใหเจาหนาที่ผูนั้นชำระเงินดังกลาว ภายในเวลาที่กำหนด มาตรา ๑๓ ใหคณะรัฐมนตรีจัดใหมีระเบียบเพื่อใหเจาหนาที่ซึ่งตองรับผิดตามมาตรา ๘ และมาตรา ๑๐ สามารถ ผอนชำระเงินที่จะตองรับผิดนั้นไดโดยคำนึงถึงรายได ฐานะ ครอบครัวและความรับผิดชอบ และพฤติการณแหงกรณี ประกอบดวย มาตรา ๑๔ เมื่อไดมีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นแลว สิทธิรองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามมาตรา ๑๑ ใหถือวาเปนสิทธิฟองคดีตอศาลปกครอง มาตรา ๑๕ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผูรับสนองพระบรมราชโองการ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรี 3 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ การที่เจาหนาที่ดำเนินกิจการตาง ๆ ของหนวยงานของ รัฐนั้น หาไดเปนไปเพื่อประโยชนอันเปนการเฉพาะตัวไม การปลอยใหความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ในกรณีที่ ปฏิบัติงานในหนาที่และเกิดความเสียหายแกเอกชนเปนไปตามหลักกฎหมายเอกชนตามประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชยจึงเปนการไมเหมาะสมกอใหเกิดความเขาใจผิดวา เจาหนาที่จะตองรับผิดในการกระทำตาง ๆ เปนการเฉพาะตัว เสมอไปเมื่ อ การที่ ท ำไปทำให ห น วยงานของรัฐ ต อ งรับ ผิ ด ต อ บุ ค คลภายนอกเพี ย งใดก็ จะมี ก ารฟ อ งไล เบี้ ย เอาจาก เจาหนาที่เต็มจำนวนนั้น ทั้งที่บางกรณีเกิดขึ้นโดยความไมตั้งใจ หรือความผิดพลาดเพียงเล็กนอยในการปฏิบัติหนาที่ นอกจากนั้น ยังมีการนำหลักเรื่องลูกหนี้รวมในระบบกฎหมายแพงมาใชบังคับ ใหเจาหนาที่ตองรวมรับผิดในการกระทำ ของเจาหนาที่ผูอื่นดวย ซึ่งระบบนั้นมุงหมายแตจะไดเงินครบโดยไมคำนึงถึงความเปนธรรมที่จะมีตอแตละคน กรณีเปน การกอใหเกิดความไมเปนธรรมแกเจาหนาที่และยังเปนการบั่นทอนกำลังขวัญ ในการทำงานของเจาหนาที่ดวยจน บางครั้งกลายเปนปญหาในการบริหารเพราะเจาหนาที่ไมกลาตัดสินใจดำเนินงานเทาที่ควร เพราะเกรงความรับผิดชอบ ที่จะเกิดแกตน อนึ่ง การใหคุณใหโทษแกเจาหนาที่เพื่อควบคุมการทำงานของเจาหนาที่ยังมีวิธีการในการบริหารงาน บุคคล และการดำเนินการทางวินัยกำกับดูแลอีกสวนหนึ่ง อันเปนหลักประกันมิใหเจาหนาที่ทำการใด ๆ โดยไมรอบคอบ อยูแลว ดังนั้น จึงสมควรกำหนดใหเจาหนาที่ตองรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่เฉพาะเมื่อเปนการจงใจ กระทำเพื่อการเฉพาะตัว หรือจงใจใหเกิดความเสียหายหรือประมาทเลินเลออยางรายแรงเทานั้น และใหแบงแยกความ รับผิดของแตละคนมิใหนำหลักลูกหนี้รวมมาใชบังคับ ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดความเปนธรรมและเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานของรัฐ จึงจำเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ 4 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com แนวข้อสอบพระราชบัญญัตคิ วามรับผิดชอบทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 1. พระราชบัญญัติความรับผิดละเมิดของเจาหนาที่ มีผลบังคับเมื่อใด ก. วันที่ 14 พฤศจิกายน 2539 ข. วันที่ 15 พฤศจิกายน 2539 ค. วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือวันที่ 14 พฤศจิกายน 2539 ง. วันถัดวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือวันที่ 15 พฤศจิกายน 2539 2. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวาโดยที่สมควรมี กฎหมายวาดวยความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ใหไว ณ วันที่เทาของรัชกาลปจจุบัน ก. 26 กันยายน 2539 ข. 27 กันยายน 2539 ค. 28 กันยายน 2539 ง. 14 พฤศจิกายน 2539 3. เมื่อขาราชการ/พนักงานหรือลูกจางกระทําละเมิดตอบุคคลภายนอก ขอใดกลาวไมถูกตอง ก. หนวยงานของรัฐจะตองรับผิดชอบตอผูเสียหายทุกกรณี ข. หนวยงานของรัฐจะตองรับผิดชอบตอผูเสียหาย เฉพาะในกรณีที่เปนการกระทําในการปฏิบัติหนาที่ ค. ถาเปนการกระทําในการปฏิบัติหนาที่ ใหผูเสียหายฟองหนวยงานของรัฐโดยตรง ง. ถาการกระทํานั้นไมใชการปฏิบัติหนาที่ ผูเสียหายจะฟองหนวยงานของรัฐไมได 4. เมื่อเกิดความเสียหายแกหนวยงานของรัฐในสวนภูมภิ าค ในชั้นตนเจาหนาที่ผูเกี่ยวของตองรายงานใหผูใดรับทราบ โดยไมชักชา ก. หัวหนาหนวยงานนั้น ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย 5. เจาหนาที่ตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 หมายถึงใครขอใดกลาวไมถูกตอง ก. ลูกจางทั่วไปขององคการบริหารสวนตําบล ข. พนักงานจางตามภารกิจของเทศบาล ค. ขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด ง. นายมีคนเก็บขยะ 6. หนวยงานของรัฐ หมายถึงขอใด ก. รัฐวิสาหกิจ ข. องคการบริหารสวนตำบล ค. กระทรวง ง. ทุกขอเปนหนวยงานของรัฐ 7. หนวยงานของรัฐตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ป 2539 ไมไดหมายถึงหนวยงานใด ก. องคการบริหารสวนตําบล ข. รัฐวิสาหกิจ ค. อําเภอ ง. มูลนิธิ 5 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 8. นายภคพงษ ทำงานในบริษัทเอกชนไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการในคณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจแหงหนึ่ง ไดกระทำละเมิดตอบุคคลภายนอก แนวปฏิบัติขอใดถูกตองเกี่ยวกับผลแหงละเมิดดังกลาว ก. ผูถูกทำละเมิดไมสามารถฟองรัฐวิสาหกิจนั้นไดเนื่องจากไมได สังกัดรัฐ วิสาหกิจแหงนั้น ฟองไดเฉพาะตัว นายภคพงษ ข. ผูถูกทำละเมิดฟองรัฐวิสาหกิจนั้นไดเพราะนายภคพงษ เปนกรรมการในรัฐวิสาหกิจนั้น ค. ผูถูกทำละเมิดตองฟองกระทรวงการคลังเพราะกฎหมายถือวากระทรวงการคลังเปนหนวยงานของรัฐที่ตอง รับผิด ง. ผูถกู ละเมิดตองฟองบริษัทที่นายภคพงษทำงานอยู 9. กรณีพิสูจนไมไดจะฟองละเมิดหนวยงานใดใหฟองที่ใคร ก. กระทรวงมหาดไทย ข. สํานักนายกรัฐมนตรี ค. สํานักงบประมาณ ง. กระทรวงการคลัง 10. การฟองของบุคคลภายนอกที่ไดรับการละเมิดจากเจาหนาที่รัฐที่เกิดจากการปฏิบัติหนาที่และเจาหนาที่รัฐคนนัน้ ไมไดสังกัดหนวยงานใด บุคคลภายนอกจะฟองหนวยงานใด ก. ฟองเจาหนาที่คนนั้น ข. ฟองหนวยงานรัฐ ค. ฟองนายกรัฐมนตรี ง. ฟองกระทรวงการคลัง 11. การฟองรองกรณีที่เกิดละเมิดขึ้นแกเอกชน โดยเจาหนาที่รัฐไดปฏิบัติไปตามหนาที่ ผูเสียหายจะฟองรองตอใครได เพื่อใหชดใชคาสินไหมทดแทน ก. ฟองเจาหนาที่ของรัฐ ข. ฟองหนวยงานของรัฐที่เจาหนาที่สังกัด ค. ฟองกระทรวงการคลังเทานั้น ง. ไมสามารถฟองรองได 12. นาย ก เจาหนาที่ของรัฐ วันหยุดราชการ ไดพาครอบครัวไปเที่ยวตางจังหวัด ระหวางทางรถยนตสวนตัวของ นาย ก ขับมา ไมสามารถบังคับไดและเบรกไมอยู ทำใหไปชนกับรถเข็นขายผลไมของแมคาขางทางไดรับความ เสียหาย ผูเสียหายตองฟองใคร ก. หนวยงานของรัฐ ข. เจาหนาที่ ค. แมคา ง. กระทรวงการคลัง 13. ถาศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิด ใหขยายอายุ ความฟองรองผูที่ตองรับผิดไดตามระยะเวลาในขอใดนับแตวันที่คำพิพากษานั้นถึงที่สุด ก. 6 เดือน ข. 1 ป ค. 5 ป ง. 10 ป 14. หนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายเพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ ใหหนวยงานของรัฐ มีสทิ ธิเรียกใหเจาหนาทีผ่ ูทำละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาวแกหนวยงานของรัฐได ในกรณีใดบาง ก. เรียกคืนไดทุกกรณีเพราะเปนเงินของรัฐ ข. เจาหนาที่ไดกระทำการดวยความจงใจ ค. เจาหนาที่ไดกระทำการดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง ง. ขอ 2 และ 3 6 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 15. ในกรณีทกี่ ารละเมิดเกิดจากเจาหนาที่หลายคน มิใหนำหลักเรื่องใดของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาบังคับ ก. ลูกหนีร้ วม ข. ประนีประนอมยอมความ ค. ค้ำประกัน ง. ภาระจำยอม 16. ขอใดไมใช ลักษณะของหลักการที่นํามาใชในพระราชบัญญัติความรับผิดชอบทางละเมิดของเจาหนาที่ ก. หลักในเรื่องลูกหนี้รวมตามกฎหมายแพง ข. หลักการซึ่งเจาหนาที่ตองรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่เฉพาะเมื่อเปนการจงใจใหเกิดความเสียหาย เทานั้น ค. หลักการซึ่งเจาหนาที่ตองรับผิดชอบทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่เฉพาะเมื่อเปนการประมาทเลินเลอ อยางรายแรงเทานั้น ง. ความรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่ของเจาหนาที่เจาหนาที่ไมตองรับผิดชอบเปนการเฉพาะตัว 17. เจาหนาทีต่ ามพระราชบัญญัติความรับผิดชอบทางละเมิดของเจาหนาที่ ขอใดกลาวไมถูกตอง ก. ขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด ข. พนักงานเทศบาล ค. ลูกจางทั่วไปขององคการบริหารสวนตําบล ง. ไมมีขอใดกลาวไมถูกตอง 18. หากเจาหนาที่กระทําละเมิด และหนวยงานของรัฐผูนั้นไมตองรับผิด จึงไมไดมีคําสั่งใหชดใชคาสินไหมทดแทน แต กระทรวงการคลังเห็นวาตองรับผิดชอบเรียกรองคาสินไหมทดแทนดังกลาวมีอายุความเทาใด ก. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐมีคําสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ข. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานรัฐรูถึงการละเมิด และรูตัวเจาหนาที่ผูจะตองชดใชคาสินไหมทดแทน ค. 2 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐมีคําสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ง. 2 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิด และรูตัวเจาหนาที่ผูจะตองชดใชคาสินไหมทดแทน 19. ขอใดกลาวผิด ก. หากหนวยงานของรัฐที่ฟองเห็นวา เรื่องที่ถูกฟอง เจาหนาที่ตองรับผิด หนวยงานของรัฐดังกลาวมีสิทธิขอใหศาล พิจารณาคดีนั้น และเรียกเจาหนาที่นั้นเขามาเปนคูความในคดี ข. หากเจาหนาที่ของรัฐถูกฟองเปนการเฉพาะตัว เห็นวาตนเองกระทําไปตามหนาที่มีสิทธิขอใหศาลพิจารณาคดีนั้น และเรียกหนวยงานของรัฐเขามาเปนคูความในคดี ค. หากศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิด ใหคดีเปนสิ้นสุด ง. ถาศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิด ใหขยายอายุความ ฟองรองผูที่ตองรับผิดซึ่งมิไดถูกเรียกเขามาในคดีออกไปถึงหกเดือนนับแตวันที่คําพิพากษานั้นถึงที่สุด 7 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 20. ขอใดไมถกู ตอง ก. ถาการกระทำละเมิดของเจาหนาที่ไมใชการกระทำในการปฏิบัติหนาที่ เจาหนาที่ตองรับผิดเปนการเฉพาะตัว ข. ในกรณีที่เจาหนาที่ของรัฐถูกฟองเปนการเฉพาะตัว เห็นวาตนเองกระทำไปตามหนาที่ มีสิทธิขอใหศาลพิจารณา คดีนั้น เรียกหนวยงานของรัฐเขามาเปนคูความในคดี ค. กรณีที่หนวยงานของรัฐที่ถูกฟองเห็นวา เรื่องที่ถูกฟองเปนเรื่องที่เจาหนาที่ตองรับผิด หนวยงานของรัฐดังกลาว มีสิทธิขอใหศาลพิจารณาคดีนั้น เรียกเจาหนาที่ดังกลาวเขามาเปนคูความในคดี ง. ในกรณีที่ศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิดใหคดี ดังกลาวเปนอันสิ้นสุด 21. กรณีที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดชอบใหชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย เพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ไปแลว หนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทำละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทนคืนไดในกรณีใด ก. กรณีทกี่ ารละเมิดจากการจงใจของเจาหนาที่ ข. กรณีทกี่ ารละเมิดเกิดจากความประมาทเลินเลออยางรายแรงของเจาหนาที่ ค. ไมสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนคืน ง. ถูกทั้งขอ ก และขอ ข 22. ขอใดถูกตอง ในกรณีที่เจาหนาที่หลายคนตองรับผิดชอบรวมกันในผลแหงละเมิด ก. ทุกคนตองรับผิดเทา ๆ กัน ข. เจาหนาที่แตละคนตองรับผิดชอบคาสินไหมทดแทนเฉพาะสวนตนเทานั้น ค. เจาหนาที่แตละคนตองรวมรับผิดในลักษณะของลูกหนี้รวม ง. ถูกทุกขอ 23. ถาหนวยงานของรัฐตองรับผิดชอบใหชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย เพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ไปแลว หนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทําละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทนคืนไดตามหลักการใด ขอใดกลาวไมถูกตอง ก. ไมมีสทิ ธิเรียกคาสินไหมทดแทนคืน ข. ละเมิดจากความประมาทเลินเลออยางรายแรงของเจาหนาที่ ค. ละเมิดจากการจงใจของเจาหนาที่ ง. ใหคํานึงถึงระดับความรายแรงแหงการกระทําและความเปนธรรมในแตละกรณีเปนเกณฑโดยมิตองใหใชเต็ม จํานวนของความเสียหายก็ได 24. กรณีที่เกิดละเมิดขึ้นแกหนวยงานของรัฐ โดยเจาหนาที่รัฐกระทำตอเอกชนโดยจงใจหรือประมาทเลินเลออยาง รายแรง ผูใ ดเปนผูรับผิดชอบคาสินไหมทดแทน ก. เจาหนาที่รัฐ ข. หนวยงานของรัฐ ค. กระทรวงการคลัง ง. เจาหนาที่ของรัฐและหนวยงานของรัฐในฐานะเจาหนี้รวม 8 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 25. กรณีที่หนวยงานของรัฐไดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูเสียหายไปแลว สิทธิที่จะเรียกใหเจาหนาที่ชดใชคาสินไหม ทดแทนคืน มีอายุความตามขอใด ก. 6 เดือน นับแตวันที่หนวยงานของรัฐไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย ข. 1 ป นับแตวันที่หนวยงานของรัฐไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย ค. 6 เดือน นับแตวันที่ศาลมีคำพิพากษา ง. 1 ป นับแตวันที่ศาลมีคำพิพากษา 26. กรณีที่เจาหนาที่กระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐ สิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนมีกำหนดอายุความกี่ป ก. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิด ข. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะตอง ชดใชคาสินไหมทดแทน ค. 2 ปนบั แตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิด ง. 2 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะตอง ชดใชคาสินไหมทดแทน 27. กรณีเจาหนาที่กระทำละเมิด และหนวยงานของรัฐผูนั้นไมตองรับผิดจึงไมไดมีคำสั่งใหชดใชคาสินไหมทดแทน แตกระทรวงการคลังเห็นวาตองรับผิด สิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนดังกลาวมีกำหนดอายุความกี่ป ก. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง ข. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะตอง ชดใชคาสินไหมทดแทน ค. 2 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ง. 2 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะตอง ชดใชคาสินไหมทดแทน 28. ในกรณีทผี่ เู สียหายไดยื่นคำขอตอหนวยงานของรัฐใหพิจารณาชดใชคาสินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายที่เกิดขึ้น แกตน ซึ่งหนวยงานของรัฐไดพิจารณาและมีคำสั่งไปแลว แตผูเสียหายไมพอใจผลการวินิจฉัยหนวยงานของรัฐ ผูเสียหายมีสิทธิดำเนินการตามขอใด ก. ฟองรองตอศาล ข. รองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกข ค. ไมมีสทิ ธิดำเนินการใดเนื่องจากกรณีเปนอันยุติแลว ง. ถูกเฉพาะขอ ก และขอ ข 29. กำหนดเวลารองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกาในกรณีที่ ผูเสียหายไมพอใจผลการวินิจฉัยของหนวยงานของรัฐ ตองรองทุกขภายในกำหนดเวลาตามขอใด ก. ภายใน 30 วันนับแตวนั ที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย ข. ภายใน 60 วันนับแตวนั ที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย ค. ภายใน 90 วันนับแตวันที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย ง. ภายใน 180 วันนับแตวันที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย 30. กำหนดเวลาในการพิจารณาคำขอของหนวยงานของรัฐ ทีผ่ ูเสียหายไดยื่นตอหนวยงานของรัฐเปนไปตามขอใด ก. 60 วัน ข. 90 วัน ค. 180 วัน ง. ไมมีกำหนดเวลา 9 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 31. กรณีที่เจาหนาที่กระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐ สิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทน กําหนดอายุเทาใด ก. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานรัฐรูถึงการละเมิด และรูตัวเจาหนาที่ผูจะตองชดใชคาสินไหมทดแทน ข. 2 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิด ค. 3 เดือนนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิด และรูตัวเจาหนาที่ผูจะตองชดใชคาสินไหมทดแทน ง. 3 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทน 32. การกําหนดเวลารองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณีที่ ผูเสียหายไมพอใจผลการวินิจฉัยของหนวยงานของรัฐจะตองรองทุกขภายในกี่วัน ขอใดกลาวถูกตองที่สุด ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 60 วันนับแตวันที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย ง. 90 วันนับแตวันที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย 33. ในการพิจารณาคําขอของหนวยงานของรัฐ ที่ผูเสียหายไดยื่นตอหนวยงานของรัฐ มีกําหนดเวลากี่วัน ก. 30 วัน ข. 90 วัน ค. 120 วัน ง. 180 วัน 34. หากมีเรื่องที่ไมอาจพิจารณาไดทันในกําหนดนั้นจะตองรายงานปญหาและอุปสรรคใหรัฐมนตรีเจาสังกัดหรือกํากับ หรือควบคุมดูแลหนวยงานของรัฐแหงนัน้ ทราบและขออนุมัติขยายระยะเวลาออกไปได แตรัฐมนตรีดังกลาวจะ พิจารณาอนุมัติใหขยายระยะเวลาใหอีกไดไมเกินกี่วัน ก. 30 วัน ข. 90 วัน ค. 120 วัน ง. 180 วัน 35. หากหนวยงานของรัฐชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูเสียหายไปแลว สิทธิจะเรียกใหเจาหนาที่ชดใชคาสินไหม ทดแทนคืน มีอายุความเทาใด ก. 6 เดือน นับแตวันที่ศาลมีคําพิพากษา ข. 6 เดือน นับแตวันที่หนวยงานของรัฐไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย ค. 1 ป นับแตวันที่หนวยงานของรัฐไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูแกเสียหาย ง. 1 ป นับแตวันที่ศาลมีคาํ พิพากษา 36. วัตถุประสงคหลักของ พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ขอใดกลาวถูกตอง ก. ตองการคุมครองเจาหนาที่รัฐที่ปฏิบตั ิหนาที่โดยสุจริตและรอบคอบ ข. ตองการคุมครองหนวยงานของรัฐที่ไดรับผลกระทบจากการฟองรองของเอกชน ค. ตองการคุมครองหนวยงานรัฐ ง. ตองการคุมครองหนวยงานเอกชน 10 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 37. หากหนวยงานของรัฐชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย โดยเจาหนาที่รัฐผูรับผิดชอบคาสินไหม สิทธิของ หนวยงานรัฐที่จะเรียกใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบคาสินไหมทดแทน มีอายุความเทาใด ก. ภายในครึ่งป ข. ภายใน 1 ป ค. ภายใน 2 ป ง. ภายใน 4 ป 38. กรณีที่เจาหนาที่ในหนวยงานของรัฐกระทําการละเมิด กระทําในการปฏิบัติหนาที่ ผูเสียหากจากกระทําดังกลาวตอง ฟองใคร ก. ฟองเจาหนาที่ที่ทําละเมิด ข. ผูถูกกระทําละเมิดมีสทิ ธิเลือกฟองตามความประสงค ค. ฟองตัวเจาหนาที่และหนวยงานของรัฐที่เจาหนาทีส่ ังกัด ง. ฟองหนวยงานของรัฐที่ผูทําละเมิดสังกัด 39. กรณีที่เกิดละเมิดขึ้นแกหนวยงานของรัฐ โดยเจาหนาที่รัฐกระทําตอเอกชน โดยจงใจหรือประมาทเลินเลออยาง รายแรง ผูร ับผิดชอบคาสินไหมทดแทน คือใคร ก. เจาหนาที่รัฐ ข. หนวยงานรัฐ ค. กระทรวงการคลัง ง. เจาหนาที่ของรัฐและหนวยงานของรัฐ 40. กรณีที่เจาหนาที่หลายคนตองรับผิดชอบรวมกันในผลแหงละเมิด ขอใดกลาวถูกตองที่สุด ก. เจาหนาที่แตละคนตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนเฉพาะสวนของตนเทานั้น ข. ทุกคนตองรับผิดเทาๆกัน ค. เจาหนาที่แตละคนตองรวมรับผิดในลักษณะของลูกหนี้รวม ง. ถูกเฉพาะขอ ข. และขอ ค. 41. ขอใดมิใช ลักษณะของหลักการที่นํามาใชใน พ.ร.บ. ความรับผิดชอบทางละเมิดของเจาหนาที่ ก. หลักการซึ่งเจาหนาที่ตองรับผิดชอบทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่ เฉพาะการประมาทเลินเลออยาง รายแรงเทานั้น ข. หลักการซึ่งเจาหนาที่ตองรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่ เฉพาะเมื่อเปนการจงใจใหเกิดความ เสียหายเทานั้น ค. เรื่องลูกหนี้รวมตามกฎหมายแพง ง. ความรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่ของเจาหนาที่ เจาหนาที่ไมตองรับผิดชอบเปนการเฉพาะตัว 42. ผูเสียหายไดยื่นคําขอใหหนวยงานรัฐพิจารณาชดใชคาสินไหมทดแทน หนวยงานรัฐตองพิจารณาใหแลวเสร็จภายใน กี่วัน ก. 60 วัน ข. 90 วัน ค. 120 วัน ง. 180 วัน 43. เจาหนาที่ หมายความวา ก. ขาราชการ ข. ลูกจาง ค. พนักงาน ง. ถูกทุกขอ 11 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 44. การฟองรองกรณีที่เกิดละเมิดขึ้นแกเอกชน โดยเจาหนาที่รัฐไดปฏิบัติไปตามหนาที่ผูเสียหายจะฟองรองตอ หนวยงานใด เพื่อใหชดใชคาสินไหมทดแทน ก. ไมสามารถฟองรองได ข. ฟองเจาหนาที่ของรัฐ ค. ฟองกระทรวงการคลังเทานั้น ง. ฟองหนวยงานของรัฐที่เจาหนาที่สังกัด 45. ผูเสียหายสามารถยื่นฟองรองเมื่อถูกละเมิด กรณีที่มิไดเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ตอหนวยงานใด ก. ศาลยุติธรรม ข. ศาลปกครอง ค. กระทรวงมหาดไทย ง. หนวยงานรัฐ 46. ถาการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของหนวยงานของรัฐ ก. ไมตองหักสวนแหงความรับผิดดังกลาวออก ข. ใหหักสวนแหงความรับผิดดังกลาวออกดวย ค. ใหหักคาสินไหมทดแทนออกดวย ง. ถูกเฉพาะขอ ข. และขอ ค. 47. กรณีการกระทําละเมิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใด ถือเปนหนวยงานใด เปนหนวยงานของ รัฐที่ตองรับผิดถูกฟองรองคดีดังกลาว ก. กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ข. กรมการปกครอง ค. กระทรวงมหาดไทย ง. กระทรวงการคลัง 12 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com เฉลยแนวข้อสอบ พระราชบัญญัตคิ วามรับผิดชอบทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 01. ตอบ ง (ม.2) 11. ตอบ ข (ม.5 วรรค2) 21. ตอบ ง (ม.8) 31. ตอบ ข (ม.10 วรรค2) 02. ตอบ ข 12. ตอบ ข (ม.6) 22. ตอบ ข (ม.8 วรรค4) 32. ตอบ ง (ม.11) 03. ตอบ ก (ม.5) 13. ตอบ ก (ม.7 วรรค2) 23. ตอบ ก (ม.8) 33. ตอบ ง (ม.11 วรรค2) 04. ตอบ ก 14. ตอบ ง (ม.8) 24. ตอบ ก 34. ตอบ ง (ม.11 วรรค2) 05. ตอบ ง (ม.4) 15. ตอบ ก (ม.8 วรรค4) 25. ตอบ ข (ม.9) 35. ตอบ ค (ม.9) 06. ตอบ ง (ม.4 วรรค2) 16. ตอบ ก (ม.8 วรรค4) 26. ตอบ ง (ม.10 วรรค2) 36. ตอบ ก 07. ตอบ ง (ม.4 วรรค2) 17. ตอบ ง (ม.4) 27. ตอบ ก (ม.10 วรรค2) 37. ตอบ ข (ม.9) 08. ตอบ ค (ม.5 วรรค2) 18. ตอบ ก (ม.10 วรรค2) 28. ตอบ ง (ม.14, ม.11) 38. ตอบ ง (ม.5) 09. ตอบ ง (ม.5 วรรค2) 19. ตอบ ค (ม.7 วรรค2) 29. ตอบ ค (ม.11) 39. ตอบ ก 10. ตอบ ง (ม.5 วรรค2) 20. ตอบ ง (ม.7 วรรค2) 30. ตอบ ค (ม.11 วรรค2) 40. ตอบ ก (ม.8 วรรค4) 41. ตอบ ค (ม.8) 42. ตอบ ง (ม.11) 43. ตอบ ง (ม.4) 44. ตอบ ง (ม.4) 45. ตอบ ข (ม.14) 46. ตอบ ข (ม.8 วรรค3) 47. ตอบ ง (ม.5 วรรค 2) 13 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 14

Use Quizgecko on...
Browser
Browser