Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Summary

These notes cover Thai history, from the Ayutthaya period to the Rattanakosin period. Topics include key figures, wars, treaties, and interactions with other countries. The document includes relevant historical data.

Full Transcript

Road to MFA THAI HISTORY 1 WORLD HISTORY 6 MFA 20 Government 23 THAI Policy...

Road to MFA THAI HISTORY 1 WORLD HISTORY 6 MFA 20 Government 23 THAI Policy 26 THAI ECON & Geography 30 CULTURE 36 🌐 ASEAN 43 UN 57 🇪🇺 Sub-regional, Regional and International Cooperation 76 ⚔️ EU 90 NATO 94 Country Facts 96 Conferences/Treaties 104 Events 108 Definitions 110 Ranking 112 Miscellaneous 116 THAI HISTORY Ayutthaya - รวมระหว่าง ละโว ้-สุวรรณภูม ิ พระเจ ้าอูท ่ อง เป็ นกษั ตริยอ ์ งค์แรก - แข่งขันกับรัฐทีม ี ำนาจทัดเทียมกัน สว่ นรัฐทีห ่ อ ่ า่ งไกล เน ้นการทูต การค ้าแลกเปลีย ่ น วัฒนธรรม ั พันธ์กบ ความสม ั หัวเมือง 1. มลายู : มะละกา ไทรบุรี ตรังกานู กลันตัน ปั ตตานี - ผ่านนครศรีธรรมราช 2. เขมร 3. พม่า : มอญเป็ นรัฐกันชน 4. จีน: จิม ้ ก ้อง จีนตีความว่าเป็ นเมืองขึน ้ แต่ไทยได ้ประโยชน์จากการค ้า 5. ญีป่ น: ุ่ เอกาทรศรส : โชกุนอิเอยาสุ 6. รัฐมุสลิม : แขกเทศ คือ นับถืออิสลาม - สมัยพระนเรศวรตำแหน่งจุฬาราขมนตรีสว่ นใหญ่ เป็ นชาวเปอร์เซย ี สบ ื ต่อกันมา ั พันธ์กบ ความสม ั ฝรั่งเศส - พ.ศ.2228 ออกพระวิสต ์ ี่ 14 ุ รสุนทร โกษาปาน ไปเฝ้ าพระเจ ้าหลุยสท - ลาลูแบร์ เป็ นหัวหน ้าคณะเดินทางมาอยุธยา - ฝรั่งเศสสง่ กองทัพมา มะริดและบางกอก ไทยมีสงครามกับพม่า 24 ครัง้ คณะทูตไทยไปยุโรปครัง้ แรกคือ สมัยสมเด็จพระเอกาทศรส ไป ฮอลันดา ่ วั บรมโกศ พระพุทธศาสนา ที่ ลังกาวงศ ์ พระเจ ้าอยูห โปรตุเกสมา รามาธิบดี ที่ 2 สถาปั ตยกรรมแบบยุโรป - พระนารายณ์นเิ วศน์ Rattanakosin ร.1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช - สถาปนากรุงรัตนโกสน ิ ทร์ พ.ศ.2325 - ระบบการปกครองเหมือนอยุทธยาตอนปลาย คือมี สมุหนายก สมุหกลาโหม โกษาธิบดี จตุสดมภ์ - พระไตรปิ ฎก (ฉบับทอง) รามเกียรติ์ - กฎหมายตราสามดวง - ราชสห ี ์ คชสห ี ์ บัวแก ้ว (กรมคลังกรมท่า) - สงครามเก ้าทัพ - โปรตุเกส สง่ ทูต อันโตนิโอ หรือ องตนวีเสน ติดต่อกรุงเทพฯ ชาติแรก - อังกฤษยึดเกาะปี นัง ขณะที่ ทวาย มะริด ตะนาวศรี ห่างจากสยามไปเข ้ากับพม่า 1 ร.2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาล ัย - ยุคทองวรรณกรรม - อินจัน - สถานกงสุลแรกในสยามคือ โปรตุเกส - อังกฤษสง่ ทูตเข ้ามาเจรจา ยกเลิก การผูกขาดพระคลังสน ิ ค ้า Worldly : อังกฤษยึดอินเดีย ร.3 พระบาทพระนง่ ั เกล้าเจ้าอยู่ (โอรส ร.2) - เจ ้าสวั - *สนธิสญ ั ญาเบอร์น*ี่ กับ UK เป็ นสญ ั ญาฉบับแรกในรัตนโกสน ิ ทร์ สยามได ้เปรียบ - ไทยชว่ ยอังกฤษรบพม่ายุคนี้ - *สนธิสญ ั ญาโรเบิรต ์ * กับ US ครัง้ แรก !! btw US w/ Asian countries - คล ้ายกับเบอร์นี่ + หากมีชาติใด ได ้ตัง้ กงสุล สหรัฐฯ ต ้องได ้ด ้วย - หมอบรัดเลย์ - ปฏิทน ิ นสพ.ภาษาไทย - สงครามอานามสยามยุทธ 14 ปี : TH vs VIET แย่งเขมร - ก่อตัง้ ธรรมยุกตนิกาย ที่ วัดบวรนิเวศวิหาร by ร.4 สมัยเป็ น เจ ้าฟ้ ามกุฏ ร.4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ ัว (โอรส ร.2) - มีกษั ตริย ์ 2 พระองค์ อีกคนคือ พระปิ่ นเกล ้า - ถือน้ำพิพัธสต ั ยาครัง้ แรก - ราชกิจจานุเบกษา - โรงกษาปณ์ ผลิตเหรียญ - ั *สนธิสญญาเบาว์ รงิ * จอห์นเบาว์รงิ มาขอแก ้สญ ั ญาเบอร์นี่ → ไทยเสย ี เปรียบ ี ิ - 1. ไทยเสยสทธิสภาพนอกอาณาเขต : ไม่ปฏิบต ั ต ิ ามกฏหมายของปท.ทีพ ่ ำนัก แต่ ั ตามต ้นสงกัด ขึน ้ ศาลกงสุล - 2. เก็บภาษี ได ้เพียงร ้อยละ 3 - 3. ไม่มก ี ำหนดสน ิ้ สุดสญ ั ญา - 4. ประเทศไหนได ้สท ิ ธิอะไร อังกฤษต ้องได ้ด ้วย - Keyword: “ชาติทไี่ ด้ร ับการอนุเคราะห์อย่างยิง่ ” - +ผลดี+ - การค ้าขยายตัว การค ้าเสรี ไม่มก ี ารผูกขาดของกรมพระคลังสน ิ ค ้า - เศรษฐกิจไทย เข ้าสู่ ทุนนิยม การขยายตัวปลูกข ้าว - ระบบเศรษฐกิจแบบเงินตรา พึง่ พาต่างชาติมากขึน ้ - US ปธน.แอนดรูว ์ แจ็คสน ั สง่ ผู ้แทน ทำการค ้า TH-US ครัง้ แรก - Last War with พม่า @ เชย ี งตุง - สุรย ิ ป ุ ราคา หว ้ากอ จ.ประจวบคีรข ี น ั ธ์ > บิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย ร.5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ ัว - ิ วงศ ์ เป็ นผู ้สำเร็จราชการแทน พระยาศรีสรุ ย - ยกเลิกตำแหน่งกรมพระราชวังบวร ยกเลิกวังหน ้า >> สยามกุฏราชกุมาร 2 - คนแรกคือ เจ ้าฟ้ าวชริ น ุ หิศ สนิ้ พระชนม์ เลยเป็ น เจ ้าฟ้ ามหาวชริ าวุธ - มีการสอบทุนเล่าเรียนหลวง - Facilities: โรงไฟฟ้ า โรงประปา กรมพยาบาล กรมรถไฟ แบ ้งสยามกัมมาจล หอรัชฎากร พิพัฒน์เก็บภาษี ศริ ริ าช รพ.แรกของไทย - ่ ใช ้ ร.ศ. เริม - ปฏิรป ู การปกครอง ร.5 ยกเลิก จตุสดมภ์ เป็ นกระทรวง ทบวง กรม - อำนาจการปกครองย ้ายมารวมทีก ่ ษั ตริย ์ - ***ครัง้ แรกทีม ่ ก ี ารปกครอง “รัฐชาติ” มีอธิปไตย ดินแดนชด ั เจน เพือ ่ ไม่ตะวันตกอ ้าง เหตุยด ึ ครอง - เสด็จประพาส สงิ คโปร์ ชวา อินเดีย → เสด็จประพาสยุโรป 2 ครัง้ - FIRST King from Asia เสด็จเยือนยุโรป - UK, France, Belgium, Germany, Italy, Austria-Hungary, Denmark, Czechoslovakia, Switzerland, Russia - สมเด็จพระนางเจ ้าเสาวภาผ่องศรี สำเร็จราชการแทน “สมเด็จรีเจนท์” - เลิกทาส 2448 - วิกฤตการณ์ ร.ศ.112 (วิกฤตการณ์ปากน้ำ พ.ศ.2436) : Thai vs France - ฝศ. อ ้างอธิปไตยเหนือดินแดน ฝั่ งซายแม่ ้ ้ น้ำโขง (ลาว) ใชนโยบายเรื อปื นปิ ดอ่าว ไทย - ฝรศ. ลงโทษทหารไทย คือ พระยอดเมืองขวาง - ไทยยอมยกลาวให ้ เสย ี ค่าปรับ 3 ล ้านฟรังก์ - ฝศ. ยึด จันทบุรี ไว ้ 10 ปี ไทย ต ้องยก ดินแดนฝั่ งขวาแม่น้ำโขงให ้ เพือ ่ แลกกับ จันทบุรี - ฝศ. ยึด ตราด ไทยต ้องยก พระตะบอง เสย ี มราฐ ศรีโสภณ แต่ ฝศ. ไม่คน ื ประจันคีรี เขต - ไทย เสย ี ดินแดนรัฐมลายู/สรี่ ัฐมาลัย ไทรบุร ี ปะลิส กล ันต ัน ตร ังกานู ให้ อ ังกฤษ → ยกเลิกเบาวริง่ กู ้เงิน 4 ล ้านปอนด์ เลิกใชเงิ ้ นพดด ้วง - ไทยเสย ี ดินแดน ฝั่ งซายแม่ ้ น้ำสาละวิน ให ้อังกฤษ - พระบรมรูปทรงม ้า ครบรอบ 40 ปี ชา่ งจากปารีส Worldly: อังกฤษยึดพม่าได ้ทัง้ หมด นรม. ทีด่ ำรงตำแหน่ง นานทีส ่ ด ุ คือ จอมพล ป. พิบล ู สงคราม (รวมระยะเวลา 15 ปี 11 เดือน 25 วัน) นรม. ทีด ั ้ ทีส ่ ำรงตำแหน่ง สน ่ ด ุ คือ นายทวี บุณยเกตุ (17 days) ร.6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูห ่ ัว - จบจากตปท.องค์แรก - กบฏ ร.ศ.130 เลียนแบบจีน และเมืองจำลองดุสต ิ ธานี - พ.ร.บ. ประถมศก ึ ษา การศก ึ ษาภาคบังคับ & รร.ฝึ กหัดข ้าราชการพลเรือนเป็ นจุฬา - พ.ร.บ. คำนำหน ้า พ.ร.บ. นามสกุล - เปลีย่ น ร.ศ. เป็ น พ.ศ. - สร ้างสนามบินดอนเมือง 3 - WORLD WAR I (1914) - เปลีย ่ นเป็ นธงไตรรงค์ - ฝ่ ายสม ั พันธมิตร คือ อังกฤษ ฝรศ. รัสเซย ี VS ฝ่ ายมหาอำนาจกลาง คือ เยอรมนี ออสเตรีย ฮงั การี อิตาลี - ไทยอยูฝ ่ ่ ายชนะ ได ้สท ิ ธิแก ้ สนธิสญ ั ญาสภาพนอกอาณาเขต - ไทยเป็ นสมาชก ิ สนั นิบาตชาติ - อนุเสาวรีย ์ ทหารอาสา วงเวียน 22 กรกฎา - แต่งตัง้ ดร.ฟรานซส ิ บี แชร์ ชาวอเมริกน ั เป็ น ทีป ่ รึกษาราชการตปท. ตำแหน่ง พระยากัลยา ณไมตรี ร.7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห ่ ัว - Great Depression > ปลด ขรก. - การเปลีย ่ นแปลงการปกครอง 24 มิ.ย. พ.ศ.2475 - เห็นตัวอย่างจาก ตุรกี ญีป ่ น ุ่ จีน - หล ัก 6 ประการ : ล ้มเลิกสมบูรณายาสท ิ ธิราชย์ แสดงความเป็ นประชาธิปไตย - เอกราช ความปลอดภัย เศรษฐกิจ การศก ึ ษา เสมอภาค เสรีภาพ - 10 ธ.ค. 2475 รัฐธรรมนูญฉบับถาวร ก่อนหน ้านี้ พระยากัลยาณไมตรี ร่างฉบับแรก - เปลีย่ นคำว่า คณะกรรมการราษฎร เป็ น คณะรัฐมนตรี - นายปรีด ี พนมยงค์ เสนอ เค้าโครงเศรษฐกิจ สมุดปกเหลือง ถูกมองว่าสงั คมนิยม เกินไป ไม่ผา่ นรัฐสภา ถูกโจมตีวา่ เป็ นคอมมิวนิสต์ - พระยาพหลรัฐประหารครัง้ แรก ปรีดก ี ลับมา - 4 days later - ประชุมสภาครัง้ แรก - กบฏบวรเดช - จัดตัง้ ราชบัณฑิตยสภา - พระราชทานปริญญาบัตรครังแรก - Shortest reign ร.8 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ ัวอาน ันทมหิดล - ร.7 สละพระราชสมบัต ิ ตอน ร.8 อายุเพียง 9 พรรษา - 24 มิ.ย. เป็ นวันชาติ ก่อนจะเปลีย ่ นเป็ น 5 ธ.ค. - จอมพล ป. เป็ น นรม. - รัฐนิยม 12 ประการ - เชอ ื่ ผู ้นำชาติพ ้นภัย / ไทยทำ ไทยใช ้ ไทยเจริญ - เกิดรัฐวิสาหกิจ และ กระทรวงอุตสาหกรรม + แบ ้งชาติ - **SIAM → THAILAND by หลวงวิจต ิ รวารสาร - 2483 สงครามอินโดจีน - ไทยสง่ ทหาร ยึดดินแดนคืนจาก ฝรศ. - ยุทธนาวีเกาะชา้ ง ญีป ่ นเข ุ่ ้าไกล่เกลีย ่ ฝรศ.ยอมคืน >> อนุสาวรียช ั สมรภูม ิ ์ ย - เป็ นการรบทางทะเลครัง้ เดียวของกองทัพเรือไทย - 2484 WORLD WAR II มหาเอเชย ี บูรพา 4 - ญีป่ นยกพลขึ ุ่ ้ บก ขอทางผ่านไปพม่าอินเดีย อ ้างว่า จะชว่ ยเอาดินแดนคืนจาก น อังกฤษ ฝรศ. - ขบวนการเสรีไทย นำโดย ม.ร.ว.เสนีย ์ ปราโมท และปรีด ี - สร ้างรถไฟสายมรณะ - เสรีไทย - ในไทย X.O Group โดยปรีด ี - ในอังกฤษ Force 136 โดย ม.จ.ศุภสวัสดิว์ งศส ์ นิท สวัสดิวต ั น์ - ในอเมริกา O.S.S โดย ม.ร.ว.เสนีย ์ ปราโมช - สญ ั ญาทีท ั ่ ำให ้ไทยไม่แพ ้ : สญญาความตกลงสมบู รณ์แบบ - จอมพล ป. ลาออก แพ ้เรือ ่ งย ้ายเมืองหลวงไปเพชรบูรณ์ - ปรีด ี เป็ นรัฐบุรษ ุ อาวุโส - ร.8 สวรรณคต ครองราชย์เพียง 12 ปี การเมืองสม ัยใหม่ในไทย - จอมพล ป.’s ร ัฐนิยม ประกาศ 12 ฉบ ับ 1. เปลีย ่ นชอ ื่ จากสยาม > ไทย 2. 1 ม.ค. เป็ นวันขึน ้ ปี ใหม่ 3. แต่งกายแบบสากลนิยม 4. เคารพธงชาติ เพลงชาติ เพลงสรรเสริญพระบารมี 5. ปรับปรุงการเขียนภาษาไทย ตัดพยัญชนะ 6. สรรพนาม ฉั น ท่าน “สว ัสดี” โดย พระยาอุปกิตศล ิ ปสาร 7. ไทยทำ ไทยใช ้ ไทยเจริญ - นายทวี บุณยเกตุ เป็ น นรม. ทีอ ่ ยูใ่ นตำแหน่งสนั ้ ทีส ่ ดุ (18 วัน) - ไทยเข ้า UN ในยุค นรม. พลเรือตรี ถว ัลย์ ธำรงนาสว ัสดิ์ - นรม. พจน์ สารสน ิ เคยดำรงตำแหน่ง เลขา ส.ป.อ. (SEATO) - จอมพลถนอม กิตข ิ จร - ว ันเสย ี งปื นแตก การปะทะกับ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย อ.นาแก จ. นครพนม ในยุคที่ ดำเนินนโยบายปราบคอมมิวนิสต์อย่างรุนแรง - แถลงการร่วมถน ัด-ร ัสก์ พ.ศ.2505 - สมัยจอมพลสฤษดิ์ - USA จะให ้ความชว่ ยเหลือถ ้าไทยถูกรุกราน โดยไม่ต ้องขอมติจาก องค์กาาร ั สนธิสญญาป ้ องก ันภูมภ ิ าค เอเชย ี ตอ.ต. (SEATO) -- สหรัฐอเมริกา สหราช อาณาจักร ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย นิวซแ ี ลนด์ ปากีสถาน ไทย และฟิ ลป ิ ปิ นส ์ - ไทยอนุญาติให ้ USA ตัง้ ฐานทัพ เพือ ่ ปฏิบต ั กิ ารในอินโดจีน - รมว.กต. ถนัด คอมันตร์ และ นาย ดีน รัสก์ - คำสง่ ั นายกร ัฐมนตรีท ี่ 66/2523 : นโยบายการต่อสูเ้ พือ ่ เอาชนะคอมมิวนิสต์ - By พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ - นโยบายการเมืองนำการทหาร ถ ้ามอบตัวจะไม่ถก ู ดำเนินคดี 5 WORLD HISTORY World War I (1914-1918) Causes 1. ความรู ้สก ึ ชาตินย ิ มในยุโรป 2. เซอร์เบีย ต ้องการขับไล่อท ิ ธิพลของ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮงั การี ให ้ออกจากคาบสมุทรบอล ข่าน 3. รัสเซย ี สนับสนุนเซอร์เบีย เพราะชนชาติ 4. สงั่ สมอาวุธและกำลังทหาร ความเชอ ื่ ว่าสงครามจะเป็ นทางออก 5. ***ชนวน*** มกุฏราชกุมาร ออสเตรีย-ฮงั การี ถูกลอบสงั หารที่ บอสเนีย ออสเตรีย-ฮงั การี เชอ ื่ ว่าเซอร์เบียมีสว่ น ั ันธมิตร : อ ังกฤษ ฝรศ. ร ัสเซย ฝ่ายสมพ ี + อเมริกา ญีป ่ น ุ่ อิตาลี ไทย ฝ่ายมหาอำนาจกลาง : เยอรมนี ออสเตรีย-อ ังการี + บัลแกเรีย ออตโตมัน เป็ น total war Effects 1. ปธน. วูดโรว์ วิลสน ั ออกแถลงการณ์ 14 ประการ → สน ั นิบาตชาติ แต่ USA ไม่เข ้าร่วม 2. สนธิสญ ั ญาทีเ่ ป็ นปั ญหา a. สนธิสญ ั ญาแวร์ซายส ์ ทีท ่ ำกับเยอรมนี b. สนธิสญ ั ญาแชงต์แยร์แมง ทีท ่ ำกับ ออสเตรีย c. เนยยี ทำกับ ยัลแกเรีย 3. ยุโรปอ่อนแอ สหรัฐฯ ญีป ่ น ุ่ เข ้มแข็งขึน ้ 4. เกิดประเทศใหม่ในยุโปรตะวันออก : เชคโกสโลวะเกีย โปแลนด์ ฮงั การี 5. ฝ่ ายแพ ้จ่ายค่าปฏิกรสงคราม World War II (1939-1945) Causes 1. ลัทธิจักรวรรดินย ิ ม ชาตินย ิ ม แข่งขันทางเศรษฐกิจ - เศรษฐกิจตกต่ำ แต่ละประเทศเลยพยายามขยายอำนาจไปแอฟริกาและเอเชย ี เพือ ่ หา วัตถุดบ ิ และตลาด - ญีป ่ น ุ่ ยึด แมนจูเรีย - อิตาลี ยึด เอธิโอเปี ย - เยอรมนี ผนวก ออสเตรีย และ เชโกสโลวาเกีย 2. ลัทธินยิ มทางทหาร - พยายามสร ้างกองทัพ มหาอำนาจระแวงกันเอง 3. ความไม่เป็ นธรรมของสนธิสญ ั ญาแวร์ซายส ์ - ข ้อตกลงข ้อ 231 โบ ้ยเยอรมนีอย่างเดียว ให ้จ่ายค่าปฏิกรสงครามเยอะมาก 4. ความขัดแย ้งในอุดมการณ์การเมือง 6 นิยมทางทหาร : Nazism by Hitler & Fascism by Mussolini ต่อต ้านแนวคิด - เสรีนย ิ ม เน ้นชาตินย ิ ม 5. ความอ่อนแอขององค์การสน ั นิบาตชาติ - สหรัฐฯ ไม่เข ้าร่วม แต่สหรัฐฯ เป็ นมหาอำนาจทุกด ้าน เลยล ้มเหลว Events - 1939 : เยอรมนี บุก โปแลนด์ อังกฤษ กับ ฝศ. เป็ นพันธมิตรกับ โปแลนด์ เลยประกาศ สงครามกับ เยอรมนี - 1940 : เยอรมนี ยึดกรุงปารีสได ้ - ญีป ่ น ุ่ บุกเมืองท่าสำคัญ ๆ ของอินโดจีน → USA, UK, China, ฮอลันดา จัดตัง้ แนวร่วม ABCD แต่ไม่ได ้ผล - A:America B:Great Britain C:China D:Dutch East Indies - ใชกำลั ้ งเศรษฐกิจต่อต ้านญีป ่ น ุ่ โดยไม่จำหน่ายสน ิ ค ้าทีเ่ ป็ นยุทธปั จจัย เชน ่ ยางพารา น้ำมัน - 1941 : turned to be global scale - ญป. พันธมิตรของ เยอรมนี โจมตีฐานทัพเรือ เพิรล ์ ฮาร์เบอร์ >> สหรัฐฯ ประกาศเข ้า สงคราม - 1944 : D-Day การยกพลขึน ้ บกครัง้ ใหญ่ทน ี่ อร์มงั ดี ฝรั่งเศส - 1945 : สหรัฐฯ โจมตี ฮโิ รชม ิ า กับ นางาซากิ ด ้วย ระเบิดปรมาณู Effects 1. ประเทศทีแ ่ พ ้ ได ้แก่ เยอรมนี อิตาลี ญป รวมทัง้ ออสเตรีย โรมาเนีย บัลกาเรีย ฮงั การีั ฟิ นแลนด์ ต ้องจ่ายค่าปฏิกรสงคราม 2. ประเทศทีแ ่ พ ้ สูญเสยี ดินแดนและอาณานิคม 3. ปี 1945 พิจารณาคดีนเู ร็มเบิรก ์ (Nuremberg Trials) จัดโดยทหารฝ่ ายสม ั พันธมิตร พิพากษาคณะผู ้นำทางการเมือง ทหาร เศรษฐกิจ ของนาซเี ยอรมัน ฐานะ อาชญากรสงคราม >> leads to >> ปฏิญญาสากลว่าด้วยสท ิ ธิมนุษยชน 1948 (Universal Declaration of Human Rights: UNDR) ทีไ่ ทยก็รว่ มสนับสนุน ⬇️ ิ ผู ้ก่อตัง้ สหประชาชาติ (United Nations: UN) More details below 4. สหรัฐฯ​เป็ นสมาชก - Originally: 51 member states; as of 2023 - Now: 193 member states ทีม ่ าของ UN = กฏบ ัตรแอตแลนติก (Atlantic Charter) 1941 - ิ แถลงร่วมกันของสองผู ้นำ ระหว่าง แฟรนคลิน รูสเวลท์ กับ เชอร์ชล - หลังประชุมบนเรือรบออกัสตา เพือ่ แสวงหหาสนั ติภาพของโลก 7 COLD WAR 1945-1991 ฝ่ ายโลกเสรี / USA ฝ่ ายโลกสงั คมนิยม / USSR ปธน.ทรูแมน (1945-1953) โจเสฟ สตาลิน (1920-1953) - สกัดกัน้ ลัทธิคอมมิวนิสต์ esp. ประเทศเอกราช - นโยบายขยายลัทธิคอมมิวนิสต์ไปยุโรป ตอ. ใหม่ - 1948 COMINFORM องค์กรด ้านข่าวสารของ - ชว่ ยเหลือ Greece & Turkey ประเทศกลุม่ คอมมิวนิสต์ - แผนการมาร์แชล (Marshall Plan) = - สหภาพโซเวียตปิ ดล ้อมกรุงเบอร์ลน ิ โครงการชว่ ยเหลือทางเศรษฐกิจของ - จีนปกครองแบบคอมมิวนิสต์ สหรัฐอเมริกาแก่ยโุ รปตะวันตก - 1949 COMECON = ความร่วมมือทาง ั - 1949 สนธิสญญาแอตแลนติ กเหนือ เศรษฐกิจของกลุม่ คอมมิวนิสต์ ในยุโรป ตอ. (NATO) รวมกลุม ่ ทางทหาร ปธน.ไอเชนฮาวร์ (1953-1961) นิกต ิ า้ ครุสซอฟ (1953-1964) - ทฤษฎีโดมิโน ชว่ ยเหลือการขยายตัวของ - 1955 Warsaw Pact = การรวมกลุม ่ ทางทหาร คอมมิวนิสต์ในเอเชยี หลังจาก จีน กลน. ระหว่าง USSR, แอลแบเนีย, บัลแกเรีย, เชค ็ เวียดนาม กลายเป็ นคอมมี่ เลยมาป้ องกัน SEA โกสโลวาเกีย, เยอรมันตะวันออก, ฮงั การี, - 1955 สญญาปั ี ตะว ันออกเฉียง ้ องก ันเอเชย โปแลนด์,โรมาเนีย (Albania withdrew in ใต้ for USA, UK, FR, AUS, NAZ + Paki, 1968) Thai, PH ิ as → IRON CURTAIN Called by วินสตัน เชอร์ชล - CIA ม่านเหล็ก - EU - 1957 โครงการสปุกนิค ดาวเทียมดวงแรกทีข ่ น ึ้ สูว่ งโคจร 8 ความข ัดแย้งในยุโรปตะว ันออก 1949: - ปฏิรป ู เงินตราในเขตยึดครองของตน > โซเวียตไม่พอใจ สงครามเกาหลี (1950-1953) - ก่อนหน ้านี้ เกาหลีเป็ นอาณานิคม ญป. - ถูกแบ่งเป็ นสองฝ่ ายโดยใชเส ้ ขนานที่ 38 องศา ้ น - มีการปะทะหลายครัง้ บางครัง้ ลุกลามเป็ นสงคราม จนลงนามสญ ึ เกาหลี ั ญา ความตกลงการสงบศก (1953 Korean Armistice Agreement) - ตัง้ เขตปลอดทหารเป็ นแนวป้ องกันยาว 4 km. สงครามเวียดนาม (1955-1975) - WWII: นาซเยอรมันยึดครองฝรศ. รัฐบาลอินโดจีนจึงรับนโยบายจากนาซไี ปด ้วย ี - โฮจิมน ิ ห์รวบรวมชาวเวียดนาม ตัง้ เป็ น ฝ่ายเวียดมินห์ - สงครามจบ จักรพรรดิบา๋ ว ดัย ่ สละสมบัต ิ 1945 >> โฮจิมน ิ ห์ตงั ้ พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม - สู ้ รบ.ฝศ. ในการรบ “ยุทธการทีเ่ ดียนเบียนฟู” ปี 1954 >> โฮจิมน ิ ห์เป็ น ปธน. และ นรม.คนแรก ของ เวียดนาม - USSR & รบ.จีน รับรองเวียดนามของฝ่ ายเวียดมินห์ @ ฮานอย เป็ น รบ. - แต่ !!! USA & UK รับรองว่า รัฐเวียดนามในไซง่ อ ่ น ที่ ฝศ. หนุน เป็ น รบ.ทีช ่ อบธรรม → ความขัดแย ้ง ระหว่าง เวียดนามเหนือ กับ เวียดนามใต ้ Geneva Concord (1954) แบ่งเวียดนามเป็น - เหนือ - สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (คอมมี)่ - ใต ้ - รัฐเวียดนาม (ประชาธิปไตย) แต่ ชาวเวียดนามใต ้ ไม่พอใจ รบ. จึงก่อตัง้ กองกำล ังเวียดกง (National Liberation Front) = แนวร่วม ปลดแอกแห่งชาติเวียดนามใต้ ซงึ่ ก็คอ ื อดีตทหารเวียมินห์ เพือ ่ ต่อต ้าน รบ. - เวียดนามเหนือ ตัดสน ิ ใจใชกำลั ้ งทหาร รวมประเทศ 9 - 1973 เจรจาสน ั ติภาพกรุงปารีส USA ยอมถอนทหาร - เวียดนามใต ้ เวียดกงชนะ ยึกไซง่ อ ่ นได ้ 1975 > รวมประเทศ 1976 - ปกครองคอมมี่ เปลีย ื่ ไซง่ อ ่ นชอ ่ น เป็ น โฮจิมน ิ ห์ *ระหว่างการสูรบ้ เวียดกงต ้องบุกผ่าน Ho Chi Minh Trail = เสนทาง ้ ลาว ไป กพช. เพือ ่ เข ้าเวียดนามใต ้ เลย ลุกลามไปยังสองประเทศนี้ ใน กพช. มีเขมรแดง (Khmer Rouge) นำโดยพลพต จอมโหด เลยเกิดเป็ น การ ฆ่าล ้างเผ่าพันธุใ์ น กพช. ก่อนจะถูกขับไล่โดยเวียดนาม ปธน.เคนเนดี้ (1961-1963) - 1961 วิกฤตการณ์เบอร์ลน ิ USSR สร ้างกำแพง - โครงการยานอะพอลโล สง่ ยานอวกาศไปดวง - 1962 วิกฤตการณ์ควิ บา = USSR ติดตัง้ ฐาน จันทร์ อาวุธนิวเคลียร์ทค ี่ วิ บา ปธน. ฟิ เดล คัสโตร ภาย ใต ้การปกครองของ USSR - ปธน. เคนเนดี้ สงั่ ให ้คิวบาถอนจรวด ภายใน 24 ชม. และ USSR ยอมถอย เลยไม่เกิดสงคราม 1961 ขบวนการไม่ฝก ั ใฝ่ฝ่ายใด (Non-Aligned Movement: NAM) ปั จจุบน ั มี 120 ประเทศ ไม่เป็ นพันธมิตรหรือต่อต ้านฝ่ ายใด ปธน.จอห์นสนั (1963-1969) เบรสเนฟ (1964-1982) - เพิม ่ กำลังทหารในเวียดนาม ปชช.เมกา ไม่ - การต่างประเทศผ่อนคลาย พอใจ - 1980 กำแพงเบอร์ลน ิ แตก *สนิ้ สุดรัฐบาล คอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก* ปธน.นิกสน ั (1969-1974) - ลดบทบาททางทหาร ผ่อนคลายความ ตึงเครียด - ถอนทหารออกจากเวียดนาม - มีการเจรจาจำกัดอาวุธ - นิกสน ั เยือน USSR & China ปธน.เรแกน (1981-1989) กอร์บาชอฟ (1989-1990) - โครงการ Star War - นโยบายเปิ ดปรับประเทศ - กลาสนอสต์-เปเรสทรอยก ้า ปฏิรป ู ประเทศ - ยุโรปตะวันออกเริม ่ แยกตัว ปธน.จอร์ช บุช (1989-1993) In 1991, บอริส เยลต์ซนิ - จบสงครามเย็น แต่มส ี งครามอ่าว = presidential power in Russia ี มาแทน เปอร์เซย - resignation of Soviet President Mikhail Gorbachev and the actual collapse of the USSR. - สหภาพโซเวียตล่มสลาย 10 >> 15 countries >> 1. Russia 2. Ukraine 3. เบียโลรัสเซย ี 4. อุซเบกิสถาน 5. คาซค ั สถาน 6. จอร์เจีย 7. อาเซอร์ไบจาน 8. ลิทวั เนีย 9. มอลเดเวีย 10. ลัตเวีย 11. เคอร์กซ ี สถาน 12. ทาจิกส ิ ถาน 13. อาร์เมนีย 14. เติรก ์ เมนิสถาน 15. เอสโตเนีย ิ้ สุดสงครามเย็น 1989 Malta Summit: USSR & USA ลงนามทีเ่ กาะมอลตา ประกาศสน → สหรัฐฯ ประกาศ the New World Order ระเบียบโลกใหม่ 1. ค่านิยมประชาธิปไตย 2. ระบบการค ้าเสรี 3. สทิ ธิมนุษยชน 4. มาตรฐานสงิ่ แวดล ้อม What about India? - หมูเ่ กาะเครือ ่ งเทศ = หมูเ่ กาะโมลุกกะ อินเดีย - ั สตยาเคราะห์ (Satayagraha) = วิธต ี อ่ ต ้านจักรวรรดินย ั ติวธิ ี ิ มด ้วยสน - มหาตมคานธี ยึดมัน่ ในสจ ั จะ เข ้มแข็งต่ออุปสรรค สุภาพอ่อนน ้อม ความข ัดแย้งในแคว้นแคชเมียร์ - อินเดีย กับ ปากี แย่งดินแดนแคชเมียร์ ตัง้ แต่ได ้รับเอกราชจากอังกฤษในปี 1947 และเกิด การแบ่งประเทศ - แคชเมียร์เป็ นมุสลิม อยากแยกตัวเป็ นอิสระหรือรวมกับปากี อินเดียจึงปราบปราม - 1972 อินเดียและปากีสถานลงนามในข ้อตกลงซม ิ ลา กำหนดให ้เปลีย ้ ่ นเสนหยุ ดยิงเป็ นเขต การควบคุม - การทดลองนิวเคลียร์ เพือ ่ ข่มขวัญกัน What about China? ้ ทางสายไหม เสน 11 - ้ เสนทางการค ี าน ผ่าน เอเชย ้าจากเมืองซอ ี กลาง เปอร์เซย ี เอเชย ี ตต. ถึงยุโรปแถว เมดิเตอร์เรเนียน - มาร์โคโปโล เจงกิสข่าน พระถังซำจั๋ง Opium War (1839-1842) - ความขัดแย ้งทางการค ้าระหว่างอังกฤษกับจีน - พ่อค ้าต่างชาติต ้องการเปิ ดเสรีการค ้า จีนไม่ยอม อังกฤษเลยบุก ั → สนธิสญญานานกิ ง - จีนเปิ ดเมืองท่า ยกเลิกผูกขาดการค ้า - เสย ี สทิ ธิสภาพนอกอาณาเขต - ยก ฮอ ่ งกง ให ้อังกฤษเชา่ - สนธิสญ ั ญาแรกทีท ่ ำกับต่างชาติ - ต ้องทำแบบนีก ้ บ ั ชาติอนื่ อีก US, Jap Chinese Revolution 1949 - ็ พรรคก๊กมินตัง๋ ไปตัง้ รัฐบาลพลัดถิน ขับไล่เจียงไคเชค ่ เกาะฟอร์โมซา หรือ ไต ้วัน เหมา เจ๋อตุง - “Great Leap Forward” นโยบายก้าวกระโดดไกล - Cultural Revolution ปฏิว ัติว ัฒนธรรม - ให ้สงั คมเป็ นวัฒนธรรมคอมมี่ มี Red Guards ี่ วผิง (1978-1989) : นโยบาย 4 ท ันสม ัย (Four Modernizations) เติง้ เสย - เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การป้ องกันประเทศ รวมถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - สนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบผสม 1992 เจียงเจ๋อหมิน - ปฏิรป ู ต่อ เสรีมากขึน ้ ฮูจน ิ เต่า (2002-2012) - เศรษฐกิจผงาด เติบโตสูงมาก GDP - สง่ ผลให ้จีนก ้าวขึน ้ เป็ นประเทศทีม ่ ข ี นาดเศรษฐกิจใหญ่เป็ นอันดับที่ 2 ของโลก รองจาก สหรัฐอเมริกา ส ี จิน ้ ผิง - สนับสนุนความริเริม ้ ่ เสนทางเศรษฐกิ จสายไหม ทัง้ ทางบกและทางทะเล (Belt and Road ้ Initiative) หรือยุทธศาสตร์หนึง่ แถบหนึง่ เสนทาง (One Belt One Road: OBOR) 12 ความข ัดแย้งในโลกปัจจุบ ัน สงครามอาหร ับ-อิสราเอล สงคราม 6 ว ัน (1967) = สงครามสูร้ บก ันระหว่างอิสราเอลและแนวร่วมร ัฐอาหร ับ (นำโดย ิ ต์ ซเี รีย และจอร์แดน) อียป - ค.ศ. 1956 อิสราเอลบุกครองคาบสมุทรไซนายของอียป ิ ต์ โดยมีวตั ถุประสงค์ข ้อหนึง่ เพือ ่ เปิ ดชอ่ งแคบติรานทีอ ่ ย ิ ต์สงั่ ห ้ามเรืออิสราเอลผ่านตัง้ แต่ ค.ศ. 1950 ี ป - สุดท ้ายอิสราเอลถูกบีบให ้ถอนกำลังออก แต่ได ้รับคำมัน ่ ว่าชอ่ งแคบติรานจะเปิ ดให ้เรือผ่าน ได ้ มีการวางกำลังฉุกเฉินของสหประชาชาติตามเสนเขตแดน ้ แต่ไม่มคี วามตกลงลดกำลัง ทหาร - จนปี 1967 อิยป ิ ต์ปิดล ้อมอ่าวอคาบา ห ้ามเรืออิสราเอลผ่าน - ในวันที่ 5 มิถน ุ ายน อิสราเอลเปิ ดฉากโจมตีทางอากาศต่อสนามบินของอียป ิ ต์ - ออ. ชนะ ยึด - ฉนวนกาซาและคาบสมุทรไซนายจากอียป ิ ต์ - ยึดเวสต์แบงก์ รวมเยรูซาเล็มตะว ันออกจากจอร์แดน - และทีร่ าบสูงโกล ันจากซเี รีย ี The First Gulf War สงครามอิร ัก-คูเวต (1990-91) → สงครามอ่าวเปอร์เซย - ั ดัม ฮุสเซน ของ อิรัก บุกยึดคูเวต ต ้นเหตุจากเรือ ซด ่ งดินแดนและน้ำมัน - อ ้างว่า คูเวตเจาะน้ำมันมาในดินแดนอิรัก เศรษฐกิจอิรักตกต่ำ ไม่ยอมรับการแบ่ง เขตแดนโดยอังกฤษ - สหรัฐฯ ใชวิ้ ธกี ารทูตก่อน แต่อริ ักไม่ยอม - UNSC ต ัดสน ิ คว่ำบาตรอิร ักทางเศรษฐกิจ และลงมติประณามการกระทำของ อิร ัก - !!! First time - UN ลงมติเพือ ่ ลงโทษประเทศทีล ่ ะเมิดกฎบ ัตร - สหรัฐฯ นำกองทหารเข ้าทำสงครามขับไล่อริ ักออกจากคูเวต - กองทัพผสมนำโดยสหรัฐฯ ชนะ >> อิรักถอนกำลังจากคูเวต 9/11 - AQ by Osama bin Laden attacked - ็ เตอร์ในนครนิวยอร์ก ตึกแฝดเวิลด์เทรดเซน - อาคารเพนตากอนในอาร์ลงิ ตัน รัฐเวอร์จเิ นีย - อาคารรัฐสภาสหรัฐ ในวอชงิ ตัน ดี.ซ.ี (ไม่สำเร็จ) 2001 บุกอ ัฟกานิสถาน - สงั หารบินลาเดน โค่นล ้างกลุม ่ ตอลิบน ั - สร ้าง รบ.ประชาธิปไตย ปธน. ฮามิด คาร์ไซ 13 2003 Iraq War สงครามอิร ัก (occupation of iraq until 2011) - US & UK บุกอิรักเพือ ั ดัม โดยอ ้างว่า อิรักมีอาวุธเคมีร ้ายแรงไว ้ครอบครอง ่ ล ้มระบอบ ซด และจัดตัง้ รบ. ทีเ่ ป็ นมิตรกับ สหรัฐฯ สงครามอิร ัก-อิหร่าน (1980-1988) - สาเหตุ: ปั ญหาเชอ ื้ ชาติ ชาวอิรักสว่ นใหญ่เชอ ื้ สายอาหรับ อิหร่านเปอร์เซย ี รวมถึงผู ้นำ ทำให ้เกิดการกีดกันทางเชอ ื้ ชาติ ระหว่างซุนนี ชอ ี ะห์ - อิรักบุกอิหร่านก่อน - ข ้อพิพาทชายแดน ซต ั อัล-อาหรับ แต่สด ุ ท ้ายก็ไม่มใี ครได ้ไป - ิ ปั ญหาแย่งชง คูเชสถาน (Arab-majority) ของอิหร่าน แต่อริ ักต ้องการแย่ง เพราะมีน้ำมัน มาก - หยุดยิงด ้วย UNSC 598 - Iraq: ซดดั ัม ฮุสเซน - Iran: อยาตุลลอฮ ์ โคไมนี -- first supreme leader of Iran Russia-Ukraine Background - Splited from USSR, ยูเครนก็พยายามปลีกตัวออกจากอิทธิพลของรัสเซย ี และเข ้าหา ตะวันตกมากขึน ้ - ประธานาธิบดี วิกเตอร์ ยูชเชนโก ซงึ่ ชูนโยบายเข ้าหาสหภาพยุโรป (EU) รวมถึงพยายาม เข ้าเป็ นสมาชก ิ NATO ด ้วย แต่กไ ็ ม่เป็ นผลสำเร็จ แน่นอนว่าเรือ ่ งนีเ้ ป็ นสงิ่ ทีร่ ัสเซย ี ต่อต ้าน มาโดยตลอด - 2014 ในสมัยของประธานาธิบดี วิกเตอร์ ยานูโควิช ค่อนไปทางเอาใจรัสเซย ี - ยานูโควิชพยายามล ้มเลิกข ้อตกลงทีท ่ ำกับ EU และฟื้ นสมพันธ์กบ ั ี ั รัสเซยมากยิง่ ขึน ้ จนสง่ ผลให ้ประชาชนรวมตัวประท ้วงในการชุมนุมทีม ่ ช ื่ เรียกว่า ‘ยูโรไมดาน’ (Euromaidan) จนกระทัง่ ี อ รัฐสภามีมติถอดถอนยานูโควิชในเดือนกุมภาพันธ์ปี 2014 - เหตุการณ์การโค่นล ้มรัฐบาลของยานูโควิชทัง้ หมด มีชอ ื่ เรียกรวมๆ ว่า การปฏิว ัติแห่ง ั ศ ศกดิ ์ รี (Revolution of Dignity) ซงึ่ มีจด ุ แตกหักเกิดขึน ้ ทีไ่ ครเมียเป็ นผลลัพธ์ตามมา - รัสเซย ี เคลือ ่ นทัพเข ้ายึดคาบสมุทรไครเมียของยูเครนทีม ี ระชากรสว่ นใหญ่เป็ นชาวรัสเซย ่ ป ี - ไครเมียได ้จัดให ้มีการลงประชามติอย่างเป็ นทางการในวันที่ 16 มีนาคม 2014 โดยมีมติสว่ น ใหญ่ให ้รวมไครเมียเป็ นสว่ นหนึง่ ของรัสเซย ั ี → สนธิสญญาผนวกรวมไครเมี ย - รัสเซย ี ให ้การสนับสนุนกลุม ่ แบ่งแยกดินแดนในภูมภ ิ าคดอนบัสทางตะวันออกของยูเครน - ไครเมียกลายเป็ นหลักฐานให ้ยูเครนชูประเด็นเพือ ่ ผลักดันเรือ ่ งการเข ้าร่วม NATO มากกว่า เดิม - หากยูเครนได ้เป็ นสมาชก ิ สว่ นหนึง่ ของ NATO ได ้จริงๆ ก็จะชว่ ยให ้ยูเครนป้ องกันการโจมตี ของรัสเซยี ได ้อย่างมาก และจะชว่ ยดึงยูเครนออกจากอิทธิพลและการครอบงำของรัสเซย ี ได ้อย่างมี นัยสำคัญ หากถามว่ารัสเซยี ต ้องการอะไรในวิกฤตครัง้ นี้ แม ้ปูตน ิ จะไม่แสดงเจตนาออกมาให ้เห็นอย่างชด ั เจน แต่กพ ็ อบอกได ้ว่า เขาต ้องการหยุดยัง้ การรุกคืบของ NATO เพือ ี ่ รักษาเขตอิทธิพลของรัสเซย และ 14 ต ้องการจะมีอำนาจควบคุมเหนือภูมภ ิ าคยุโรปตะวันออกอีกครัง้ โดยเฉพาะในยูเครนทีถ ่ อ ื ว่าเป็ นหลัง ี บ ้านของรัสเซย ั้ ไ้ ด้ขยายออกไปอย่างมีน ัยสำค ัญ 2022 (65) ความข ัดแย้งครงนี เมือ ี เปิ ดฉากการรุกรานยูเครนอย่างเต็มรูปแบบ ่ ร ัสเซย - รุกรานชายแดนยูเครน - ตัง้ คำถามเกีย ่ วกับสท ิ ธิในการมีสถานะเป็ นมลรัฐของยูเครน - ี รัสเซยได ้รับรองสาธารณร ัฐประชาชนดอแนตสก์และสาธารณร ัฐประชาชนลูฮนสก์ ั ซงึ่ เป็ นสองรัฐทีป่ ระกาศตนเองในดอนบัสทีค ่ วบคุมโดยกลุม ่ แบ่งแยกดินแดนทีส ่ นับสนุนรัสเซยี - ขีปนาวุธและการโจมตีทางอากาศได ้โจมตีทวั่ ยูเครน รวมทัง้ เคียฟ เมืองหลวง ตามมาด ้วย การโจมตีภาคพืน ้ ดินขนาดใหญ่จากหลายทิศทาง → วิกฤตผู ้ลีภ ้ ย ั ครัง้ ใหญ่ทส ี่ ด ุ ของยุโรปนับตัง้ แต่สงครามโลกครัง้ ทีส ่ อง Arab Spring (2010/11) ื ของประชาชนเพือ การลุกฮอ ่ ต่อต ้าน รบ. ใน ตอ.กลาง 1. การปฏิวตั ต ิ น ี 2010 : ดอกมะลิ ไม่พอใจ รบ. ู เิ ซย 2. การปฏิวต ั อ ิ ยี ป ิ ต์ 2011 : ขับไล่ รบ. นายฮอสนี มูบารัค 3. การปฏิวต ั เิ ยเมนน 2011-2012 : ประท ้วง รบ. ทุจริต 4. ประท ้วงในแอลจีเรีย 2011 : ค่าครองชพ ี สูง ดูตวั อย่างจากตูนเิ ซย ี และ อียป ิ ต์ 5. สงครามกลางเมืองในลิเบีย 2011 : เรียกร ้องในเลือกตัง้ ตามประชาธิปไตย ต่อต ้านการ ปกครองของ พันเอกอัมมาร์ กัดดาฟี ทีป ่ กครองลิเบียมากกว่า 40 ปี 6. ประท ้วงจนเกิดสงครามกลางเมืองในซเี รีย นโยบายเหยียดผิว Apartheid - แอฟริกาใต ้ รวันดา โคโซโว - ทีอ ่ ยูอ ั ของประชาชนจะต ้องจัดแบ่งแยกกันและถูกบังคับให ้โยกย ้าย ชนผิวดำถูกกีดกัน ่ าศย ออกจากสถานะความเป็ นพลเมือง - Solved by เนลสน ั มันเดลา ทะเลจีนใต้ South China Sea / Spratly Islands - ข ้อพิพาทหมูเ่ กาะสแปรตลี่ & พาราเซล & ั สนดอนสการ์ โบโรห์ (Scarborough shoal) เนือ ่ งจาก มีทรัพยากรธรรมชาติมาก ก๊าซ ธรรมชาติ น้ำมัน และการควบคุมเสนทาง ้ เดินเรือในทะเลจีนใต ้ - ประเทศทีอ ิ ธิทงั ้ หมด ได ้แก่ 1.จีน 2. ่ ้างสท ไต้หว ัน 3.เวียดนาม 4.ฟป. 5.มาเล 6.บรูไน - เป็ น diplomatic stalemate 15 - Ongoing territorial dispute between countries, concerning ownership of the islands and associated maritime features located in South China Sea ิ ธิ์ Territorial disputes ได ้กรรมสท 1. Diaoyu - Senkaku Islands : Japan vs China 2. Dokdo - Takeshima (all known as Liancourt Rocks): Republic of Korea vs Japan 3. Kuril Islands : Russia vs Japan 4. Nagorno - Karabakh : Azerbaijan vs Armenia a. นากอร์โน-คาราบัคเป็ นดินแดนทีม ่ ข ี ้อพิพาทเกีย่ วกับอำนาจอธิปไตย โดยนานาชาติ ิ าคนีเ้ ป็ นสว่ นหนึง่ ของอาเซอร์ไบจาน ยอมรับว่าภูมภ b. แต่ในปั จจุบนั พืน ้ ทีส ่ ว่ นใหญ่ของภูมภ ิ าคอยูภ ่ ายใต ้การปกครองของ สาธารณรัฐอาร์ทซค ั รัฐเอกราช "โดยพฤตินัย" 5. Jammu and Kashmir : India vs Pakistan 6. Aksai Chin / Karakoram : China vs India 7. Crimea (annexation to Russia) : Russia vs Ukraine Financial Incidents 1. 1929-1939 The Great Depression (Black Tuesday) ตลาดหุ ้น US ร่วงหนัก 2. 1959 The Suez Crisis - "ได ้บ่งบอกถึงการสนิ้ สุดบทบาทของบริเตนใหญ่ในฐานะหนึง่ ในมหาอำนาจทีส ่ ำคัญ ของโลก" 3. 1982 The International Debt Crisis - began in Mexico 4. 1997 Asian Financial Crisis 5. 1998 The Russian Crisis/ Ruble Crisis - Russian Central Bank devaluing ruble 6. 2008 The Great Recession/Hamburger/Subprime Mortgage crisis (US) 7. 2010 The European Crisis วิกฤติหนีส้ าธารณะในยุโรป 8. Panama Papers (2016) - a giant leak of more than 11.5 million financial and legal records exposes a system that enables crime, corruption 9. 2021 El Salvador became the first country to adopt Bitcoin as a legal tender. Civilizations ย้อนแบบละเอียด 📚 4000 B.C. เมโสโปเตเมีย - ระหว่างแม่น้ำไทกริสยูเฟรติส ใน ตอ.กลาง ปจบ.คือ อิรัก - สว่ นหนึง่ ของ “ดินแดนวงพระจันทร์เสย ี้ ว” (Fertile crescent) โค ้งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน- อ่าวเปอร์เซย ี - จบเมือ ี มายึด นครบาบิโลน กลายเป็ นสว่ นหนึง่ ของ ่ ไซปรัส แห่งเปอร์เซย จักรวรรดิเปอร์เซย ี 3500 B.C. อียป ิ ต์ - ลุม ่ แม่น้ำไนล์ แอฟริกา 16 - เฮโรโดตัส “Egypt is the Gift of Nile” 750 B.C. กรีก - พืน ้ ฐานของอารยธรรมตะวันตก - เน ้นการใชเหตุ้ ผล ปรัชญา เสรีภาพ not much religious ทำให ้เจริญ - นักปราชญ์ - โซเครติส : สติปัญญาเหตุผล - เพลโต : นส. อมตร ัฐ The Republic ประเทศควรมีผู ้นำเป็ นนักปราช - อริสโตเติล : รัฐศาสตร์ - ทูซด ิ ด ิ ส ี : เขียนประวัตศิ าสตร์สงครามเพโลพอนนีเซย ี น (Peloponnesian) ซงึ่ เป็ น สงครามระหว่างชาวเอเธนสก ์ บ ั สปาร์ตา เอเธนสแ ์ พ ้เพราะโรคระบาด มาซโิ ดเนียได ้ครองดินแดน - เฮโรโตัส : บิดาแห่งประวัตศ ิ าสตร์ บันทึกสงครามกรีก-เปอร์เซย ี - วรรณกรรม - มหากาพย์อเี ลียตและโอดิสซย ี ์ ของ โฮเมอร์ 27 B.C. โรม ัน - คาบสมุทรอิตาลี ริมทะเลเมดิเตอร์เรเนียน - รับวัฒนธรรมจากกรีกและอิทร ัสค ัน ชนชาติดงั ้ เดิม - วางผังเมือง กำแพงเมืองประตู ท่อ ระบายน้ำ การแพทย์ - เน ้นสถาปั ตยกรรมแข็งแรง ใหญ่โต ศล ิ ปะเน ้นความสมจริง - ภาษาละติน ซงึ่ มาจากกรีก รากภาษายุโรป อังกฤษ สเปน - ประมวลกฎหมายสบ ิ สองโต๊ะ - เน ้นสทิ ธิและความเสมอภาคแก่ประชาชน - ต่อมาแบ่งเป็ น… - โรมันตะวันตก : กรุงโรม บำรุงเมือง เฟื่ องนคร - ถนนพหลโยธิน - กม.0 ที่ อนุสาวรียช ั สมรภูม ิ วิง่ ไปทิศเหนือ ทางหลวงหมายเลข 1 ของประเทศ ์ ย ไทย - ถนนมิตรภาพ - กม.0 ที่ อ.เมือง สระบุรี วิง่ ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ เป็ นทางหลวงหมายเลข 2 - ได ้รับเงินสนับสนุนการสร ้างจากสหรัฐฯ จอมพล ป. - ถนนสุขม ุ วิท - กม.0 ทีอ ่ นุสาวรียป์ ระชาธิปไตย วิง่ ไปทางตะวันออก เป็ นทางหลวงหมายเลข 3 - ถนนเพชรเกษม *ถนนทีย ่ าวทีส่ ด ุ ของไทย - กม.0 ทีอ ่ นุสาวรียป์ ระชาธิปไตย ต่อมา ย ้ายมาอยูว่ งเวียนใหญ่ วิง่ ไปทางใต ้เป็ น ทางหลวงหมายเลข 4 รถไฟฟ้า 1. สายสแ ี ดงเข ้ม บางซอ ื่ -รังสต ิ 2. สายสแ ี ดงอ่อน บางซอ ื่ -ตลิง่ ชน ั 3. แอร์พอร์ตลิงก์ พญาไท-สุวรรณภูม ิ 4. สายสเี ขียวเข ้ม (สุขม ุ วิท) คูคต-เคะหะ รวม 52 km. 5. สายสเี ขียวอ่อน สนามกีฬา-บางหว ้า 6. สายสน ี ้ำเงิน MRT (เฉลิมรัชมงคล) a. หัวลำโพง-บางซอ ื่ , หัวลำโพง-หลักสอง 7. สายสม ี ว่ ง MRT (ฉลงรัชธรรม) คลองบางไผ่-เตาปูน 8. สายสส ี ม้ กำลังสร ้าง ศูนย์วฒ ั นธรรม-มีนบุรี 9. สายสช ี มพู มีนบุร-ี ศูนย์ราชการนนทบุรี (สายล่าสุดทีเ่ ปิ ดให ้บริการ) 10. สายสเี หลือง ลาดพร ้าว-สำโรง 11. สายสเี ทา ยังไม่สร ้าง 12. สายสฟ ี ้ า ยังไม่สร ้าง 13. สายสน ี ้ำตาล ยังไม่สร ้าง 14. สายสท ี อง กรุงธนบุร-ี สนง.เขตคลองสาน 15. รฟฟ.รางเบา ยังไม่สร ้าง พรมแดนไทยทงหมด ั้ 5656 km. - เมียนมา 2401 km - ลาว 1810 km - กัมพูชา 789 km - มาเลเซยี 647 km. - ทหารประจำ 245,000 คน เฉลีย ่ 23 เมตร/ 1 คน 31 การค้าชายแดน เขตเศรษฐกิจในไทย >> ยุทธศาสตร์การสร ้างความสามารถด ้านการแข่งขัน - พัฒนาและผลักดันให ้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางในการกระจายสน ิ ค ้าทางภูมภ ิ าค - ยกระดับต่อยอด เทคโนโลยี ต่อยอดทรัพยากรสร ้างโอกาส EEC: East Economic Corridor / เขตพ ัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะว ันออก ○ 1.ฉะเชงิ เทรา 2.ระยอง 3.ชลบุรี SEC: Southern Economic Corridor ○ 1.ระนอง 2.ชุมพร 3.สุราษฎร์ธานี 4.นครศรีธรรมราช เขตเศรษฐกิจพิเศษบริเวณชายแดนของประเทศไทย 10 จ ังหว ัด ○ เกิดจากการผลักดันของ ADB ○ First phase: ตาก มุกดาหาร สระแก ้ว ตราด สงขลา ○ Second phase: เชย ี งราย หนองคาย นครพนม กาญจนบุรี และนราธิวาส โครงการจะยกฐานะเทศบาลนครแม่สอด จังหวัดตาก เป็ นท ้องถิน ่ รูปแบบเหมือนพัทยา ชาย ้ แดนติดเมียนมา บนเสนทาง ถนนสายเศรษฐกิตตะว ันออก-ตะว ันตก EWEC (East-West Economic Corridor) ผลิตภ ัณฑ์จ ังหว ัด (Gross Provincial Products : GPP) ทีม ่ ล ู ค่ามากทีส ่ ด ุ ในภาค ตะว ันออก 32 - ระยอง ชลบุรี ฉะเชงิ เทรา ปราจีนบุรี จันทบุรี สระแก ้ว แต่ถ ้า per capita ระยอง ชลบุรี ปราจีนบุรี ฉะเชงิ เทรา จันทบุรี ตราด สะพานมิตรภาพไทย-ลาว (เรียงลำด ับ) 0. สะพานมิตรภาพน้ำเหือง ไทย-ลาว - จังหวัดเลยเข ้ากับแขวงไชยบุรี 1. หนองคาย-นครหลวงเวียงจันทน์ 2. มุกดาหาร-แขวงสุวรรณเขต 3. นครพนม-แขวงคำม่วน 4. เชยี งราย-แขวงบ่อแก ้ว 1-4 สร ้างเสร็จแล ้ว 5. บึงกาฬ-แขวงบอลิคำไซ *นายกไปเปิ ด และคาดว่าจะเสร็จ พ.ย.67* 6. อุบลราชธานี-แขวงสาละวัน 7. เลย-แขวงเวียงจันทน์ 8. อุบลราชธานี-แขวงจำปาศก ั ดิ์ สามเหลีย ่ มทองคำ = ไทย ลาว พม่า ○ พืน ้ ทีร่ อยต่อตรงภาคเหนือของไทย สามเหลีย ่ มมรกต หรือ ชอ ่ งบก (Emerald Triangle)= ไทย ลาว ก ัมพูชา ○ ไทย คือ พืน ้ ทีอ่ ท ุ ยานแห่งชาติภจ ู องนายอย อ.น้ำยืน จ.อุบล ○ ลาว คือ เมืองมูลประโมงข์ จำปาศก ั ดิ์ ○ กัมพูชา คือ เมืองจอมกระสานต์ จ.เขาพระวิหาร จ ังหว ัดปัตตานี ไม่ตด ิ ก ับมาเลเซย ี จังหวัดทีต่ ด ิ กับ 2 ประเทศ ได ้แก่ เชย ี งราย อุบล 4 แยกอินโดจีน อยู่ จ.พิษณุโลก 4 แยกอาเซย ี น อยู่ จ.เพชรบูรณ์ คลองคอดกระ (ระนอง-ชุมพร) สว่ นทีแ ่ คบทีส่ ด ุ ของแหลมมลายุ บริเวณแม่น้ำกระบุรี แนวกัน ้ พรมแดน ไทย-พม่า คลัง DELSA: Disaster Emergency Logistics System for ASEAN อยู่ จ.ชยนาท ั เกาะ 1. หลีเป๊ ะ - สตูล 2. สมุย - สุราษฏร์ 3. พงัน - สุราษฏร์ เขาใหญ่ ครอบคลุม 4 จังหวัด ได ้แก่ นครนายก ปราจีนบุรี นครราชสม ี า สระบุรี Environment สำหรับประเทศไทยได ้ประกาศเป้ าหมายว่า ภายในปี 2030 จะต ้องลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจกให ้ได ้ร ้อยละ 30-40 จากการดำเนินการตามปกติ จะเป็ นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ในปี 2050 EV 30% ภายใน 2030 ไทยจะเป็ น Net Zero 2065 33 เกษตรกรรมและพืชเศรษฐกิจ จันทบุรี ปลูก/สง่ ออก ทุเรียน มากทีส ่ ด ุ ○ พันธุ:์ นกกระจิบ กระดุมทอง พวงมณี หลงหลินลับแล ป่ าละอู กบชายน้ำ กบรัศมี กบ สุวรรณภูม ิ ชมพูพาน ทองมล ย่ำมะหวาด แดงสาวน ้อย กำปั่ น ทองย ้อยฉั ตร มะม่วง ○ พันธุ:์ มะม่วงมันศาลายา มันขุนศรี พราหมณ์ขายเมีย ( Phram Khai Mai) อกร่อง พิกล ุ ทอง มะม่วงสามฤดู น้ำดอกไม ้มัน (Nam Dok Mai Man) มะม่วงมันเดือนเก ้า (ทะวายเดือนเก ้า) มันขายตึก พิมเสนมันทะวาย ทองคำ ฟ้ าลัน ่ เขียวใหญ่ เขียวเสวย ลำไย - ปู่ มาตีนโค ้ง ชมพู่ - เพชรสายรุ ้ง (จ.เพชรบุร)ี ข ้าวสงั หยด จ.พัทลุง ทุง่ กุลาร ้องไห ้ ครอบคลุม 5 จังหวัด ได ้แก่ มหาสารคาม สุรน ิ ทร์ ร ้อยเอ็ด ศรีษะเกศ ยโสธร ข้าว - ประเทศทีส่ ง่ ออกข ้าวมากทีส ุ ปี 2566 ยังคงเป็ นอินเดีย สว่ นเวียดนาม แซงไทยแล ้ว ่ ด - แม ้ว่า อินเดียประกาศระงับการสง่ ออกข ้าวทุกชนิด ยกเว ้นข ้าวบาสมาติ ในปี 2566 - ประเทศทีผ ่ ลิตข ้าวเยอะทีส ่ ด ุ คือ จีน อินเดีย - เวียดนาม ประกวด ข ้าวโลก ชนะ ่ ออกข้าวของไทย 1) อินโดนีเซย ตลาดสง ี 2) แอฟริกาใต ้ 3) อิรัก 4) สหรัฐฯ 5) จีน Export-Import ปี 66 ไทยขาดดุล 34 THAI ECONOMY depends on tourism and export. ไทยอาจพิจารณาสง่ ออกอาหารฮาลาล เพราะตลาดสง่ ออกของไทย ซาอุ UAE ก็เวิค ่ ออก 10 อ ันด ับแรกในปี 2566 ตลาดสง (1) สหรัฐฯ (6) เวียดนาม (2) จีน ่ งกง (7) ฮอ (3) ญีป ่ น ุ่ (8) สงิ คโปร์ (4) ออสเตรเลีย (9) อินเดีย ี (5) มาเลเซย ี (10) อินโดนีเซย GSP ของไทย - ระบบสท ิ ธิพเิ ศษทางภาษี ศล ุ กากรเป็ นการทัว่ ไป (Generalized System of Preference : GSP) - ไทยสามารถใชส้ ท ิ ธิ GSP ได ้ใน 4 กลุม ่ ประเทศ ได ้แก่ 1. สหรัฐอเมริกา 2. สวิตเซอร์แลนด์ 3. นอร์เวย์ และกลุม ่ ประเทศเครือรัฐเอกราช (CIS) 35 ี เบลารุส คาซค a. EAEU (Eurasian Economic Union) ได ้แก่ รัสเซย ั สถาน คีรก ์ ซ ี อาร์เมเนีย - ใชส้ ท ิ ธิสง่ ออกไปสหรัฐฯ​มากสุด โดยเฉพาะถุงมือยาง ร ัฐวิสาหกิจ - รัฐวิสาหกิจทีเ่ ก่าแก่ทส ี่ ด ุ คือ ธนาคารออมสน ิ - ทีท่ ำเงินให ้มากสุดคือ สนง. สลากกินแบ่งรัฐบาล 36 CULTURE Monarchy กรมราชเลขานุการในพระองค์ เดิมคือ สำนักราชเลขาธิการ ○ เป็ นหน่วยราชการในพระองค์ ระดับกรม สงั กัดสำนักพระราชวัง ซงึ่ มีหน ้าทีเ่ กีย ่ วกับ การเลขานุการในองค์พระมหากษั ตริย ์ ○ ราชเลขานุการ : พลอากาศเอกสถิตย์พงษ์ สุขวิมล Coronation ร.10 เมือ ่ 13 ต.ค.59 แต่วน ั ฉั ตรมงคลคือ 4 พ.ค. - พระราชพิธบ ี รมราชาภิเษก ○ เครือ ่ งเบญจราชกกุธภัณฑ์ ฉั ตร มงกุฎ พระแสงขรรค์ ธารพระกร วาลวีชนี และฉลองพระบาท เครือ ่ งราชอิศริยาภรณ์ ○ ประธานให ้ประมุขรัฐต่างประเทศ = ราชมิตราภรณ์ (สายสะพายสเี หลือง แถบขาว) ผู ้ได ้รับคนล่าสุด คือ สมเด็จพระราชาธิบดีมซ ั ไซนัล อาบีดน ี น ี ิ แห่งมาเลเซย สถาปนาโดย ร.9 ○ ใหม่สด ุ = ดิเรกคุณาภรณ์ พระราชทานให ้กับผู ้บริจาคเงินในสาธารณะ สถาปนาโดย ร.9 พีต ู อทิวราห์ คงมาลัย ได ้รับสงิ่ นี้ ่ น 16 มิ.ย.2567 สถาปนา พลเอก หม่อมเจ ้าเฉลิมศก ึ ยุคล พระโอรสใน พระเจ ้าวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ ้าเฉลิมพลทิฆม ั พร กับ หม่อมทองแถม ยุคล ณ อยุธยา เป็ น → พระวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศก ึ ยุคล ○ ประธานคณะกรรมการอนุสญ ั ญาห ้ามอาวุธชวี ภาพประเทศไทย ศูนย์พันธุวศ ิ วกรรม และเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ ผู ้ตรวจสอบอาวุธเคมีของสำนักงานคณะกรรมการ พิเศษ แห่งสหประชาชาติ ศูนย์การศก ึ ษาตามพระราชดำริ 6 แห่ง 1. ห ้วยฮอ ่ งไคร ้ จ.เชย ี งใหม่ 2. พิกล ุ ทอง จ.นราธิวาส 3. ภูพาน จ.สกลนคร 4. อ่าวคุ ้งกระเบน จ.จันทบุรี 5. ห ้วยทราย จ.เพชรบุรี ้ จ.ฉะเชงิ เทรา 🌼 6. เขาหินซอน ดอกไม ้ประจำ ร.10 = รวงผึง้ กษ ัตรทีค ่ รองราชย์นานทีส ่ ด

Use Quizgecko on...
Browser
Browser