Document Details

NiftyNeon

Uploaded by NiftyNeon

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2024

จีราภรณ์ กรรมบุตร

Tags

HEENT examination physical examination medical examination medical procedures

Summary

This document provides details about HEENT (Head, Ear, Eye, Nose, and Throat) examination techniques, equipment, and procedures. It also covers objective and subjective data, and includes a general overview of the physical examination process. The document is designed for medical students.

Full Transcript

HEENT Examination NS. 501 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์.ดร.จีราภรณ์ กรรมบุตร Gen 22 5/082024 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วัตถุประสงค์ ภายหลังสิ้นสุดการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถ 1.บอกหลักการตรวจร่างกายในศีรษะ หู ตา จมู...

HEENT Examination NS. 501 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์.ดร.จีราภรณ์ กรรมบุตร Gen 22 5/082024 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วัตถุประสงค์ ภายหลังสิ้นสุดการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถ 1.บอกหลักการตรวจร่างกายในศีรษะ หู ตา จมูก คอ (HEENT) ได้ถกู ต้อง 2.อธิ บ ายวิ ธี ก ารตรวจร่ า งกายในแต่ ล ะอวัย วะศี ร ษะ หู ตา จมู ก คอ (HEENT) ได้ถกู ต้อง 3.อธิบ ายวิ ธีก ารตรวจระบบประสาทและการรับ รู้ใ นอวัยวะศี ร ษะ หู ตา จมูก คอ (HEENT) ได้ถกู ต้อง อุปกรณ์ทใี่ ช้ในการตรวจร่างกาย 1. หูฟัง (Stethoscope) 9. สายวัด 2. ไฟฉาย 10.เครือ่ งชังน ่ ้าหนักและวัดส่วนสูง 3. ไม้กดลิน้ 11.ส้อมเสียง (Tuning Fork) 4. ปรอทวัดอุณหภูม ิ 12.แผ่นวัดสายตา 5. เครือ่ งวัดความดันโลหิต (Sphygmomanometer) 13.ผ้าสาหรับคลุม 6. นาฬิกาทีม่ เี ข็มวินาที 14.เครือ่ งส่องหูและเครือ่ งส่องตา (otoscope and 7. ไม้เคาะรีเฟล็กซ์ (Knee-Hammer) ophthalmoscope) 8. สาลี เข็มหมุดหรือเข็มกลัดซ่อนปลาย 15.ถุงมือ ผ้าปิ ดปากและจมูก (กรณีจาเป็ น) นอกจากนี้ ก่อนใช้อุปกรณ์ตรวจร่างกาย ควรตรวจสอบสภาพของเครื่องมือให้อยูใ่ นสภาพใช้การได้ดแี ละ ก่อน และหลังตรวจร่างกายต้องล้างมือทุกครัง้ ทาอุปกรณ์ทใ่ี ช้ตรวจและมือผูต้ รวจให้อนุ่ ก่อนเสมอ การจัดท่ าในการตรวจร่ างกาย ❖ ท่านั่ง(Sitting Position) ❖ท่านอนหงาย (Supine Position) ประเมินศีรษะและคอ หลัง ทรวงอก ด้านหน้าและปอด เต้านม รักแร้ หัวใจ แขน ประเมินศีรษะและคอ หลัง ทรวงอกด้านหน้า ขา และตรวจสอบสัญญาณชีพ และปอด เต้านม รักแร้ หัวใจ แขน ขา และ ตรวจสอบสัญญาณชีพ ผลการตรวจร่ างกาย (Physical Examination) เป็ น Data แบบไหน 1. Subjective data เป็ นข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ สอบถาม หรื อ คากล่าว หรื อ คาถามของผูป้ ่ วย หรื อข้อมูลที่ได้จากญาติ ครอบครัวหรื อบุคลากรในทีมสุ ขภาพ อื่น 2. Objective data คือข้อมูลจากการตรวจร่ างกาย สังเกตพฤติกรรม ผลLab ผลการตรวจพิเศษ บันทึกทางการแพทย์ ยกตัวอย่างเช่น ตรวจร่ างกายพบ General Appearance- สุขภาพทัวไป ่ - สีหน้า ศีรษะ สมวัย บวม สีผวิ การกระจายของผมบนศีรษะ - ความรูส้ กึ ตัว ความประพฤติ ความร่วมมือ การแต่งกาย - คาพูด เร็ว ช้า ขาดตอน เสียงเปลีย่ น - อารมณ์ ทางสีหน้า ท่าทาง คาพูด - การเจริญเติบโต ความสูง โครงร่าง สัมพันธ์กบั อายุ - ภาวะทางโภชนาการ อ้วน ผอม - การเดินและท่าทาง ความพิการ General การแบ่งระดับความรูส้ ึกตัวมี 6 ระดับดังต่อไปนี้ Appearance: GA 1. รู้สึกตัวดี (Alert) กลุม่ นี้ระดับความรูส้ กึ ตัวดี ลืมตาได้เอง 2. ง่วงซึม (Drowsiness) กลุม่ นี้ระดับความรูส้ กึ ตัวต่ากว่าปกติ มักจะหลับ แต่ปลุกตื่น พูดคุยพอรูเ้ รือ่ ง ทาตามคาสังได้่ ถ้าไม่กระตุน้ ก็จะหลับ ง่วงซึม 3. งุนงง สับสน (Confusion) เสียการสานึกรูต้ ่อตนเอง และสิง่ แวดล้อม (Disorientation) ขาดสมาธิ พูดไม่ต่อเนื่อง ถามชือ่ เวลา สถานที่ แล้วตอบไม่ถูกต้อง ซึม สับสน 4.ซึมมาก (Stupor) ระดับความรูส้ กึ ตัวต่ากว่าปกติมากต้องปลุกแรงๆ จึงตื่น ตอบสนองต่อ Deep Pain เช่น กดทีเ่ ล็บ หรือ Sternum ต้องกระตุน้ อยูเ่ สมอ พูดคุยไม่คอ่ ยรูเ้ รือ่ ง ทาตามคาสังได้ ่ ไม่ดี ยังมีการเคลื่อนไหวเอง 5. หมดสติอย่างอ่อน (Semi coma) กระตุน้ อย่างแรงก็อาจลืมตา ไม่เคลือ่ นไหวเอง ตอบสนองความเจ็บปวดแบบ ง่ายๆ เช่น เมือ่ หยิกจะหดมือหนี 6. หมดสติอย่างสิ้นเชิง (Coma) ไม่ตอบสนองต่อการกระตุน้ เลย เรียกหรือปลุกไม่ลมื ตา ไม่ตอบสนองความเจ็บปวด Skin ▪ โดยใช้การดูและการคลา - สีผิว (Color): Pale, Jaundice, Cyanosis - Lesion: Primary lesion – macule-papule-nodule - vesicles –pustule : Secondary lesion – scar– keloid –ulcer- fissure-erosion - ผื่น (Rash): color, size, area, boundary - เล็บมือ (Nail): shape, color, angle, lesion, การไหลเวียนเลือด (Capillary Refill) ค่าปกติของ Capillary Refill Timeไม่เกิน 2 วินาที Capillary Refill Skin https://step2.medbullets.com/dermatology/120040/terminology-of-skin-lesions https://step2.medbullets.com/dermatology/120040/terminology-of-skin-lesions https://step2.medbullets.com/dermatology/120040/terminology-of-skin-lesions https://step2.medbullets.com/dermatology/120040/terminology-of-skin-lesions https://step2.medbullets.com/dermatology/120040/terminology-of-skin-lesions Insect bite Skin: โดยใช้การคลา ▪ อุณหภูมิ (Temperature) โดยการสัมผัสผิวหนังผูป้ ่ วย ้ (Moisture) ถ้ามีเหงื่ออกเป็ นความชืน้ ทั่วไป ▪ ความชืน ▪ ความตึงตัว (Turgor) ใช้นิว้ ชีแ้ ละหัวแม่มือหยิบผิวหนัง และไขมันใต้ผิวหนัง แล้วปล่อยลง ผิวหนังจะกลับลงทันที (normal skin turgor) ถ้ามี poor turgor ผิวหนังจะตัง้ อยู่ 2-3 นาที ▪ บวม (Edema) บวมทั่วตัว (generalize) หรือ บวมเฉพาะที่ (localize) @ คนไข้โรคไตจะบวมที่หนังตาก่อนแล้วจึงบวมทัง้ ตัว @ ในคนไข้โรคหัวใจจะบวมส่วนล่างก่อน @ คนไข้โรคไต และโรคหัวใจจะบวมแบบกดบุม๋ (pitting edema) @ คนไข้โรคต่อมไทรอยด์พร่อง ชนิด myxedema จะบวมทั่วตัว แต่กดไม่บมุ๋ การบวมเฉพาะที่ (localize) อาจเกิดจากการอุดตันของท่อนา้ เหลือง หรืออักเสบ จะบวมกดไม่บมุ๋ Edema Assessment ▪ การรายงานผลการตรวจผิวหนัง Skin: warm touch, mild pale, no cyanosis, and no jaundice, no rash, normal skin turgor, no clubbing of fingers and no spoon nails, normal capillary refill (capillary refill time 2 sec), Sweating-positive, pitting edema 2 both legs, peripheral cyanosis – negative. Skin turgor (ความยืดหยุ่นของผิวหนัง) Assessment on the back of hand -Good Skin Turgor -Poor Skin Turgor (ส่วน ใหญ่มาจาก Dehydration) Skin that after being pinched and released, recoils immediately suggests good skin turgor hydration. A skin fold persisting for

Use Quizgecko on...
Browser
Browser