บทที่ 2 การประเมินฐานะการเงินส่วนบุคคล PDF

Summary

เอกสารนี้กล่าวถึงการประเมินฐานะการเงินส่วนบุคคล และการกำหนดเป้าหมายทางการเงิน โดยใช้ งบดุลส่วนบุคคล งบแสดงฐานะทางการเงินส่วนบุคคล หรือ งบแสดงความมั่งคั่งสุทธิส่วนบุคคล และงบกระแสเงินสดส่วนบุคคล

Full Transcript

บทที่ 2 การประเมินฐานะการเงินส่วนบุคคล และการกาหนดเป้าหมาย การวัดความสาเร็จในการดาเนินงานตามแผนทางการเงินส่วนบุคคล จะต้องสำรวจ สถำนะทำงกำรเงินของบุคคล โดยทำกำรวิเคราะห์ความมั่งคัง่ สุทธิ จำกระดับ สินทรัพย์ หนี้สิน ที่มีอยู่ ==> งบดุลส่วนบุคคล / งบแสดงฐานะทางการเงินส่วนบุคคล / ง...

บทที่ 2 การประเมินฐานะการเงินส่วนบุคคล และการกาหนดเป้าหมาย การวัดความสาเร็จในการดาเนินงานตามแผนทางการเงินส่วนบุคคล จะต้องสำรวจ สถำนะทำงกำรเงินของบุคคล โดยทำกำรวิเคราะห์ความมั่งคัง่ สุทธิ จำกระดับ สินทรัพย์ หนี้สิน ที่มีอยู่ ==> งบดุลส่วนบุคคล / งบแสดงฐานะทางการเงินส่วนบุคคล / งบแสดงความมั่งคั่งสุทธิสว่ น บุคคล นอกจำกนี้ ต้องพิจำรณำควำมสำมำรถในกำรหำรำยได้ของบุคคล และควำมจำเป็นในกำรใช้จ่ำย ของบุคคล เพื่อกำหนดแผนกำรทำงกำรเงินที่เป็นไปได้ในทำงปฏิบัติ ==> งบกระแสเงินสดส่วนบุคคล กำรประเมินสถำนะทำงกำรเงิน เพื่อวิเครำะห์ควำมมั่งคั่งสุทธิ (Net Worth) ดูจำก ระดับของ สินทรัพย์ หนี้สิน จัดทำแผนกำรเงิน งบแสดงฐานะการเงินส่วนบุคคล อัตรำส่วนทำงกำรเงิน เพื่อ งบประมาณเงินสดส่วนบุคคล Personal Statement of Financial วิเครำะห์สถำนะทำง Personal Cash Budget Position กำรเงิน 3 ด้ำน เป็นเครื่องมือช่วยกำหนดระดับ ควำมสำมำรถในกำรหำรำยได้ กำรควบคุม รำยได้ ค่ำใช้จ่ำย กำรออมและ สภำพคล่อง ภำระหนี้สิน ค่ำใช้จ่ำย กำรออม กำรลงทุน เพื่อกำหนด กำรลงทุน ที่พึงปฏิบัติเพื่อให้ กำรออมและกำรลงทุน แผนกำรเงินที่เป็นไปได้ในทำงปฏิบัติ บรรลุเป้ำหมำยทำงกำรเงินที่ กำหนดไว้ งบกระแสเงินสดส่วนบุคคล Personal Statement of Cash Flows ยืนอยู่ ณ จุดใด ในปัจจุบัน จะไป ณ จุดใด ในอนาคต วัตถุประสงค์ของการจัดทางบการเงินส่วนบุคคล เพื่อทรำบสถำนะทำงกำรเงินของบุคคล เพื่อเป็นเครื่องมือในกำรเก็บรวบรวมกิจกรรมทำงกำรเงินในช่วงเวลำที่ผ่ำนมำ ซึ่งจะเป็นข้อมูลใน กำรตัดสินใจทำงด้ำนกำรเงินในอนำคต เพื่อใช้วัดควำมก้ำวหน้ำของเป้ำหมำยทำงกำรเงิน โดยดูจำกกำรเปลี่ยนแปลงงบกำรเงินในอดีต เทียบกับปัจจุบัน เพื่อเป็นเครื่องมือในกำรกำหนดระดับ รำยได้ ค่ำใช้จ่ำย กำรออมและกำรลงทุน ให้สอดคล้องและ เป็นไปได้ นำสู่กำรบรรลุเป้ำหมำยทำงกำรเงินที่กำหนดไว้ เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับกำรคำนวณภำษีเงินได้และใช้ในกำรขอสินเชื่อจำกสถำบันกำรเงิน งบการเงินส่วนบุคคล งบแสดงฐานะการเงินส่วนบุคคล Personal Statement of Financial Position แสดงสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้ำของ/ควำมมั่งคั่ง งบกระแสเงินสดส่วนบุคคล Personal Statement of Cash Flows กระแสเงินสดรับ Cash inflows กระแสเงินสดจ่ำย Cash outflows งบแสดงฐานะการเงินส่วนบุคคล (งบดุล) มี 3 ส่วน คือ สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้ำของ/ควำมมั่งคั่ง สมกำร สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้ำของ/ควำมมั่งคั่ง สินทรัพย์ สินทรัพย์ที่บุคคลนั้นเป็นกรรมสิทธิ์และมีมูลค่ำทำงเศรษฐกิจที่สำมำรถตีมูลค่ำ ให้เป็นเงินสดได้ ประกอบด้วย สินทรัพย์สภาพคล่อง Liquid Assets สินทรัพย์เพื่อการ ลงทุน Investment Assets สินทรัพย์ใช้ส่วนตัว Personal Possessions สินทรัพย์อื่นๆ Other Assets [สินทรัพย์จะบันทึกไว้ตามมูลค่าตลาด Market Value] หนี้สิน เป็นเงินที่บุคคลไปกู้ยืมมำ หรือเกิดสัญญำในกำรซื้อสินค้ำและบริกำรและ มีภำระผูกพันที่ต้องชำระคืนทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยในอนำคต ประกอบด้วย หนี้สิน ระยะสั้น Short-term Liabilities หนี้สินระยะยาว Long-term Liabilities ส่วนเจ้าของหรือความมั่งคั่งสุทธิ มูลค่ำสินทรัพย์ที่เหลือหลังจำกชำระคืนหนี้สิน ทั้งหมดแล้ว บ่งบอกถึงควำมมั่งคั่งที่แท้จริงของบุคคล สมการ สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ หรือ ความมั่งคั่งสุทธิ หรือ ส่วนของเจ้าของ หรือ ความมั่งคั่งสุทธิ = สินทรัพย์ - หนี้สิน สินทรัพย์ Assets สินทรัพย์สภาพคล่อง Liquid Assets เปลี่ยนเป็นเงินสดได้ง่ำยโดยมูลค่ำไม่เปลี่ยนแปลงมำกนัก วัตถุประสงค์เพื่อใช้จ่ำยในชีวิตประจำวันและ ยำมฉุกเฉิน เช่น เงินสด เงินฝำก ฯลฯ สินทรัพย์เพื่อการลงทุน Investment Assets หวังผลตอบแทน เพิ่มควำมมั่งคั่งสุทธิ เช่น หุ้นกู้ กองทุนรวม กรมธรรม์ประกันชีวิต ฯลฯ สินทรัพย์ใช้ส่วนตัว Personal Possessions วัตถุประสงค์เพื่อใช้จ่ำยในชีวิตประจำวันสำหรับหำควำมสุขและเพิ่มควำมสะดวกสบำยให้กับชีวิต เช่น ที่อยู่อำศัย ยำนพำหนะ เฟอร์นิเจอร์ เสื้อผ้ำ เครื่องประดับฯลฯ สินทรัพย์อื่นๆ Other Assets สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน ไม่สำมำรถมองเห็น แต่สร้ำงมูลค่ำได้ เช่น สิทธิบัตร ลิขสิทธ์ หนี้สิน Liabilities หนี้สินระยะสั้น Short-term Liabilities หนี้สินที่มีภำระผูกพันต้องชำระคืนภำยใน 1 ปี เช่น กำรผ่อนสินค้ำ หนี้บัตรเครดิต บิลค้ำง ชำระค่ำน้ำ-ค่ำไฟ หนี้สินระยะยาว Long-term Liabilities หนี้สินที่มีภำระผูกพันต้องชำระคืนมำกกว่ำ 1 ปี เช่น หนี้ผ่อนชำระค่ำบ้ำน ค่ำรถ ส่วนเจ้าของหรือความมั่งคั่งสุทธิ มูลค่าสินทรัพย์ที่เหลือหลังจากชาระคืนหนี้สินทั้งหมดแล้ว สมการ ส่วนของเจ้าของ (ความมั่งคั่งสุทธิ) = สินทรัพย์ – หนี้สิน ความมั่งคั่งสุทธิ มีค่าเป็น + (บวก) ความมั่งคั่งสุทธิ มีค่าเป็น – (ลบ)** **ล้มละลาย ความมั่งคั่งสุทธิจะเปลี่ยนแปลงตำมช่วงอำยุ อำยุน้อย ควำมมั่งคั่งสุทธิน้อย / อำยุมำก ควำมมั่งคั่งสุทธิมำก การบริหารการเงินที่ดี คือ การหาทางทาให้ความมั่งคั่งสุทธิเพิ่มสูงขึ้น ส่วนของเจ้าของ หรือ ความมั่งคั่งสุทธิ = สินทรัพย์ – หนี้สิน ยกตัวอย่ำง หำกเรำตัดสินใจซื้อบ้ำนรำคำ 1,000,000 บำท โดยวำงดำวน์ไปแล้ว 200,000 บำท ที่เหลือเป็นเงินกู้ แต่จ่ำยเงินงวดผ่อนบ้ำนจนเหลือยอดหนี้ที่เป็นเงินต้นแค่ 500,000 บำท รำคำบ้ำนในปัจจุบันสูงขึ้นมำเป็น 1,100,000 บำท แปลว่ำ ควำมมั่งคั่ง หรือ Wealth ที่เรำมีในบ้ำนหลังนี้จะอยู่ที่ 600,000 บำท สินทรัพย์รำคำ 1,100,000 บำท ลบด้วยหนี้สิน 500,000 บำท เท่ำกับควำมมั่งคั่ง 600,000 บำท การเพิ่มความมั่งคั่งสุทธิของบุคคล ออมเงินสม่ำเสมอ เพิ่มสัดส่วนสินทรัพย์เพื่อกำรลงทุนที่สร้ำงผลตอบแทนได้สูงขึ้น บริหำรรำยได้ให้มำกกว่ำค่ำใช้จ่ำย พยำยำมชำระหนี้ให้หมด ไม่ก่อหนี้เพิ่ม สินทรัพย์เพิ่ม 1 บาท ความมั่งคั่งสุทธิเพิม่ 1 บาท ออมเงินเพิ่ม 1 บาท ความมั่งคั่งสุทธิเพิม่ 1 บาท หนี้สินเพิ่ม 1 บาท ความมั่งคั่งสุทธิลดลง 1 บาท ความมั่งคั่งสุทธิที่เหมาะสม = (อายุ x รายได้รวมต่อปี) / 10 สมมติ อำยุปัจจุบัน 30 ปี มีรำยได้รวมตลอดปี 360,000 บำท ควำมมั่งคั่งสุทธิที่เหมำะสม = (30 x 360,000)/10 = 1,080,000 บำท ความมั่งคั่งสุทธิที่เหมาะสม = 1/3 x (อายุปัจจุบัน – อายุเริ่มงาน) x [(เงินได้ต่อปีปัจจุบัน + เงิน ได้ต่อปีเมื่อเริ่มทางาน)/2] สมมติอำยุปัจจุบัน 30 ปี เริ่มทำงำนตอน อำยุ 22 ปี รำยได้เริ่มต้นเดือนละ 15,000 x 12 เดือน = 180,000 บำท (รำยได้ต่อปีเมื่อเริ่มทำงำน) ทำงำนมำได้ 8 ปี รำยได้ ปัจจุบันเดือนละ 50,000 x 12 เดือน = 600,000 บำท (รำยได้ต่อปัจจุบัน) ควำมมั่งคั่งสุทธิที่เหมำะสม = 1/3 x (30 - 22) x [(600,000 + 180,000)/2] = 1,040,000 บำท เพรำะฉะนั้น ควรมีเงินออมอย่ำงน้อย 1,040,000 บำท สินทรัพย์ทั้งสิ้น 4,540,000 บำท หนี้สินค้ำง 1,870,000 บำท ควำมมั่งคั่งสุทธิ 2,670,000 บำท งบกระแสเงินสดส่วนบุคคล Personal Statement of Cash Flows หรือ งบรำยได้และค่ำใช้จ่ำย (income and expenditure statement) งบสรุปรำยได้และค่ำใช้จ่ำยของบุคคลในช่วงเวลำหนึ่ง เช่น 1 เดือน 3 เดือน 1 ปี “เกณฑ์เงินสด Cash Basis” มีองค์ประกอบ 2 ส่วน กระแสเงินสดรับ Cash Inflows กระแสเงินสดจ่ำย Cash Outflows วัตถุประสงค์ของงบกระแสเงินสดส่วนบุคคล 1.การวิเคระห์พฤติกรรมการใช้จ่ายของบุคคล เนื่องจำกงบกระแสเงินสดส่วนบุคคลเป็นข้อมูล กำรใช้จ่ำยเงินสดที่เกิดขึ้นในอดีต โดยอำจจะแสดงให้เห็นว่ำบุคคลนั้นๆ มีปัญหำในกำรใช้จ่ำยเงินที่เกินกว่ำ รำยได้หรือไม่ และถ้ำหำกบุคคลดังกล่ำวมีปัญหำรำยจ่ำยมำกกว่ำรำยได้ งบกระแสเงินสดส่วนบุคคลจะช่วยทำ ให้เรำทรำบว่ำบุคคคลดังกล่ำวมีรำยจ่ำยในส่วนใดที่พุ่มเฟือยเกินควำมจำเป็น อันจะช่วยทำให้สำมำรถแก้ไข พฤติกรรมกำรใช้จ่ำยที่ไม่เหมำะสมได้ถูกต้องตรงกับสำเหตุของปัญหำ และยังจะช่วยทำให้บุคคลสำมำรถ ควบคุมกำรใช้จ่ำยในอนำดตได้อย่ำงมีประสิทธิภำพมำกขึ้น 2. การพยากรณ์กระแสเงินสดในอนาคต จำกกำรตรวจสอบรำยได้รำยจ่ำยของบุคคลในอดีต จะ ทำให้เรำสำมำรถพยำกรณ์รำยได้รำยจ่ำยในอนำคตได้ถูกต้องมำกขึ้น เป็นผลให้กำรจัดทำงบประมำณส่วน บุคคลมีควำมถูกต้องมำกขึ้น เพรำะเรำจะสำมำรถบอกได้ว่ำบุคคลนั้นๆ มีรำยได้ที่เป็นเงินสดจำกเหล่งใดบ้ำง และมีรำยจ่ำยที่เป็นเงินสดอะไรบ้ำงที่มีกำรใช้จ่ำยเป็นประจำ ซึ่งจะทำให้กำรวำงแผนทำงกำรเงินตั้งอยู่บน พื้นฐำนของควำมเป็นไปได้ ทำให้บรรลุเป้ำหมำยทำงกำรเงินของบุคคลนั้นได้ง่ำย กระแสเงินสดรับ Cash Inflows รำยได้ที่บุคคลได้รับเป็นเงินสด รายได้จากการจ้างแรงงาน เช่น เงินเดือน ค่ำล่วงเวลำ ค่ำจ้ำง เงินโบนัส รายได้จากการลงทุนในสินทรัพย์ เช่น ค่ำเช่ำ ค่ำลิขสิทธิ์ ดอกเบี้ย เงินปันผล รำยได้จำกกำรขำย สินทรัพย์ลงทุน รายได้จากการประกอบธุรกิจส่วนตัว รำยได้จำกกำรประกันสังคม กำรทำประกันชีวิต เงินบำเหน็จบำนำญ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ รายได้อื่นๆ เช่น เงินรำงวัลสลำกกินแบ่งรัฐบำล เงินมรดก เงินภำษี **การบันทึกรายได้ จะใช้ เกณฑ์เงินสด (cash basis) และเป็นรายได้ก่อนถูกหักภาษี** ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อกระแสเงินสดรับ วงจรชีวิตของบุคคล ประเภทงำน กระแสเงินสดจ่าย Cash Outflows ค่ำใช้จ่ำยที่บุคคลได้จ่ำยเป็นเงินสด (ไม่รวมรำยจ่ำยที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระเป็น เงินสด) และยังรวมถึง ค่ำใช้จ่ำยที่มีกำรหักออกจำกรำยได้ที่ได้รับอัตโนมัติ เช่น ภำษี เงิน สมทบกองทุนประกันสังคม ในทำงกำรเงินส่วนบุคคล กระแสเงินสดจ่ำยที่มีลำดับควำมสำคัญมำกที่สุด คือ เงินออมและเงินลงทุน รายได้ – เงินออม/เงินลงทุน = ค่าใช้จ่าย Pay Youself First = บุคคลควรใช้จ่ายจากกระแสเงินสดที่เหลือหลังจากหักเงินออม/เงินลงทุน กระแสเงินสดจ่าย Cash Outflows มี 3 ประเภท 1. กระแสเงินสดจ่าย เพื่อการออมและการลงทุน Saving and investments เป็นกระแสเงินสดจ่ำยที่มุ่งหวังจะได้กระแสเงินสดรับเป็นผลตอบแทนจำกกำรออมและกำรลงทุน เป็นกระแสเงินสดจ่ำยเพื่อกำรสร้ำงรำกฐำนในกำรเพิ่มควำมมั่งคั่งสุทธิ ส่งผลให้บรรลุเป้ำหมำย ทำงกำรเงินในอนำคต เช่น ฝากเงินธนาคาร ซื้อพันธบัตร ซื้อหลักทรัพย์ 2. กระแสเงินสดจ่าย คงที่ Fixed cash outflows เป็นกระแสเงินสดจ่ำยที่เกิดขึ้นเป็นประจำในจำนวนที่เท่ำกันทุกงวดในช่วงเวลำหนึ่ง คำดกำรณ์ จำนวนเงินและระยะเวลำได้ ปรับลดได้ยำกเนื่องจำกเป็นภำระผูกพัน เช่น ค่าเช่าบ้าน ค่าผ่อน ชาระ ค่าเบี้ยประกัน เงินสะสมกองทุนสารองเลีย้ งชีพ 3. กระแสเงินสดจ่าย ผันแปร Variable cash outflows เป็นกระแสเงินสดจ่ำย ผันแปรตำมควำมต้องกำรของบุคคล ไม่สำมำรถคำดกำรณ์ล่วงหน้ำได้ อย่ำงแน่นอน แต่สำมำรถควบคุมได้ทั้งจำนวนและระยะเวลำที่ต้องชำระ เช่น ค่ำอุปโภคบริโภค เช่น ค่ำอำหำร ค่ำเสื้อผ้ำ ค่ำสำธำรณูปโภค เช่น ค่ำไฟฟ้ำ ค่ำน้ำประปำ ค่ำโทรศัพท์ ค่ำใช้จ่ำยด้ำนนันทนำกำร เช่น ค่ำท่องเที่ยว ค่ำดูหนัง ค่ำใช้จ่ำยด้ำนกำรเดินทำง เช่น ค่ำน้ำมันรถ ค่ำรถโดยสำร ค่ำใช้จ่ำยด้ำนดูแลสุขภำพ เช่น ค่ำฟิตเนส ค่ำอำหำรเสริม ค่ำรักษำพยำบำล ค่ำใช้จ่ำยด้ำนกำรศึกษำ / ฝึกอบรม เช่น ค่ำหนังสือ ค่ำเทอม ค่ำใช้จ่ำยอื่น ๆ เช่น ค่ำทำบุญ ค่ำของขวัญ ภำษี ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อกระแสเงินสดจ่าย ขนำดของครอบครัว อำยุ พฤติกรรมกำรบริโภค กระแสเงินสดรับสุทธิ Net Cash Inflows กระแสเงินสดรับ Cash Inflow ที่เหลือหลังจำกหักลบด้วยกระแส เงินสดจ่ำย Cash Outflow ในรอบระยะเวลำหนึ่ง ซึ่งอำจจะมีค่ำ เป็นศูนย์ มำกกว่ำศูนย์ หรือ น้อยกว่ำศูนย์ ก็ได้ กระแสเงินสดรับสุทธิ = กระแสเงินสดรับ – กระแสเงินสดจ่าย กระแสเงินสดรับสุทธิ Net Cash Inflows กระแสเงินสดส่วนเกิน สำมำรถนำไปเพิ่มกำร กระแสเงินสดส่วนเกิน Cash Surplus มากกว่า ศูนย์ ออม / กำรลงทุน / กระแสเงินสดรับ (รำยได้) มากกว่า กระแสเงินสดจ่ำย (ค่ำใช้จ่ำย) Positive ชำระหนี้ ทำให้ควำมมั่งคั่งสุทธิ ของบุคคลเพิ่มขึ้น กระแสเงินสดส่วนขาด Cash Deficit น้อยกว่า ศูนย์ Negative กระแสเงินสดรับ (รำยได้) น้อยกว่า กระแสเงินสดจ่ำย (ค่ำใช้จ่ำย) ส่งผลกระทบต่อความมั่งคั่งสุทธิ Net Worth ของบุคคล กระแสเงินสดส่วนเกิน Cash Surplus ทาให้ ความมั่งคั่งสุทธิ Net Worth เพิ่มขึ้น กระแสเงินสดส่วนขาด Cash Deficit ทาให้ ความมั่งคั่งสุทธิ Net Worth ลดลง รำยได้จำกกำรจ้ำงแรงงำน รำยได้จำกกำรลงทุนในสินทรัพย์ รำยได้จำกกำรประกอบธุรกิจส่วนตัว กระแสเงินสดรับ รำยได้จำกกำรประกันสังคม ประกันชีวิต เงินบำเหน็จบำนำญ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (รำยได้) รำยได้อื่นๆ มี 3 ประเภท 1. กระแสเงินสดจ่ำย เพื่อกำรออมและกำรลงทุน Saving and investments กระแสเงินสดจ่าย 2. กระแสเงินสดจ่ำยคงที่ Fixed cash outflows 3. กระแสเงินสดจ่ำยผันแปร Variable cash outflows (ค่ำใช้จำ่ ย) + มีค่ำเป็นบวก = กระแสเงินสดส่วนเกิน - มีค่ำเป็นลบ = กระแสเงินสดส่วนขำด กระแสเงินสดจ่ายสุทธิ การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน สภำพคล่อง ภำระหนี้สิน กำรออมและกำรลงทุน สภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่อง Liquidity Ratio ดูควำมสำมำรถชำระหนี้ระยะสั้น สินทรัพย์สภาพคล่อง / หนี้สินระยะสั้น มำกกว่ำ 1 เท่ำ อัตราส่วนสภาพคล่องพื้นฐาน Basic Liquidity Ratio ดูว่ำสำมำรถใช้ในกำรดำรงชีวิตได้กี่เดือน สินทรัพย์สภาพคล่อง / กระแสเงินสดจ่ายต่อเดือน 3-6 เดือน (เท่ำ) อัตราส่วนสภาพคล่องต่อความมั่งคั่งสุทธิ Liquid Asset to Net Worth Ratio ดูสัดส่วนควำมมั่งคั่งสุทธิกับสินทรัพย์ว่ำมีมำกน้อยเพียงใด สินทรัพย์สภาพคล่อง / ความมั่งคั่งสุทธิ (ส่วนเจ้าของ) 15% สภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่อง Liquidity Ratio ดูควำมสำมำรถชำระหนี้ระยะสั้น ว่ำมีสินทรัพย์สภำพคล่อง เช่น เงินสด เงินฝำก เพียงพอ สำหรับกำรชำระหนี้สินระยะสั้นที่ครบกำหนดภำยในระยะเวลำ 1 ปี หรือไม่ อัตราส่วนสภาพคล่อง = สินทรัพย์สภาพคล่อง หนี้สินระยะสัน้ โดยทั่วไปอัตรำส่วนสภำพคล่องที่คำนวณได้ควรมีค่าเกินกว่า 1 ถ้ำอัตรำส่วนสภำพคล่องที่คำนวณได้มีค่ำมำก แสดงว่ำ บุคคลดังกล่ำวมีสินทรัพย์ที่มีสภำพคล่องโดย เปรียบเทียบกับมูลค่ำของหนี้สินระยะสั้นค่อนข้ำงมำก แสดงว่ำมีขีดควำมสำมำรถในกำรชำระหนี้ระยะสั้นที่ดี ในทำงตรงกันข้ำมถ้ำอัตรำส่วนสภำพคล่องที่คำนวณได้มีค่ำน้อย แสดงว่ำบุคคลดังกล่ำวมีสินทรัพย์ที่มีสภำพ คล่องโดยเปรียบเทียบกับหนี้สินระยะสั้นไม่มำกนัก และมีโอกำสที่จะประสบกับปัญหำควำมสำมำรถในกำร ชำระหนี้ระยะสั้นได้ในอนำคต แต่ถ้ำมีแนวโน้มลดลงควรหำทำงแก้ไข โดยกำรเพิ่มสินทรัพย์ที่มีสภำพคล่อง หรืออำจจะลดมูลค่ำของหนี้สิน ระยะสั้น เช่น เร่งกำรชำระหนี้ หรือแปลงหนี้ระยะสั้น ให้เป็นหนี้ระยะยำวเป็นต้น สภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องพื้นฐาน Basic Liquidity Ratio หรือ อัตราส่วนค่าใช้จ่าย ประจาวัน ดูว่ำสำมำรถใช้ในกำรดำรงชีวิตได้กี่เดือน สินทรัพย์สภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องพื้นฐาน = กระแสเงินสดจ่ายต่อเดือน อัตรำส่วนสภำพคล่องพื้นฐำน ควรจะมีค่าระหว่าง 3 ถึง 6 บุคคลดังกล่ำวจึงจะมีสภำพคล่องที่เหมำะสม บุคคลนั้นๆ จะมีควำมสำมำรถที่จะดำรงชีวิตได้อย่ำงปกติ มีสภำพคล่องเพียงพอที่จะใช้จ่ำยได้ 3 ถึง 6 เดือน ในช่วงที่ประสบกับปัญหำทำงกำรเงิน ขำดรำยได้ แต่ถ้ำอัตรำส่วนดังกล่ำวมีแนวโน้มลดลงควรหำสำเหตุและแก้ไข หำกมีแหล่งรำยได้ทำงเดียว ควรป้องกันควำมเสี่ยงโดยกำรสำรองให้มำกที่สุด (6 เดือน) แต่หำกมีแหล่งรำยได้หลำยทำงหรือมีแหล่งรำยได้ที่มั่นคง ก็อำจสำรองในปริมำณที่น้อยได้ (3 - 4 เดือน) แต่ที่สำคัญอีกอย่ำงนอกจำกกำรสำรองในปริมำณที่เหมำะสมกับตนเอง ก็คือ กำรที่ต้องรักษำปริมำณเงินสำรอง ให้อยู่ในระดับที่เหมำะสมนั้นตลอดเวลำ สภาพคล่อง อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่องต่อความมั่งคั่งสุทธิ Liquid Asset to Net Worth Ratio ดูสัดส่วนควำมมั่งคั่งสุทธิกับสินทรัพย์สภำพคล่องว่ำมีมำกน้อยเพียงใด สินทรัพย์สภาพคล่อง อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่องต่อความมั่งคั่งสุทธิ = ความมั่งคั่งสุทธิ ตำมมำตรฐำนที่อ้ำงอิงกับต่ำงประเทศ โดยทั่วไปบุคคลควรมีอัตราส่วนสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่อง ต่อความมั่งคั่งสุทธิ ขั้นต่า 15% อัตรำส่วนสินทรัพย์ที่มีสภำพคล่องต่อควำมมั่งคั่งสุทธิเป็นกำรเปรียบเทียบว่ำ ควำมมั่งคั่งสุทธิที่ บุคคลมีอยู่นั้น มีสินทรัพย์ที่มีสภำพคล่องอยู่ในสัดส่วนมำกน้อยเพียงใด เนื่องจำกถ้ำควำมมั่งคั่งสุทธิของบุคคลอยู่ในรูปของสินทรัพย์ที่ไม่ค่อยมีสภำพคล่องแล้ว ในเวลำที่ บุคคลมีควำมจำเป็นต้องใช้จ่ำยฉุกเฉิน เช่น ต้องจ่ำยค่ำรักษำพยำบำลต่ำงๆ ต่อให้บุคคลนั้นๆ มี ควำมมั่งคั่งสุทธิที่สูง แต่ก็อำจจะประสบปัญหำทำงกำรเงินได้ เนื่องจำกไม่สำมำรถแปลงสินทรัพย์ ที่มีอยู่มำใช้ในยำมฉุกเฉินได้ทันท่วงที ภาระหนี้สิน อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ Debt to assets ratio แสดงระดับของหนี้สิน ทำให้ทรำบว่ำสินทรัพย์ที่มีอยู่จัดหำมำจำกหนี้สินเท่ำใด หนี้สินรวม / สินทรัพย์รวม น้อยกว่ำ 50% อัตราส่วนแสดงความสามารถในการชาระหนี้สินทัง้ หมด Solvency Ratio แสดงถึงควำมสำมำรถในกำรชำระหนี้ บ่งบอกถึงฐำนะที่แท้จริงว่ำมีควำมมั่นคงทำงกำรเงิน มำกน้อยเพียงใด อำจเรียกอัตรำส่วนนี้ว่ำ “อัตรำส่วนควำมมั่นคงทำงกำรเงิน” ความมั่งคั่งสุทธิ / สินทรัพย์รวม มำกกว่ำ 50% ภาระหนี้สิน อัตราส่วนแสดงการชาระหนีส้ ินจากรายได้ Debt service ratio แสดงถึง ควำมสำมำรถในกำรชำระหนี้จำกรำยได้รวมที่ได้รับ การชาระหนี้สนิ ต่อเดือน (ปี) / รายได้รวมต่อเดือน (ปี) ต่ำกว่ำ 35% ไม่สูงเกิน 45% อัตราส่วนแสดงการชาระหนีส้ ินที่ไม่ใช่การจดจานองจากรายได้ แสดงถึง ควำมสำมำรถในกำรชำระหนี้ที่ไม่ใช่กำรจดจำนอง การชาระหนี้สนิ (ไม่จดจานอง)ต่อเดือน (ปี) / รายได้รวมต่อเดือน (ปี) ต่ำกว่ำ 15% ไม่สูงเกิน 20% ภาระหนี้สิน อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ Debt to assets ratio แสดงระดับของหนี้สินที่มีภำระผูกพันต้องชำระคืน ทำให้ทรำบว่ำสินทรัพย์ที่มีอยู่จัดหำมำ จำกหนี้สินเท่ำใด แสดงถึงควำมสำมำรถในกำรชำระหนี้ระยะปำนกลำงถึงระยะยำว หนี้สินรวม อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ = สินทรัพย์รวม อัตราส่วนนี้ ควรมีค่าน้อย (น้อยกว่า 50%) ภาระหนี้สิน อัตราส่วนแสดงความสามารถในการชาระหนี้สินทั้งหมด Solvency Ratio แสดงถึงควำมสำมำรถในกำรชำระหนี้ บ่งบอกถึงฐำนะที่แท้จริงว่ำมีควำมมั่นคงทำงกำรเงิน มำกน้อยเพียงใด อำจเรียกอัตรำส่วนนี้ว่ำ “อัตรำส่วนควำมมั่นคงทำงกำรเงิน” ความมั่งคั่งสุทธิ อัตราส่วนแสดงความสามารถในการชาระหนี้สินทั้งหมด = สินทรัพย์รวม อัตราส่วนนี้ ควรมีค่ามาก (มากกว่า 50%) - ค่ำมำก สะท้อนถึงสถำนะกำรเงินที่มั่นคง - ค่ำน้อย มีกำรกู้ยืมเงินมำกเกินไปโดยเทียบกับควำมมั่งคั่งสุทธิ เสี่ยงต่อขีดควำมสำมำรถในกำรชระหนี้ในอนำคต ภาระหนี้สิน อัตราส่วนแสดงการชาระหนี้สินจากรายได้ Debt service ratio แสดงถึง ควำมสำมำรถในกำรชำระหนี้จำกรำยได้รวมที่ได้รับ การชาระคืนหนี้สินต่อเดือน (ปี) อัตราส่วนแสดงการชาระหนี้สนิ จากรายได้ = รายรับรวมต่อเดือน (ปี ) อัตราส่วนนี้ ควรมีค่าต่ากว่า 35% ไม่สูงเกิน 45% ต่ากว่า 35% : น่ำจะมีควำมสำมำรถเพียงพอที่จะนำรำยได้มำชำระหนี้ มากกว่า 45% : ไม่มีควำมมั่นคงทำงกำรเงิน มีควำมเสี่ยงในกำรชำระหนี้ในอนำคต ภาระหนี้สิน อัตราส่วนแสดงการชาระหนี้สินที่ไม่ใช่การจดจานองจากรายได้ Non-Mortgage service ratio แสดงถึง ควำมสำมำรถในกำรชำระหนี้ที่ไม่ใช่กำรจดจำนอง คำนวณคล้ำยอัตรำส่วนแสดง กำรชำระหนี้สินจำกรำยได้ Debt service ratio เพียงแต่จะไม่นำหนี้สินที่เกิดจำกกำรจดจำนองมำ คิดรวม [หนี้สินที่จดจำนอง เช่น หนี้สินเพื่อที่อยู่อำศัย] การชาระคืนหนี้สิน(ไม่จดจานอง)ต่อเดือน (ปี) อัตราส่วนแสดงการชาระหนี้สิน(ไม่จดจานอง)จากรายได้ = รายรับรวมต่อเดือน (ปี) อัตราส่วนนี้ ควรมีค่าต่ากว่า 15% ไม่สูงเกิน 20% นาย ก. มีเงินเดือน 30,000 บาท อัตราส่วนแสดงการชาระหนี้สินจากรายได้ ไม่สูงเกิน 45% แสดงว่ำกำรชำระหนี้สินทั้งหมดจำกรำยได้ไม่ควรเกิน 30,000 x 45% = 13,500 บำทต่อเดือน อัตราส่วนแสดงการชาระหนี้สินที่ไม่ใช่การจดจานองจากรายได้ ไม่สูงเกิน 20% แสดงว่ำกำรชำระหนี้สินที่ไม่ใช่กำรจดจำนองจำกรำยได้ไม่ควรเกิน 30,000 x 20% = 6,000 บำทต่อเดือน [หนี้สินเพื่อกำรบริโภค] จำกตัวอย่ำงดังกล่ำว หลังจำก นำย ก. ก่อหนี้เพื่อกำรบริโภค 6,000 บำท ก็จะก่อหนี้อื่นๆ เช่น เพื่อซื้อที่อยู่อำศัยได้ไม่ควรเกิน 7,500 บำท (13,500 – 6,000) การออมและการลงทุน เป็นกำรวิเครำะห์วำ่ บุคคลสำมำรถออมเงินได้ตำมที่วำงแผนทำงกำรเงินไว้หรือไม่ โดยมี วัตถุประสงค์ ดังนี้ เพื่อวิเครำะห์ควำมเป็นไปได้ในกำรออม / ลงทุน เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยกำรเงินทั้ง ระยะสั้น / ระยะยำว เพื่อวิเครำะห์ควำมเหมำะสมในกำรจัดสรรเงินลงทุนในสินทรัพย์ประเภทต่ำงๆ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งว่ำมีกำรกระจำยควำมเสี่ยงอย่ำงพอเพียงหรือไม่ เพื่อวิเครำะห์ควำมเหมำะสมของกำรวำงแผนหลังเกษียณอำยุ การออมและการลงทุน อัตราส่วนการออม Saving ratio แสดงสัดส่วนกำรออม สำรองเพื่อกำรอุปโภค บริโภค รวมถึงยำมเกษียณ จะผัน แปรตำมวงจรชีวิตและเป้ำหมำยทำงกำรเงิน เงินออมต่อเดือน (ปี) / รายได้รวมต่อเดือน (ปี) 10% อัตราส่วนการลงทุน Net investment assets to net worth ratio แสดงถึง สินทรัพย์ที่ลงทุนโดยมุ่งหวังให้ได้ผลตอบแทนและเป็นแหล่งที่มำของ รำยได้เพิ่มขึ้น จะมำกขึ้นเมื่ออำยุมำกขึ้น สินทรัพย์เพื่อการลงทุนรวม / ความมั่งคั่งสุทธิ มำกกว่ำ 50% การออมและการลงทุน อัตราส่วนการออม Saving ratio แสดงสัดส่วนกำรออม สำรองเพื่อกำรอุปโภค บริโภค รวมถึงยำมเกษียณ จะผัน แปรตำมวงจรชีวิตและเป้ำหมำยทำงกำรเงิน เงินออมต่อเดือน (ปี) อัตราส่วนการออม = รายได้รวมต่อเดือน (ปี) ผันแปรตาม วงจรชีวิต อัตราส่วนนี้ ควรมีค่าอย่างน้อย 10% การออมและการลงทุน อัตราส่วนการลงทุน Net investment assets to net worth ratio แสดงถึง สินทรัพย์ที่ลงทุนโดยมุ่งหวังให้ได้ผลตอบแทนและเป็นแหล่งที่มำของ รำยได้เพิ่มขึ้น จะมำกขึ้นเมื่ออำยุมำกขึ้น สินทรัพย์เพื่อการลงทุนรวม อัตราส่วนการลงทุน = ความมั่งคั่งสุทธิ อัตราส่วนนี้ ควรมีค่ามากกว่า 50% ** คาแนะนา ** สินทรัพย์ที่ลงทุนทั้งหมดอย่ำงน้อย 10% ควรเป็นกำรลงทุนในสินทรัพย์ที่มีสกุลเงินตรำ ต่ำงประเทศ เพื่อป้องกันควำมเสี่ยงจำกอัตรำเงินเฟ้อ งบแสดงฐานะทางการเงินส่วนบุคคล งบกระแสเงินสดส่วนบุคคล Personal Statement of Cash Flow สินทรัพย์สภำพคล่อง หนี้สินระยะสั้น กระแสเงินสดรับ สินทรัพย์เพื่อกำรลงทุน หนี้สินระยะยำว กระแสเงินสดจ่ำย สินทรัพย์ใช้ส่วนตัว - จ่ำยเพื่อกำรออมและกำรลงทุน สินทรัพย์อื่นๆ ควำมมั่งคั่งสุทธิ - จ่ำยคงที่ - จ่ำยผันแปร กระแสเงินสดสุทธิ งบประมาณเงินสดส่วนบุคคล Personal Cash Budgeting กำรวำงแผนทำงกำรเงินจะประสบควำมสำเร็จได้ ก็ต่อเมื่อสำมำรถบรรลุเป้ำหมำยทำงกำรเงิน ที่ได้กำหนดไว้ในแผนทำงกำรเงินตำมเวลำที่กำหนด ทั้งนี้ ปัจจัยที่จะส่งผลต่อความสาเร็จในกำรบรรลุ เป้ำหมำยทำงกำรเงินจะขึ้นอยู่กับควำมสำมำรถและกลยุทธ์ในการบริหารกระแสเงินสดที่เป็นรายรับ และกระแสเงินสดที่เป็นรายจ่ายของแต่ละบุคคล โดยการบริหารกระแสเงินสดรับและจ่ายของบุคคล สามารถจัดการได้โดยใช้ “งบประมาณส่วนบุคคล” เป็นเครื่องมือ งบประมำณส่วนบุคคล (personal budget) คือ แผนทำงกำรเงินในระยะสั้นที่กำหนด เป้ำหมำยทำงกำรเงินในกรอบระยะเวลำที่กำหนด พร้อมทั้งกำหนดวิธีกำรจัดสรรรำยได้ซึ่งเป็น ทรัพยำกรที่มีอยู่อย่ำงจำกัดให้ประสบผลสำเร็จบรรลุตำมเป้ำหมำยทำงกำรเงินที่ได้ตั้งไว้ ทั้งนี้กำรจัดทำงบประมำณส่วนบุคคล มักจะทำกำรจัดสรรรำยได้ / รำยจ่ำย เป็นรำยเดือน ล่วงหน้ำ 1 ปี งบประมาณเงินสดส่วนบุคคล Personal Cash Budgeting นอกจำกนั้นงบประมำณยังเป็นเครื่องมือช่วยในการตรวจสอบและควบคุมการเงินของ บุคคลให้บรรลุเป้ำหมำยที่ได้ตั้งไว้ ทั้งนี้บุคคลควรจะมีกำรตรวจสอบและประเมินผลกำรปฏิบัติตำม งบประมำณอย่ำงสม่ำเสมอ เพื่อตรวจสอบควำมก้ำวหน้ำในกำรบรรลุเป้ำหมำยทำงกำรเงินที่ตั้งไว้ โดยจะต้องทำกำรตรวจสอบว่ำค่ำใช้จ่ำยต่ำงๆ เป็นไปตำมที่ประมำณกำรหรือไม่ นอกจำกนั้น ถ้ำ บุคคลใดที่มีกำรเปลี่ยนแปลงสถำนภำพทำงครอบครัวหรือสถำนภำพกำรจ้ำงงำน ก็อำจะมีสถำนะ ทำงกำรเงินหรือพฤติกรรมกำรใช้จ่ำยที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ต้องมีกำรปรับแก้งประมำณให้ เหมำะสมกับสถำนกำรณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่นกัน งบประมาณเงินสดส่วนบุคคล Personal Cash Budgeting ลักษณะของงบประมาณที่ดี 1. มีกำรวำงแผนอย่ำงดี กำหนดเป้ำหมำยให้สอดคล้องกับเป้ำหมำยทำงกำรเงิน 2. มีควำมเป็นไปได้ สอดคล้องกับสถำนะทำงกำรเงิน รำยรับ/รำยจ่ำยในอนำคต รวมถึง วิถีชีวิต ทัศนคติ ฯลฯ 3. มีควำมยืดหยุ่น เช่น กำรเพิ่มกำรออม/กำรลงทุน กำรลดรำยจ่ำยที่ไม่จำเป็น ปรับเปลี่ยนลำดับควำมสำคัญ ของเป้ำหมำยทำงกำรเงินที่ต้องกำร 4. สำมำรถสร้ำงควำมเข้ำใจกับคนในครอบครัวให้นำไปปฏิบัติได้ หรือ สื่อสำรกันได้ งบประมาณเงินสดส่วนบุคคล Personal Cash Budgeting องค์ประกอบของงบประมาณส่วนบุคคล 1. รำยรับ Income หรือ กระแสเงินสดรับ Cash Inflows 2. รำยจ่ำย Expense หรือ กระแสเงินสดจ่ำย Cash Outflows 3. ภำษี Taxes 4. เงินออมและเงินลงทุน Saving and Investment งบประมาณส่วนบุคคล รายเดือน ประจาปี พ.ศ............. (หน่วย:บาท) นาย/นางสาว................................................. ตัวอย่างงบประมาณส่วนบุคคล รายรับ รายจ่ายผันแปร 1 ภาษี รายจ่ายคงที่ การออม/ลงทุน 2 การจัดทางบประมาณเงินสดส่วนบุคคล (Personal Cash Budgeting) งบประมำณเงินสดส่วนบุคคล คืองบที่ใช้ในกำรวำงแผนรำยได้ เงินออม เงินลงทุน และ ค่ำใช้จ่ำย ที่คำดว่ำจะเกิดขึ้น โดยทั่วไปจะทำประมำณกำรล่วงหน้ำเป็นรำยเดือน ระยะเวลำ 1 ปี ขั้นตอนการจัดทางบประมาณเงินสดส่วนบุคคล ขั้นตอนที่ 1 ประมำณกำรกระแสเงินสดรับ ขั้นตอนที่ 2 ประมำณกำรกระแสเงินสดจ่ำย ขั้นตอนที่ 3 วิเครำะห์กระแสเงินสดสุทธิ [ 1- 2 ] ขั้นตอนที่ 4 ดำเนินกำรตำมแผน ขั้นตอนที่ 5 ประเมินผล ปรับปรุงงบประมำณ

Use Quizgecko on...
Browser
Browser