SE410_5_Modern SEA PDF

Document Details

LawfulSanDiego6005

Uploaded by LawfulSanDiego6005

Thammasat University

Tags

Southeast Asia nation-states political history modernization

Summary

This document discusses the emergence of nation-states in Southeast Asia following World War II. It explores the historical context, political factors, and cultural influences. The document analyzes how the region adapted to modernity and the impact of these changes on the people.

Full Transcript

ความเป็ นชาติพนั ธุใ์ นยุครัฐชาติ (ยุคสมัยใหม่) Ethnicity in the Era of Nation-States ยุคที่รัฐชาติเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน Weekก่อน —อังวะ หงสาวดี ในอดีตไม่ได้ เท่ากับ อังวะ = พม่า เพราะภายใต้อังวะก็มีทหาร มอญ/หงสาวดีก็มีทหาร พม่า model ที่ชาติกับรัฐไม่ได้เป็รอันนึงอันเดียวกัน...

ความเป็ นชาติพนั ธุใ์ นยุครัฐชาติ (ยุคสมัยใหม่) Ethnicity in the Era of Nation-States ยุคที่รัฐชาติเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน Weekก่อน —อังวะ หงสาวดี ในอดีตไม่ได้ เท่ากับ อังวะ = พม่า เพราะภายใต้อังวะก็มีทหาร มอญ/หงสาวดีก็มีทหาร พม่า model ที่ชาติกับรัฐไม่ได้เป็รอันนึงอันเดียวกัน ไม่เขียนรัฐชาติติดกันเพราะว่า ตั้งใจให้เห็นว่าเป็นคนละคำกัน ระเบียบการเมืองสมัยใหม่ (new political order) ทัวโลกเปลี ่ ย่ นเป็ นระบบ “รัฐ- ชาติ” (nation-state system) ที่ “รัฐ” เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกับ “ชาติ” ยุคที่รัฐปกครองไปไม่ได้ไกลอำนาจกระจุกอยู่ที่รัฐส่วนกลางไม่รู้ว่าชายแดนอยู่ที่ไนห ไม่ ได้สนใจชายแดนนเท่ากับการปกครองคนเป็นแรงงานการนับว่าใครเป็นพลเมืองของรัฐ แตกต่างระเบียบการเมืองในยุครัฐแสงเทียน (mandala / galactic polity) ที่ การนับว่าใครเป็นพลเมืองของรัฐแสงเทียนใช้เรื่องของความใกล้ชิด เครือญาติ หรือ ความจงรักภักดีื “รัฐ” ไม่ได้เป็ นหน่วยเดียวกับ “ชาติ” คนที่อยู่ในดินแดน ที่รัฐยุคแสงงเทียนไม่ได้สนใจมากนัก ระบบรัฐ-ชาติ : รัฐมี 4 องค์ประกอบ คือ ประชากร (population) เขตแดน 3 (territory) อานาจอธิปไตย (sovereignty) รัฐบาลกลาง (government) อำนาจในการปกครองตนเองได้อย่างเป็นอิสระ มีหน่วยงานที่ทำหน้าที่บริหารรัฐ ไม่ตกอยู่ภายใต้การปกครองของใคร ในสังคมประชาธิปไตย รัฐบาลกลางก็มาจากการเลือกตั้งของปชช คอมมิวินิส เลือกใกันนในกลุ่มคณะกรรมการพรรค Outline (1) ความเป็ นมาของระบบรัฐ-ชาติสมัยใหม่ (modern nation-state system) ช่วงเวลาที่หลายปทได้รับเอกราช (2) จุดเริม่ ต้นของระบบรัฐ-ชาติใน SEA หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 Nation states system (3) การใช้ระบบรัฐ-ชาติใน SEA และผลกระทบทีต่ ามมา หลังww2 หลายๆประเทศใน sea sพึ่งได้เอกราชและใช้ Nation states system มีผลยังไง (1) ความเป็ นมาของระบบรัฐ-ชาติสมัยใหม่ การแบ่งประเทศที่มีเส้นเขตแดนนอย่างชัดเจน Nation states system รัฐ-ชาติไม่ใช่สงิ่ ทีม่ ตี ามธรรมชาติ ยุคแรกๆๆเป็นการสู้กันของรัฐในพื้นที่ระหว่างรัฐที่เป็นโปรเคสแตนส์กับคาทอลิค กาเนิดในยุโรป ในศตวรรษที่ 17-18 คาทิคสู้ไม่ได้เริ่มมาขอเเรงจากทางใต้คือลงมาทางอิตาลี ขอทางยุโรปใต้ไปช่วย กลายเป็นว่าไม่ได้เป็นการรบกันเเค่ประเทศ เยอรมัน ยังดึงคนอื่นๆเข้าไปด้วย ยุคที่จักรวรรดโรมันล่มสลายแล้ววไม่รู้ใครจะปกครอง ไม่มีใครเป็นใคร สงคราม 30 ปี (1618-1648) ระหว่าง ใหญ่ —>จากนั้นมีศาสนามาเป็นตัวแบ่ง Habsburgs ขยายตัวมากๆก็ไปขัดแย้งกับราชวงศ์ ฝรั่งเศส คาทอลิคกับโปรแตสแตนส์ ในgerman Bourbon สงครามระหว่างราชวงศ์ที่แข่งขันนความยิ่งใหญ่กันในยุโรป รบกันในราชวงศ์ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ นิกายที่ต่างกันทางศาสนา รบกันจนสุดท้าย —> ไปเจรากันที่เมือง Westphalia german ราชวงศ์ที่มีบทบาทในก.เมืองยุโรป ↳ ผลการเจรจา = สนธิสัญญา Westphalia treaty u Habsburgs (ออสเตรีย+สเปน) ขยาย ดินแดน ขัดแย้งกับ Bourbon (ฝรังเศส) ่ พอยุคอาณาจักรโรมันล่มสลายมันเกิดรัฐย่อยๆขึ้นมาในพื้นที่ สงคราม 30 ปี สน้ิ สุดด้วยการเจรจาทีเ่ มือง Westphalia ผลการเจรจา = สนธิสัญญา Westphalia เจรจาที่เมือง Westphalia Treaty 1648 ตกลงกันเรือ่ งศาสนา ดินแดน และธรรมนูญ ระบบเวสฟาเลีย สนธิสัญญานี้ ผลคือ ก่อให้เกิด ระบบเวสฟาเรีย ทุกๆดินแดนควรมีสิทธิ์มีอำนาจ สร้าง “หลักการ” ว่าด้วยของรัฐ (1) การปกครองตนเอง Self-determination (2) การ ต้องเคารพ S อธิปไตยของรัฐ Sovereignty (3) การไม่แทรกแซง Non-intervention & ผู้ปกครองหรือรัฐบาลเเต่ละหน่วย เราต้องไม่แทรกแซง สำคัญเพราะ ควรมีอำนาจสูงสุดในการตัดสินใจ ถ้าเราจะเคารพเค้าว่าเค้าเป็นที่ สามารถเลือกได้เอวว่าจะปกครองกัน ยังไง ถึงแม้จะไม่ถูกใจเราแต่่รัฐอย่าง เราไม่มีสิทธิไปบังคับเค้า - หลักการเวสฟาเลียถูกเสริมด้วย งานเขียนเชิง ปรัชญาการเมืองในศตวรรษ 17-18 สาระสำคัญที่มาจากการเขียนบรรยายาในเล่มนี้คือ บรรทัดฐานใหม่ – รัฐในฐานะองค์อธิปัตย์ q ที่อาศัย (sovereign state) มีสทิ ธิเหนือผูค้ นในดินแดน Ex.ปทAมีคน537ล้าน ทั้ง5ล้านคนต้องอยู่ภายใต้ก.ปกครองของผู้นำของรัฐ หนังสือ Leviathan ของโธมัส ฮอบส์ (1651) พึ่งจบสงคราม 30ปี –การสละสิทธิสว่ นตัว ทาสัญญาประชาคม เพือ่ ให้มหี น่วยปกครองสูงสุดทีม่ สี ทิ ธิและ อานาจเต็ม 100ปีหลัง โทมัสฮอบ ทำสัญญาประชาคม ฌอง ฌาค รุสโซ – Social Contracts (1762) เพื่อให้มีหน่วยการปกครองที่เรียกว่ารัฐชาติ รุสโซเสนอว่า หลากหลายที่อยู่ในพท ต้องขจัดความแตกต่างทางวัฒนธรรมของคน ถ้าขจัดความหลากหลายไปได้ คนจะรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน · ชาติจะเกิดได้เมือ่ คนรูส้ กึ เป็ นพวกพ้อง มีราก ฌอง ฌาค รสุ โซ ความเป็ นมาร่วมกัน รัฐยุคเเสงเทียนไม่ได้มีการมาบอกว่าคุณห้ามเป็นมอญ จากในอดีตที่รัฐกับชาติไม่ต้องเป็นหน่อวยเดียสกัน “รัฐ” และ“ชาติ” ทีเ่ ป็ นหน่วยเดียวกัน เป็ น · “ระเบียบการเมือง” มาตรฐานทีใ่ ช้กนั ทัวโลก Model nation states system ่ ยุคที่รัฐและะชาติเริ่มเป็นหน่วยเดียวกัน จากในอดีตที่รัฐกับชาติไม่ต้องเป็นเหมือนกัน ภายใต้รัฐอังวะจะมีใครได้มากมายเลย มอญ ไทใหญ่ ได้ หลายกลุ่มเลยมฉนั้นเราจึงเรียกอาณาจักรอังวะว่าพม่าไม่ได้ เพราะรับและะชาติเป็นคนละหน่วย พอมาถึงยุคนี้รัฐและะชาติถูกคิดให้เป็นหน่วยเดียวกัน รัฐต้องการขจัดความแตกต่างงมากที่สุดเพื่อให้มีความเป็นเนื้อเดียวกัน เกิด รัฐ ชาติ —>ก่อให้เกิดแผนที่ยุโรปจบ ช่วงหลังสงครามนโปเลียนจบ ยุโรปวุ่นวายอีกครั้งนึงช่วง 18ต้นๆเพราะว่า นโปเลียนขยายดินแดนไป ถ้าขจัดความหลากหลายไปได้ รุกรานแทรกแซงคนอื่น (มันคือการที่เราไม่เคยทำตามสนธิสัญญาเวสฟาเรีย ถ้าเรากลับไปทำตาม ยุโรปจะสงบสุข จึงเป็นที่มาให้ประเทศใน คนจะรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน ยุโรปเริ่มทำเขตแดนของตัวเองให้ชัด (เพราะมันจะบ่งบอกได้ว่าอำนาจในการปกครองตนเองมันไปถึงตรงไหน ถ้าข้ามตรงไหนมันเป็นดินแดน ของคนอื่นแล้วเราไม่มีสิทธิ์เข้าไปแทรกแซง —> มันคือการกลับไปพูดถึงหลัก 3 ข้อของเวสฟาเรีย คือ 1.การปกครองตนเอง 2 การอธิปไตย ของรัฐ 3. การไม่แทรกแซง หลังสงครามนโปเลียนจบ แผนทีร่ ฐั -ชาติในยุโรปชัดเจนมากขึน้ หลังสงครามนโปเลียน (1815) คล้ายปั จจุบนั 1815-ww1 1914 ไม่ทำตามสนธิสัญญาเวสฟาเลีย ช่วง100ปียุโรปสงบสุขมากไม่มีสงครามใหญ่ๆ สุดท้ายหลักการเวสฟาเรียมาเเตกสลาย เมื่อเกิดความขัด หลักการเวสฟาเรียมาเเตกสลายในสงคราม แย้งขึ้นใน อาณาจักรออสโตรฮังกาเรียนในสงครามโลก ครั้งที่ 1ขึ้น ทุกๆครั้งเมื่อจบสงครามจะมีการตั้งหน่วยงานมาดูแลลใน เชิงสิทธิประชาชาติ จบww1 มีการตั้ง nation league Ww2 united nation —> ตั้งขึ้นว่ามาให้เคารพกัน เหมือน เวสฟาเรีย ex.ญปไม่มีสิทธิ์ไปทิ้งระเบิดที่ฮาวายเพราะฮาวาย เป็นดินแดนนของอเมริกา การที่ไปทิ้งระเบิดแปลลว่าไป ตั้ง Un แทรกแซงรุกราน สรุป สิ่งที่เกิดขึ้นในทุกวันนี้เป็นการพัฒนาการในยุโรป c.16 & c.17 และค่อยๆชัดเจนเมื่อหลังสิ้นสุดสงครามนโปเลียน ทุกคนเริ่มเห็นข้อดีของมันช่วง100ปี 18ต้นๆ-19ต้นๆว่าช่วง ที่โลกสงบเราจะมีความรุ่งเรืองในอารยธรรม ชาติทเ่ี ป็ นอันหนึ่งอันเดียวกับรัฐ ชาติแบบนี้ไม่ เคยมี ต้องสร้าง “ชาติ” ขึน้ มา เพื่อให้ชาติเป็นกลุ่มก้อนเดียวกันรัฐ กระบวนการสร้างชาติ (nation-building) มัก อ้างอิงวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพนั ธุท์ เ่ี ป็ นใหญ่ Ex.ภาษา การศึกษา คือ เครื่องมือที่ทำให้คนฝรั่งเศษรู้สึกว่าตนเป็นฝรั่งเศส เครื่องมือสร้างชาติ คือ ภาษาราชการ เพราะ มันเป็นตัวไปหลอมหรือทำลายความรู้สึกเป็นกลุ่มเล็กๆในฝรั่งเศส –นโยบายการใช้ภาษาราชการ (หนึ่งภาษา) ถูกนำไปใช้ในรรต่างๆ –การสร้างเรือ่ งเล่าทางประวัตศิ าสตร์ เล่าเป็นใครมาจากไหน เรามีความรุ่งเรืองในอดีตมายังไง Ex.กระบวนการสร้างรัฐชาติในพม่า มันเกิดขึ้นจากการสร้างเรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์ อย่างไรเอามาใช้ยังไงบ้าง รัฐประดิษฐ์ “ภาษามาตรฐาน” “ภาษากลาง” ปจบเริ่มมีรัฐบางแห่งเริ่มตระหนักว่า ไม่เห็นต้องมีภาษาราชการเพียงภาษาเดียว “ภาษาทางการ” Ex. เบลเยียมมีภาษาราชการ 2 —>ลดครสที่คนกลุ่มใหญ่ไปควบคุมคนกลุ่มเล็ก 56.50 ex, ไทย (2) จุดเริ่มต้นของระบบ “รัฐ-ชาติ” ใน SEA ถ้าในยุโรปมันจะมีการแบ่งงว่าอะไรคือยุครัฐจารีตหรือก่อนสมัยใหม่ อะไรคือรัฐสมัยใหม่ องค์ประกอบที่ทำให้กำเนิดรัฐชาติในseas ไม่เหมือนในยุโรปเพราะมันมีเรื่องของระบบอาณานิคม ใน seas จะหาจุดแบ่งจากไหน?? =มันหาไม่ได้ เพราะ แนวคิดดรัฐชาติสมัยใหม่ันถูกนำเข้ามาเป็นเครื่องมือ ในการปกครองดินแดนอาณานิคมโดยชาวตะวันตก แล้วก็การเป็นระบบการปกครองที่ตกทอดมาสู่ยุคหลังจากที่ได้รับดลเอกราชเเล้วด้วย | มองว่าระบบรัฐชาติ ในseas เป็รชุดความคิดที่เริ่มถูกนำเข้ามาถูกพัฒนาเข้ามา ถูกพัฒนาถูกใช้ตั้งเเต่ยุคอาณานิคม จะเห็นชัดมาในดินแดนนที่ถูกปกครองโดยอังกฤษ ex.มาเลเซีย หรือ พม่า 1.เช็คจำนวนประชากร ใครเป็นปชกของbritish Burma ใครบ้างที่เป็นประชากรของ British Malaya 2.ยุคที่อังกฤษพยายามผลักดันเรื่องเขตแดนไม่ว่าจะทางพม่าและมาเลเซีย 3.มีอำนาจอธิปไตย การปกครองที่เกิดขึ้นในแต่ละดิน แดนถือว่ามีอำนาจเป็นของตนเอง อังกฤษไม่ได้ปกครองพม่าโดยตรง ปกครองโดยเป็นจังหวัดนึงของBritish India และมาแยกเป็นBritish Burma ไม่กี่ปีก่อน ww2 องค์ประกอบสุดท้ายคือ องค์ประกอบรัฐบาล มันมีการตั้งระบบ ก่อราชการขึ นจะเป็น้นรัมาดู ฐสมัแลแต่ ยใหม่ละดินแดน ตั้งรัฐบาลปกครองขึ้นมา1รั ฐชาติ ในพม่ า อัมงีด ินเเดนให้ชัด 2ปชก กฤษไปเอาคนเชอิ นเดียเข้3ไม่ แนทรกเเซง ามาเป็ ระบบ “รัฐ-ชาติ” ใน SEA เป็ นชุด ส่วนนึงของกลไลระบบราชการเพื่อปกครองประเทศ ทำมหาลัย รพ รัฐดูแลผู้คน เราไม่เคยเป็นอาณานิคมของใครก็จริงแต่่เราใช้ Pre-modern States เครื่องมือของอาณานิคมในการสร้างและรวมศูนย์อำนาจเข้าสฟุ่ยุคกลาง พอมีหลักคิดแบบเวสฟาเลีย+แนวคิดทางการเมือง ความคิดทีเ่ ริม่ พัฒนาในยุคอาณา บ้านเมืองสงบ เห็นว่า สงบเเล้วบ้านเมืองจะเจริญ นิคม และกลายเป็ นระบอบการ Colonial Era เกิดยุคอาณานิคมที่ยุโรปมายึดเเละใช้ปยจากทรัพยากรนั้นๆ ปกครองทีต่ กทอดมามาสูย่ ุคหลัง ใส่ไปหน้า nation states ได้รบั เอกราช (Modern) Nation- ระบบรัฐชาติใน seas หาเส้นแบ่งไม่ได้ว่าเริ่มตรงไหน เเนวคิดนี้ถูกนำมาใช้ในการปกครองโดยชาวตะวันตก 1 States การเป็นระบบการปกครองที่ตกถอดมาหลังที่ปทต่างๆได้รับเอกราชเเล้ว ถูกพัฒนาเเละถูกใช้โดยยุคอาณานิคม 2 มีอำนาจอธิปไตย 3 มีรัฐบาล มีการตั้งระบบราชการมาดูแลในแต่ละดินแดนขึ้นมา หลังสงครามโลกครังที ้ ่ 2 (1939-1945 / 2482-2488) ประเทศ…ได้รบั เอกราชปี … ฟิ ลปิ ปิ นส์ 1946 ได้ปทแรก พม่า 1947 กลุ่มทะขิ่น อินโดนีเซีย 1949 ขบวนการเรียกร้องเอกราช British malaya มาเลเซีย 1963 15ปี รวมสิงคโปร์อยู่ด้วยในยุคแรก Filipino Nationalists (José Rizal) ปลาย ศ.19 French Indochina เป็ น 3 ประเทศ หลัง Master กลุ่มปัญญาชนที่พยายามเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ 1930 สงครามอินโดจีนครัง้ ที่ 1 ในปี 1954 46- Thakin Movement 1930s ใน indoจีน พยายามจะเรียกร้องเอกราชจากฝรั่งเศส เวียดมินต์ยดึ ฐานทหารฝรังเศส ่ Dien ฝรั่งเศสไม่ยอมให้เอกราชนำไปสู่สงคราม Viet Minh 1941 Bien Phu (07 พ.ค.1954) การเรียกร้องเอกราช Indonesian National Party (PNI) กลับมาเคลมดินแดน สงครามโลกครัง้ ที่ 2 สิน้ สุด เจ้าอาณานิคมกลับเข้ามาดูแลดินแดนของตน แบบแรก จากอาณานิคมเป็นปทเอกราช การเปลีย่ นผ่าน (transition) มีหลายลักษณะ..................... กลุ่มที่ไม่ยุ่งยาก 3 กลุ่ม 1 การเปลี่ยนผ่านจากอาณานิคมเป็นปทเอกราชเกิดขึ้นและะเจรจาเสดสิ้นไม่กี่ปีหลังสงครามจบ มีฟิลิปปินส์ พม่า อินโด นี่คือกลุ่มที่ไม่ยุ่งยาก กรณี การเจรจาเพือ่ ขอเอกราชเสร็จสิน้ ในช่วงเวลาไม่กป่ี ี หลัง 1945 แต่่ไม่ได้แปลว่าปทเหล่านี้จะสงบสุจ กลไกการบริหารประเทศแบบยุโรปมันถูกวางไว้แล้ว ในพม่ามาเลจะเห็นได้ชัด มีอำนาจอธิปไตยของตนเองเเล้ว ไม่ใช่มีอาณานิคมปกครองปทเหล่านี้ล้วนเเต่หันมาใช้ ระเบียบทางก.เมืองที่สร้างไว้ก่อนเเล้วของอาณานิคมเเต่เดิม ex.ปกครองเเบบกระทรวง ประเทศเกิดใหม่ใช้ “ระเบียบทางการเมือง” (political order) ทีส่ ร้างเอาไว้ก่อนหน้า มีอำนาจอธิปไตยของตนเองเเล้ว ไม่ใช่มีอาณานิคมปกครองปทเหล่านี้ล้วนเเต่หันมาใช้ ระเบียบทางก.เมืองที่ การแบ่งปทเป็นเขตเป็นจังหวัดเป็นรัฐ สร้างไว้ก่อนเเล้วของอาณานิคมเเต่เดิม ex.ปกครองเเบบกระทรวง โดยเจ้าอาณานิคม ท่ามกลางเงือ่ นไขการต่อสูภ้ ายในประเทศต่าง ๆ Ex.ในติมอร์เลสเต กับปาปัวตะวันตก ไม่อยากเป็นอินโด สู้รบกัน | ในพม่ากลุ่มชาติพันธุ์ไม่อยากเป็นพม่า กลุ่ม 2 British malaya ใช้เวลานาน กรณี การเจรจากินเวลายาวนาน เพราะหาข้อสรุปร่วมกันไม่ได้ – มาเลเซีย 1963 กลุ่ม 3 ดำเนินต่อไป · กรณี การสูร้ บดาเนินต่อ (ไม่มกี ารเจรจา) - ฝรังเศสและIndochina ่ สงครามอินโดจีน ครัง้ ที่ 1 จบลงเมือ่ ฝรังเศษแพ้ ่ & - เวียดมินต์ยดึ ฐาน Dien Bien Phu (07 พ.ค.1954) เกิดลาว กัมพูชา เสียดนามเหนือใต้ 1954 จบ นำไปเกิดการเกิดแผนที่ 1955 เมกามาหนุนเวียดนามใต้ ครั้งที่1 เวียดนามรบฝรั่งเศส นำมาสู่สงครามอินโดจีนครั้งที่ 2 คือ เปลี่ยนคู่รบ ระบบรัฐชาติดาเนินไปอย่างลุ่ม ๆ ดอน ๆ ตามเงือ่ นไขแต่ละประเทศ พม่าก็วุ่นวายมาก / อินโดซุการ์โนยึดอำนาจ /ในมาเลปหกับสิงคโปร์ ปัญหาที่เกิดขึ้นมีทั้ง เงือ่ นไขภายใน : การต่อสูก้ นั ว่ารัฐเอกราชใหม่ควรมีรปู แบบอย่างไร จินตนาการไม่ตรงกันว่าในยุคที่เป็นเอกราชเราควรมีก.ปกครองอย่างไรแบบไหน อยู่กีนอย่างไร ex. ในพม่ากลุ่มชาติพันธุ์บางกลุ่มไม่อยากเป็นพม่า จะอยู่กันไง มีการเซ็นสนธิสัญญาปางโหลงกันทดลองอยู่ด้วยกันสัก 10 ปี แล้วหลัง10ค่อยมาว่ากันใหม่แต่่สุดท้ายทหารพม่าก็ฉีก สนธิสัญญาว่าด้วยสหภาพการอยู่ด้วยกัน การเป็นปห เงือ่ นไขภายนอก: การเมืองโลก (world politics) แบบสงครามเย็น (cold war) ถูกลากเข้าไปใน สงคราม&ความขัดแย้ง ระหว่างค่ายเสรีนิยม VS ค่ายคอมมิวนิสม์ สงครามโลกจบ 1945 กว่าจะจบจริงๆๆ ปี1991 36ปี กว่า3ปทนี้จะจบ กัมพูชา ลาว เวียดนาม กว่าสามปทนี้จะลงตัวคือ 1991 อานาจภายนอกเข้ามาแทรกในการเมืองท้องถิน่ และนาไปสู่ สงคราม – บทบาทสหรัฐในสงครามอินโดจีน สงครามเย็นกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับกลุ่มชาติ พันธุต์ ่างๆ ความสัมพันธ์ของม้งและะชาวเขาในภาคเหนือมันค่อนข้างดีในช่วงแรก ใน 1st Indochina War (1946-54) ช่วยรวมชาติ เชือ่ ม สัมพันธ์กลุ่มม้ง + กลุ่มไทต่างๆ กับเวียดมิน คอมสิวนิสเวียด ค่อนข้างญาติดีกับม้ง ชาวเขา 2nd Indochina War อเมริกาเข้ามามีบทบาทเพือ่ ป้ องกัน ภัยคอมมิวนิสต์ —>ม้งในลาวกลับไปเข้าข้างอเมริกา คนลาวจึงรู้สึกว่าม้งในลาวเป็นศัตรู ม้งในลาวและะม้งในเวียดนามมีความสัมพันธ์กับชนกลุ่มใหญ่โดยถูกกำหนดด้วยการเมืองโลกที่เรียกว่าสงครามเย็น ม้งในลาวช่วยเหลือ USA เป็ นทีห่ วาดระแวงของ สปป.ลาว (3) การใช้ระบบรัฐ-ชาติ และผลกระทบที่ตามมา การได้รบั เอกราชและปกครองตนเองในระบบรัฐ-ชาติไม่ได้ ในปท ราบรืน่ เพราะมีความขัดแย้งว่ารัฐ-ชาติใหม่ควรเป็ นอย่างไร อังกฤษเอาคนอินเดียมาอยู่เยอะ นอกจากเป็นราชการแล้วยังปล่อยเงินกู้ด้วย มีนายหน้าเงินกู้ที่ยึดที่ดินชาวนาของพม่า เช่น พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย มีคนจีนคุมเศรษฐกิจเยอะ สร้างปัญหา การจาแนกเชือ้ ชาติ/ชาติพนั ธุถ์ กู ใช้ต่อโดยผูน้ า ก่อให้เกิด ใช้การจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์เหมือนกันเพราะพม่าเป็นพุทธเยอะมาก ความสัมพันทางชาติพนั ธุแ์ บบแข็งตัว(reified ethnic relations) ไทใหญ่ขะฉิ่นไม่อยากเป็นพม่าเยอะ ไปคุยกันที่เมืองปางโหลง ตัวอย่างพม่า: เมือ่ ได้รบั เอกราช อองซานถูกลอบสังหาร มาต่อพ่ออองซาน 15ปีแรก รัฐบาลอูนุประสบปั ญหาความไม่มนคงมากมาย ั่ การสร้างชาติ แกนหลักในการสร้างชาติ อยู่ได้แค่15 ปี ถูกรัฐประหารโดยนายพลเนวิน้อย ยุคหลังอาณานิคมเน้นให้ “วัฒนธรรมพม่า” เป็ นใหญ่ มีการใช้พุทธศาสนาเป็นแกนกลางการรวมพล คือการเลือกที่ผิด เพราะ พม่า มีคริสต์ มุสลิมด้วย กระบวนการใช้พุทธศาสนาเป็นแกนในการสร้างชาติ สร้างความขัดแย้งเยอะมาก ความพลาดที่ทำให้ค.ขัดแย้งกับชนกลุ่มน้อยมากขึ้นไปอีก แนวคิด การจาแนกกลุ่มเชือ้ ชาติ และกลุ่มชาติพนั ธุ์ สืบต่อจากช่วงอาณานิคม + ขบวนการชาตินิยม อุนุอยู่ได้ไม่นาน เด่นชัด หลังนายพลเนวิน รัฐประหาร 1962 ครองตาแหน่งยาวนานมาจน 1988 · แบบแข็งตัว คือ คนละอันกันไม่เกี่ยวกัน อ้างอิงการจาแนกเชือ้ ชาติ/ชาติพนั ธุ์ แบบแยกขาดจากกันได้ชดั เจน บังคับ มีถึง 2010 ต้องแอบเรียน การสอนภาษาพม่าในโรงเรียน ห้ามสอนภาษากลุ่มชาติพนั ธุ์ ขบวนการส่งเสริมและฟื้ นฟูพระพุทธศาสนา การใช้ความรุนแรงเชิงเชือ้ ชาติและชาติพนั ธุ์ ส่งทหารไปปราบ การเผยแพร่ประวัตศิ าสตร์นิพนธ์บางแบบ ตายที่แม่สอด คือการเขียนหรือ ตั้งใจใช้ชุดประวัติศาสตร์บางแบบเพื่อสื่อความถึงความรุ่งเรืองของพม่าตั้งแต่อดีต 3.1 การใช้ประวัติศาสตร์นิพนธ์ o เจาะยุค c,12 กับ 14ยุคที่พุกามล่มสลายแล้ว Michael Aung-Thwin (1998) อธิบายว่า ประวัตศิ าสตร์นิพนธ์ ยุคที่พุกามล่มสลายเเล้ว พม่า ศ.12-14 แสดงประวัตศิ าสตร์ทต่ี ่อเนื่องสืบต่อกันมา · 1. ยุคทองของพุกาม - ปี 1165 สิงหลยึดครองพุกาม ฆ่าพระ เจ้ากุลกั ยา ถูก เข้ามา 2. อาณาจักรพุกามล่มสลาย - ปี 1284 กองกาลังจีนตีพุกาม พระเจ้านรสีหบดีหลบหนี พุกามพ่ายแก่กองกาลังจีน สูญเสียพพื้นที่นี้ให้กับจีนอย่างถาวร หลายเรื่องไม่มีเค้าโครงจริงในพม่าเป็นการเขียนเรื่อง เชื่อว่าเป็นไทใหญ่ ฉาน 3. สามพีน่ ้องลอบฆ่าพระเจ้ากะยอชวา ปี 1304 และสถาปนา เล่าอย่างนึงที่สร้างโดยนักวิชาการอังกฤษ ใน ปลาย18 E อาณาจั ก รอั ง วะ (ตะโดมิ น พญา) ปี 1364 ต้นกำเนิดของความยิ่งใหญ่พม่าเป็นปึกแผ่น รวมทุกชาติให้เป็นพม่านำไปสู่สงคราม40ปีพม่ากับมอญ เริ่มไปตีคนนู้นคนนี้ให้เป็นปท หลายเรื่องไม่มีเค้าโครงจริงในพม่าเป็นการเขียนเรื่องเล่าอย่างนึงที่สร้างโดยนักวิชาการอังกฤษ ในปลาย18 ประวัตศิ าสตร์นิพนธ์แบบนี้สร้างขึน้ โดยนักวิชาการอังกฤษในปลาย ศ.19 ต้น ศ.20 ประวัติศาสตร์ที่เขียนโดยเจ้าอาณานิคม เป็ นเรือ่ งแต่ง (myth) และสร้างอคติ (prejudices) ให้มองประวัตศิ าสตร์พม่าว่าเป็ น... E พยายามจะสร้างมุมมองให้เห็นว่าพม่ามีปวศที่ต่อสู้มาอย่างยาวนาน – ชาติทม่ี กี ารต่อสูเ้ พราะความแตกต่างทางชาติพนั ธุ”์ ทัง้ ทีข่ อ้ มูลบอกว่าเป็ นการ แสวงหาอานาจของชนชัน้ สูง เป็นมายาคติทำให้มองว่าชาติพม่าเป็รชาตืที่ หรือไม่ต่างจากตะวันตก – ชาติทม่ี พี ฒ ั นาการจาก “ยุคโบราณ ยุคกลาง และยุคสมัยใหม่" แบบเดียวกับ ประวัตศิ าสตร์ตะวันตก ประวัตศิ าสตร์พม่าเปลีย่ นแปลงก้าวหน้ามาตามลาดับ พม่าไม่เคยมี ไปเคลมว่าอังวะคือพม่า เราไม่เคยมีไทยแต่่ไปเคลมว่าสุโขทัยคือไทย สุโขทัยคือสุโขทัย มันไม่มีความเป็นชาติ 3.2 การแบ่งกลุ่มชาติพนั ธุใ์ นยุคอาณานิคมตอนปลาย พบความรู้สึกแบ่งแยกชาติพันธุ์ในกลุ่มคนพม่าเยอะมาก เพราะไม่ได้นับมอญ ขะฉิ่น ยะไข่ Dobama (We’re Burman) ในฐานะวาทกรรมเชิงเชือ้ ชาติ (racializing discourse) ก่อให้เกิดการแบ่งเเยกว่าว่าใครที่เป็นburmanบ้าง ก.แบ่งเเยกแบบนี้สร้างปัญหาเยอะมาก คนกลุ่มน้อยที่นับถือคริสต์ มุสลิมไม่ถูกนับเป็นพม่า แบ่งแยกระหว่าง Burman VS Non-Burman / Buddhists VS Non-Buddhists & Association 1930s ขบวนการเรียกร้องเอกราช (Dobama Asiayone) ก่อนเป็ น ทะขิน่ (သခင်) อาซีอาโย สันนิบาตเสรีชนต่อต้านฟาสซิสต์ (AFPFL) เปลี่ยนธงชาติเพราะ ธงชาติที่มีอยู่ก่อน มาจากอาณานิคม Asiayone ตรา มีพม่าเเบบพวกเรา กับ พม่าเเบบพวกอื่น 1930s ขบวนการชาตินิยม (Dobama Asiayone – We’re Burman Association) คือคู่ Ex.พม่าพวกนั้นที่ไปคบอังกฤษ เปลี่ยนศาสนาเป็นคริสต์ตามที่อาณานิคมมาเผยแพร่ ตรงข้ามกับ thudo-Bama (those Burmese) ทีร่ ว่ มมือกับอาณานิคมอังกฤษในยุคอาณา นิคม (กลุ่มชาติพนั ธุ์ + ข้าราชการทีย่ า้ ยมาจากอินเดีย) กระเหรี่ยงเป็นหมอ ทำให้พม่ามองว่ามึงเป็นใครวะทำไมได้ดีกว่า เพราะคนพม่าถูกกีดกัน อาเหมี่ยว กลุ่มเคลือ่ นไหวทางเชือ้ ชาติ (amyo movement) เริม่ จากการปกป้ องศาสนาพุทธ และ ขยายต่อออกไปสูก่ ารต่อสูเ้ รือ่ งอื่นๆ เช่น Ex.ห้ามเเต่งงานกับมุสลิม –ไม่ตอ้ งการให้สตรีพทุ ธพม่าแต่งงานกับชายต่างชาติ/ศาสนาอื่น –ส่งเสริมให้คนพม่าอุดหนุนธุรกิจชาวพุทธพม่าด้วยกันเอง มากกว่าจะไปซื้อของร้านเเขก ร้านอินเดีย –สนับสนุนการสอนภาษาพม่าเป็ นภาษาประจาชาติ ถูกบังคับใช้ในรร ex.ฝรั่งเศษสร้างชาติด้วยการใช้ภาษาฝรั่งเศส สำเนียงปารีส นำมาสู่การรวมเป็นพวกเดียวกัน การสร้างชาติ (บนฐานคิดการจาแนกเชือ้ ชาติ/ชาติพนั ธุ)์ ทาให้มกี ารแปะป้ าย (to ascribe to) ว่าแต่ละบุคคลคือคนเชือ้ ชาติ/ชาติพนั ธุใ์ ด ทั้งๆที่ในความเป็นจริงทุกคนแต่งงานนข้ามกันไปมา คุณเป็นพม่าหรือกระเหรี่ยงหรือ ไทยใหญ่? ที่คอยจัดระเบียบสังคม นี่คอื วางรากฐานให้ “race and ethnicity” เป็ นหมวดหมูส่ ร้างระเบียบขัน้ พืน้ ฐาน เป็นอะไรทำอะไรได้เเค่ไหน (fundamental ordering category) ในยุคหลังได้รบั เอกราช (ยุคสมัยใหม่) ส่งผลให้เกิด สำนึกในระดับบุคคลว่าตัวเองเป็นใคร สร้างตัวตนบางแบบขึ้นมา ระเบียบนี้สร้างอัตภาวะ (subjectivity) และอัตลักษณ์ (identity) บางแบบ ทีช่ น้ี าการ มองสิง่ รอบตัว การคิดวิเคราะห์ และการเลือกกระทาสิง่ ต่าง ๆ Ex.ปวศไทยสอนให้เราเกลียดพม่า คนไทยบางคนยังเกลียดพม่า ถูกสอนให้มองเเบบนี้ // ex.ชนพม่าเกลียดกะลาเกลียดเเขก พวกพ่อค้าคนปล่อยเงินกู้ การเเบ่งว่าเราคือใคร เขาคือใคร Dobama—> ใครบ้างถูกนับเป็นเราเเละใครไม่ คาถาม: การสร้างชาติในระบบรัฐ-ชาติยุคใหม่ได้สง่ กระทบอย่างไรในประเทศอื่น ๆ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กรณีโดเด่น มาเลเซีย เช่น ประเทศที่มีรายละเอียดเยอะความขัดแย้งงเรื่องเชื้อชาติชาติพันธุ์เห็นได้ชัด นำไปใช้เป็นเครื่องมือในการปกครอง สรุป กระบวนการเปลี่ยนมาเป็นรัฐสมัยใหม่ของ seas มีเรื่องอาณานิคมเข้ามาเกี่ยวด้วย สินค้าที่ตะวันตกนำเข้ามา และะเป็นมรดกตกทอดจนถึงทุกวันนี้ หลัง WW II ระเบียบการเมืองหลักคือ รัฐ-ชาติ (nation-states) รัฐเป็ นองค์อธิปัตย์ทม่ี ี สิทธิเหนือคนกลุม่ ต่างๆในดินแดน และ “รัฐ” เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกับ “ชาติ” ภายในรัฐประกอบไปด้วยชาติ1ชาติที่เป็นเนื้อเดียวกันไม่มีความหลากหลาย กระบวนการสร้างชาติหลัง WW II แยกไม่ออกจากการเมืองระดับโลก (สงครามเย็น) กระบวนการสร้างชาติใช้ความรูว้ า่ ด้วย การจาแนกเชือ้ ชาติ/ชาติพนั ธุ์ ทีเ่ ริม่ ปรากฏใน กลายเป็นเครื่องมือที่ถูกใช้ต่อมา ยุคอาณานิคม ก่อให้เกิดความสัมพันธ์เชิงชาติพนั ธุแ์ บบแข็งตัวมากกว่าในอดีต · แบบแยกขาดจากกันได้ชัดเจน เกิดปัญหา คม ความสัมพันธ์เชิงชาติพนั ธุแ์ บบแข็งตัวยังคงมีบทบาทหลังอาณานิม และสร้าง ผลกระทบจนมาปั จจุบนั

Use Quizgecko on...
Browser
Browser