คุณสมบัติพลเมือง PDF
Document Details
Uploaded by ComelyLotus
Thammasat University
Tags
Related
- Women's Resistance Strategies & Political Participation (PDF)
- PPGC Week 4 (1) PDF - Philippine Politics, Government & Citizenship
- Fundamentos Clásicos de la Democracia y la Administración (PDF)
- Democracy and Citizenship PDF
- PSCI 140 Final Exam Study Guide Fall 2024
- Cittadini e Cittadinanza nella Polis Greca PDF
Summary
This document discusses the qualities of citizens in a democratic society. It highlights the importance of responsibility, respect, acceptance of differences, and adherence to rules in a democratic system. It emphasizes that citizens are the ultimate authority and have responsibilities to themselves, others, and society.
Full Transcript
ประชาธิปไตยจะประสบความสาเร็จได้ประชาชนจะต้องเป็ น “ พลเมือง” ตามระบอบประชาธิปไตย การปกครองในระบอบ “ ประชาธิปไตย” ไม่เพียงแต่จะต้องมีกติกาหรือรัฐธรรมนูญที่จะกาหนดรูปแบบ หรือ ระบบ ที่ใช้ในการปกครองประเทศภายใต้หลักการดังที่ได้กล่าวมาเท่านั้น สิ่งที่สาคัญไม่นอ้ ยไปกว่ากันก็คือ คน หรื อ ประชาชน-ผู้ ซึ่...
ประชาธิปไตยจะประสบความสาเร็จได้ประชาชนจะต้องเป็ น “ พลเมือง” ตามระบอบประชาธิปไตย การปกครองในระบอบ “ ประชาธิปไตย” ไม่เพียงแต่จะต้องมีกติกาหรือรัฐธรรมนูญที่จะกาหนดรูปแบบ หรือ ระบบ ที่ใช้ในการปกครองประเทศภายใต้หลักการดังที่ได้กล่าวมาเท่านั้น สิ่งที่สาคัญไม่นอ้ ยไปกว่ากันก็คือ คน หรื อ ประชาชน-ผู้ ซึ่ ง เป็ น “เจ้ า ของประเทศ” ที่ มี สิ ท ธิ เ สรี ภ าพในประเทศอย่ า งเสมอภาคกั น จะต้องมีความสามารถในการปกครองกันเอง ระบอบประชาธิปไตยที่เป็ นการปกครอง โดยประชาชน หรือ การปกครองทีป่ ระชาชนปกครองตนเอง จึงจะประสบความสาเร็จได้ “พลเมือง” ของระบอบประชาธิปไตยจึงไม่เหมือนกับ “พลเมือง” ของการปกครองระบอบอื่น ที่ “พลเมือง” ของการปกครองระบอบอื่นจะมีคุณสมบัติอย่างไรนัน้ ขึน้ อยู่กับอาเภอใจของผูเ้ ป็ นเจ้าของอานาจของประเทศ จะกาหนดให้เป็ น ขณะที่ “พลเมือง” ของระบอบประชาธิปไตยจะเป็ นเจ้าของประเทศ จึงมีอิสรภาพในการเลือก วิถี ชีวิต และมีสิท ธิเ สรีภาพอย่ างเสมอภาคกัน แต่ถ้าทุก คนต่ างใช้สิท ธิเ สรีภาพของตนโดยไม่รับ ผิด ชอบ ไม่คานึงถึงสิทธิของเจ้าของประเทศคนอื่น ไม่คานึงถึง ส่วนรวม หรือเห็นแต่ประโยชน์ของตนเอง สังคมย่อม วุ่ น วาย มี แ ต่ ปั ญ หา แลยประชาธิ ป ไตย หรื อ “การปกครองตนเองของประชาชน” ก็ ย่ อ มไปไม่ ร อด เพราะประชาธิปไตยมิ ใช่ระบอบการปกครองตามอาเภอใจ หรือใครอยากจะท าอะไรก็ท าโดยไม่คานึงถึง ส่วนรวม อิสรภาพของ “พลเมือง” จึงมิใช่อิสรภาพตามอาเภอใจ หากเป็ นอิสรภาพที่ควบคู่กับความรับผิดชอบ คือรับผิดชอบต่อตนเอง ผูอ้ ื่น และสังคม “ความเป็ นพลเมือง (citizenship)” ของระบอบประชาธิปไตยหมายถึงการเป็ นสมาชิกของสังคมที่มี อิสรภาพ ควบคู่กับความรับ ผิดชอบ และมีสิทธิ์เ สรีภาพควบคู่กับหน้า ที่ โดยมีความสามารถในการยอมรับความ แตกต่างและเคารพกติกาในการอยู่ร่วมกัน พร้อมทั้งมีส่วนร่วมต่อความเป็ นไปและการแก้ปัญหาในสังคมของ ตนเอง1 ประเทศที่ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยอาจมีการให้นา้ หนักคุณสมบัติของ “ความเป็ นพลเมือง” ที่แตกต่าง กันบ้าง2 แต่โดยสรุปแล้ว “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตยประกอบไปด้วยลักษณะ 7 ประการดังต่อไปนีค้ ือ 1 Civic Education: Practical Guidance Note, United Nations Development Programme Bureau for Development Policy, Democratic Governance Group, 2004, p.5; Bryan S.Turner, “Contemporary problems in the theory of citizenship”, Citizenship and Social Theoru,2000. 2 Civic Education Study, International Association for the Evaluation of Educational Achievement (IEA), 1999. หนึ่ง รับผิดชอบตนเองและพึ่งตนเองได้ สอง เคารพสิทธิผอู้ ื่น สาม เคารพความแตกต่าง สี่ เคารพหลักความ เสมอภาค ห้า เคารพกติกา หก รับผิดชอบต่อสังคมและส่วนรวม และ เจ็ด การคิดเองเป็ น ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ (1) รับผิดชอบตนเองและพึ่งตนเองได้ ระบอบประชาธิปไตยคือระบอบการปกครองที่ประชาชนเป็ นเจ้าของอานาจสูงสุดของประเทศ ประชาชนใน ประเทศจึงมีฐ านะเป็ น เจ้าของประเทศ เมื่อประชาชนเป็ น เจ้าของประเทศ ประชาชนจึงเป็ น เจ้าของชีวิต และมี สิ ท ธิ เ สรี ภ าพในประเทศของตนเอง ท านองเดี ย วกับ เจ้า ของบ้า นมี สิ ท ธิ เ สรี ภ าพในบ้า นของตน ระบอบประชาธิปไตยจึงทาให้เกิด หลัก สิทธิเ สรีภาพ และทาให้ประชาชนมี อิส รภาพ คือเป็ นเจ้าของชีวิต ตนเอง “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตยจึงเป็ น ไท คือเป็ น อิสระชน ที่รบั ผิดชอบตนเองและพึ่งตนเองได้ ไม่ยอมตกอยู่ภายใต้อิทธิพลอานาจ หรือภายใต้ “ระบบอุปถัมภ์” ของผูใ้ ด เด็กจะกลายเป็ น “ผูใ้ หญ่” และเป็ น “พลเมือง” หรือสมาชิกคนหนึ่งของสังคมได้อย่างแท้จริง เมื่อสามารถรับผิดชอบตนเองได้ (2) เคารพสิทธิผอู้ ื่น ในระบอบประชาธิปไตยทุกคนเป็ นเจ้าของประเทศ ทุกคนจึงมีสิทธิเสรีภาพ แต่ถา้ ทุกคนใช้สิทธิเสรีภาพโดย คานึงถึงแต่ประโยชน์ของตนเอง หรือเอาแต่ความคิดของตนเองเป็ นที่ตงั้ โดยไม่คานึงถึงสิทธิเสรีภาพของผูอ้ ื่น หรือไม่สนใจว่าจะเกิดความเดือดร้อนแก่ผใู้ ด ย่อมจะทาให้เกิดการใช้สิทธิเสรีภาพที่กระทบกระทั่งกันจนไม่อาจ ที่จะอยู่ร่วมกันอย่างผาสุก ต่อไปได้ ประชาธิปไตย ก็จะกลายเป็ นอนาธิปไตย เพราะทุกคนเอาแต่สิทธิเสรีของ ตนเองเป็ น ใหญ่ สุด ท้า ยประเทศชาติ ย่ อ มจะไปไม่ร อด การใช้สิท ธิเ สรี ภ าพในระบอบประชาธิ ป ไตยจึง จ าเป็ น ต้องมี ข อบเขต คื อใช้สิท ธิเ สรีภ าพได้เ ท่าที่ไม่ละเมิดสิท ธิเ สรีภาพของผู้อื่น “พลเมือง” ในระบอบ ประชาธิปไตยจึงต้องเคารพสิทธิเสรีภาพของผูอ้ ื่น และจะต้องไม่ใช้สิทธิเสรีภาพของตนไปละเมิดสิทธิเสรีภาพ ของผูอ้ ื่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 24 วรรคหนึ่งจึงบัญญัติว่า “บุคคลย่อมใช้... สิทธิเสรีภาพของตนได้เท่าที่ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น…”3 3 ข้อความโดยครบถ้วนคือ “บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรีความเป็ นมนุษย์หรือใช้สิทธิและเสรีภาพของตนได้เท่าที่ไม่ละเมิดสิท ธิแ ละ เสรีภาพของบุคคลอื่น ไม่เป็ นปฏิปักษ์กับรัฐธรรมนูญ หรือไม่ขดั ต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน” ซึ่งเป็ นข้อความเดียวกับมาตรา 28 วรรคหนึ่งของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 (3) เคารพความแตกต่าง เมื่ อ ประชาชนเป็ น เจ้า ของประเทศ ประชาชนจึ ง มี เ สรี ภ าพในประเทศของตนเองดัง ที่ไ ด้ก ล่ าวมาแล้ว ระบอบประชาธิปไตยจึงให้เสรีภาพ และยอมรับความหลากหลายของประชาชน ประชาชนจึงแตกต่างกันได้ ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องการเลือกอาชีพ วิถีชีวิต ความเชื่อทางศาสนา หรือความคิดเห็นทางการเมือง ดังนั้น เพื่อมิให้ ความแตกต่างนามาซึ่ง ความแตกแยก “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตยจึงต้องยอมรับและเคารพความ แตกต่างของกันและกัน เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันได้ และจะต้องไม่ใช้ความรุนแรงต่อผูท้ ี่เห็นแตกต่างไปจาก ตนเอง ถึงแม้จะไม่เห็นด้วย แต่จะต้องยอมรับว่าคนอื่นมีสิทธิที่จะแตกต่างหรือมีความคิดเห็นที่แตกต่างจากเรา ได้ และต้องยอมรับโดยไม่จาเป็ นต้องเข้าใจว่าทาไมเขาถึงเชื่อหรือเห็นแตกต่างจากเรา และไม่ตอ้ งพยายามไป บังคับให้คนอื่นมาคิดเหมือนเรา “พลเมือง” จึงคุยเรื่องการเมืองกันในบ้านได้ ถึงแม้จะเลือกพรรคการเมืองคน ละพรรค หรือมีความคิดเห็นทางการเมืองคนละข้างกันก็ตาม (4) เคารพหลักความเสมอภาค อ านาจสูง สุด ของประเทศนั้น เป็ น ของประชาชนทุ ก คน ประชาชนทุก คนจึงเป็ น เจ้า ของประเทศร่ ว มกัน เมื่อเป็ นเจ้าของร่วมกันทุกคนจึงมีส่วนในประเทศอย่างเท่า ๆ กัน ดังนัน้ ประชาชนทุกคนไม่ว่าจะเป็ นใคร ร่ารวย หรือยากจน จบดอกเตอร์ห รือจบ ป.4 มีอาชีพอะไร เป็ น เจ้านายหรือลูก น้อง สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เ ป็ น เพีย ง ความแตกต่าง โดยทุกคนล้วนแต่เท่าเทียมกันในฐานะที่เป็ นเจ้าของประเทศ ดังนัน้ “พลเมือง” จึงต้องเคารพ หลั ก ความเสมอภาคและจะต้ อ งเห็ น คนเท่ า เที ย มกั น คื อ เห็ น คนเป็ นแนวระนาบ (horizontal) เห็นตนเท่าเทียมกับคนอื่น และเห็นคนอื่นเท่าเทียมกับตน ไม่ว่าจะยากดีมีจน ทุกคนล้วนมีศักดิ์ศรีของความเป็ นเจ้าของประเทศอย่างเสมอกัน ถึงแม้จะมีการพึ่งพาอาศัยแต่จะเป็ นไป อย่างเท่าเทีย ม ซึ่งจะแตกต่างอย่างสิน้ เชิงจากสังคมแบบอานาจนิย ม ในระบอบเผด็จการหรือสังคมระบบ อุป ถัมภ์ ซึ่งโครงสร้างสังคมจะเป็ น แนวดิ่ ง (vertical) ที่ป ระชาชนไม่เสมอภาค ไม่เ ท่าเทียม ไม่ใ ช่อิสระชน และมองเห็นคนเป็ นแนวดิ่ง มีคนที่อยู่สงู กว่าและต่ากว่า โดยจะยอมคนที่อยู่สงู กว่า แต่จะเหยียดคนที่อยู่ต่ากว่า ซึ่งมิใช่ลกั ษณะของ “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตย (5) เคารพกติกา ประชาธิปไตยต้องใช้ กติกา หรือ กฎหมาย ในการปกครอง ไม่ใช่ อาเภอใจ หรือ ใช้กาลัง โดยทุกคนต้องเสมอ ภาคกันภายใต้กติกานัน้ แต่ถึงแม้จะมีกฎหมายหรือกติกา แต่หากประชาชนไม่เคารพหรือไม่ปฏิบตั ิตามกติกา ก็หามีประโยชน์อนั ใดไม่ ระบอบประชาธิปไตยจึงจะประสบความสาเร็จได้ ต่อเมื่อมี “พลเมือง” ที่เคารพกติกา และยอมรับผลของการละเมิดกติกา “พลเมือง” จึงต้องเคารพ “กติกา” ถ้ามีปัญหาหรือความขัดแย้งเกิดขึน้ ก็ ต้องแก้ไขโดยใช้วิถีทางประชาธิปไตยและกติกา ไม่เล่นนอกกติกา และไม่ใช้กาลังหรือความรุนแรง (6) รับผิดชอบต่อสังคมและส่วนรวม สังคมหรือประเทศชาติมิ ได้ดีขึ้นหรือแย่ลงโดยตัวของมันเอง ที่สังคมแย่ลงไปทุกวันนี้ เป็ นเพราะ การกระทา ของคน ในทางกลับ กัน สัง คมก็ ย่ อ มจะดี ขึ ้น ได้ด้ว ย การกระท าของคนในสัง คม “พลเมื อ ง” ในระบอบ ประชาธิปไตยจึงเป็ นผูท้ ี่ตระหนักว่าตนเองเป็ น สมาชิกคนหนึ่งของสังคม และรับผิดชอบต่อการกระทาของตน “พลเมือง” จึงไม่ใช่คนที่ใช้สิทธิเสรีภาพตามอาเภอใจ แล้วทาให้สังคมเสื่อมหรือเลวร้ายลงไป หากเป็ นผูท้ ี่ใช้ สิทธิเสรีภาพโดยตระหนักอยู่เสมอว่า การกระทาใด ๆ ของตนเองย่อมมีผลต่อสังคมและส่วนรวม “พลเมือง” จึ ง ต้อ งรับ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม และมองตนเองเชื่ อ มโยงกั บ สั ง คม เห็ น ตนเองเป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของปั ญ หา และมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหานัน้ โดยเริ่มต้นที่ตนเองคือร่วมแก้ปัญหา ด้วยการไม่ก่อปัญหา และลงมือทา ด้วยตนเอง ไม่ใช่เอาแต่เรียกร้องคนอื่นหรือเรียกร้องให้รฐั บาลแก้ปัญหาแล้วตนเองก็ก่อปัญหานัน้ ต่อไป (7) การคิดเองเป็ น การคิดเองเป็ นก่อให้เกิดความเป็ นของพลเมืองได้หลากหลายรูปแบบ เช่น การเข้าร่วมการลงคะแนนเลือกตัง้ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมชุมชน การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเมืองหรือสังคมผ่านสื่อต่าง ๆ เป็ นต้น การมี ส่วนร่วมในการคิดเสรีและแสดงออกเกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ ส่งผลต่อชุมชนและสังคม ที่อาจช่วยสร้างความ เป็ นของพลเมืองอย่างมีนยั สาคัญ มีประสิทธิภาพ และมีคณ ุ ภาพในการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีต่อทุกคน ในสังคมนัน้ ๆ และช่วยเสริมสร้างอานาจของประชาชนในการสร้างชุมชนและสังคมที่แข็งแรงและยั่งยืนได้ดว้ ย ตัวเอง คุณสมบัติของ “พลเมือง” ทั้ง 7 ประการนี้ เราสามารถสรุปให้สั้นลงได้เหลือ 3 ประการคือ หนึ่ง เคารพผูอ้ ื่น- เคารพสิทธิผู้อื่น เคารพความแตกต่ าง เคารพหลักความเสมอภาค สอง เคารพกติกา และ สาม มีส่วนร่วม รับผิดชอบต่อสังคม พึ่งตนเอง และคิดเองเป็ น เมื่อประชาชนเป็ น “พลเมือง” ก็จะเปลี่ยนจาก ภาระ หรือ ปัญหา กลายเป็ นพละของเมือง หรือ กาลังของเมือง ปั ญหาทุกอย่างของสังคมก็จะแก้ไขได้ สังคมก็จะเข้มแข็ง และ ประชาธิปไตยก็จะประสบความสาเร็จ