Lab 8: Electron Spin Resonance (ESR) PDF

Document Details

CharitableThermodynamics7939

Uploaded by CharitableThermodynamics7939

Advanced Physics Laboratory

Tags

electron spin resonance physics lab magnetic fields scientific experiments

Summary

This document details an experiment on electron spin resonance (ESR), covering theory, equipment, and procedure. The document discusses the theoretical basis and experimental setup for a physics lab experiment, aiming to investigate and understand electron spin resonance and the devices involved.

Full Transcript

82 การทดลองที่ 89 เรื่ องอิเล็กตรอนสปิ นเรโซแนนซ์ Electron Spin Resonance วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการเกิดสนามแม่เหล็กอย่างสม่าเสมอจากขดลวดเฮล์มโฮลท์ซ (Helmholtz coil)...

82 การทดลองที่ 89 เรื่ องอิเล็กตรอนสปิ นเรโซแนนซ์ Electron Spin Resonance วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการเกิดสนามแม่เหล็กอย่างสม่าเสมอจากขดลวดเฮล์มโฮลท์ซ (Helmholtz coil) 2. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสปิ นกับโมเมนต์ข้วั คู่แม่เหล็ก 3. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความถี่เรโซแนนต์ (resonant frequency) ของโฟตอน (ที่ เกิดขึ้น เนื่องจากความแตกต่างระหว่างสองสถานะของอิเล็กตรอน) กับสนามแม่เหล็ก 4. เพื่อหาค่าอัตราส่วนไจโรแมกเนติก (gyromagnetic ratio) หรื อ จี-แฟกเตอร์ (g-factor) ของอิเล็กตรอน อุปกรณ์ การทดลอง 1. ขดลวดเฮล์มโฮลท์ซ 2. หน่วยโพรบ (probe unit) 3. หน่วยควบคุม (control unit) 4. แอมมิเตอร์ (ammeter) 5. ออสซิลโลสโคป (oscilloscope) 6. สารตัวอย่าง ในที่น้ ีคือ ไดฟี นิล-ไฮดราซีล Diphenyl Picryl Hydraxyl เรี ยกย่อๆ ว่า (DPPH) 7. สายเชื่อมต่อสัญญาณต่างๆ ทฤษฎี สาหรับอิเล็กตรอนเดี่ยวตัวหนึ่ ง เมื่อมีการหมุนรอบตัวเอง จะทาให้เกิดโมเมนต์ข้ วั คู่แม่เหล็ก (magnetic dipole moment) s ซึ่ งเป็ นสั ด ส่ ว นโดยตรงกับ โมเมนตัม เชิ ง มุ ม แบบสปิ น (spin angular momentum) S g s B S s = − (1)  เมื่อ gs คือ ค่าคงที่ซ่ ึงเป็ นลักษณะเฉพาะของอิเล็กตรอน เรี ยกว่าอัตราส่วนไจโรแมกเนติก หรื อ จี-แฟกเตอร์ B คือ โบว์ แมกนีตรอน (Bohr magnetron) S คือ ขนาดโมแมนตัมเชิงมุมแบบสปิ นของอิเล็กตรอน  คือ ค่าคงที่ของพลังค์ (Planck’s constant) = 1.0546  10-34 Js 83 เครื่ องหมายลบในสมการที่ (I) มีความหมายว่า ทิศทางของสปิ นจะตรงข้ามกับทิศทางของโมเมนต์ข้ วั คู่ แม่เหล็กเสมอ เมื่อสารตัวอย่างอยู่ในสนามแม่เหล็ก โมเมนต์ข้ วั เหล็กหรื อเรี ยกสั้นๆว่าโมเมนต์แม่เหล็กของ อิเล็กตรอนจะเกิดอันตรกิริยา (interact) กับสนามแม่เหล็กสม่าเสมอ และโดยธรรมชาติทางควอนตัมของ อิเล็กตรอน อิเล็กตรอนจะปรับทิศทางของตัวมันเองในทิศทางใดทิศทางหนึ่งในสองทิศทางซึ่งมีพลังงาน แตกต่างกันสองระดับนี้ g s B B E = E0  (2) 2 เมื่อ E0 คือ ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนก่อนนาสารตัวอย่างเข้าไปในสนามแม่เหล็ก B คือ ขนาดของสนามแม่เหล็ก ดังนั้น ผลต่างของระดับ พลังงานระหว่างอิ เล็กตรอนที่ มีทิ ศทางของสปิ นตรงข้ามกันย่อมมี ค่ าเท่ ากับ gsBB สาหรับการทดลองในเรื่ องนี้ เราใช้สารตัวอย่างสอดอยู่ภายในขดลวดซึ่งต่อเข้ากับเครื่ องกาเนิ ด ความถี่ คลื่นวิทยุ (rf oscillator) และจัดสารตัวอย่างให้วางตัวอยูในสนามแม่เหล็กสม่าเสมอที่ผลิตโดย ขดลวดเฮล์ม โฮลท์ซ ดังรู ป ที่ 1 เมื่ อเครื่ องก าเนิ ดความถี่ ถูก ปรับ ให้มี ความถี่ f ที่ พ อเหมาะ พลังงาน ของโฟตอนที่ ป ล่อยออกมา hf นี้ มี ค่ าเท่ ากับ ผลต่ างของระดับ พลังงานส าหรั บ อิ เล็ก ตรอนที่ มี สถานะ ต่างกัน (เมื่อมีทิศทางของ สปิ นตรงข้ามกัน) อิเล็กตรอนในระดับพลังงงานต่ากว่าสามารถดูดกลืนโฟ ตอนและกระโดดไปสู่ ร ะดั บ พลัง งานสู ง กว่ า ได้ การดู ด กลื น พลัง งานนี้ มี ผ ลต่ อ สภาพให้ ซึ ม ได้ (permeability) ของสารตัวอย่าง และส่างผลให้ความเหนี่ยวนา (inductance) ของขดลวดเปลี่ยนแปลงไป ด้วย เนื่ องจากขดลวดนี้ ต่ อเข้ากับ เครื่ องก าเนิ ดความถี่ จึ งท าให้ เกิ ดการแกว่งวัด (oscillation) ขึ้ นใน เครื่ องกาเนิ ดความถี่ของคลื่นวิทยุ เราสามารถสังเกตการเปลี่ยนแปลงของกระแสที่ผ่ านเครื่ องกาเนิ ด ความถี่น้ นั ดังนั้นเงื่ อนไขการเกิ ดเรโซแนนซ์ (resonance) คือพลังงานของโฟตอนที่ เครื่ องกาเนิ ดความถี่ ปล่อยออกมาพอดีกบั ผลต่างของระดับพลังงานระหว่างสถานะของอิเล็กตรอนในสารตัวอย่าง ซึ่ งเขียน ความสัมพันธ์ได้วา่ hf = gsBB (3) 84 รู ปที่ 1 หลักการทางานของเครื่ องสาเร็จอิเล็กตรอนสปิ นเรโซแนนซ์ 1. ขดลวดเฮล์มโฮลท์ซ ชุ ด ลวดเฮล์ม โฮลท์ซ ประกอบด้ว ยขดลวดจ านวน N = 320 รอบ เมื่ อ เราน าชุ ด ขดลวดเฮล์ม โฮลท์ซ สองอันมาต่อขนานกันและปล่อยกระแสให้ไหลผ่านชุ ดขดลวดทั้งสอง จะได้สนามแม่เหล็ก สม่ าเสมอที่ มีค่าสู งมาก โดยเฉพาพอย่างยิ่งถ้าจัดให้ชุดขดลวดทั้งสองวางห่ างกันเป็ นระยะเท่ากับรัศมี ของดขดลวดเฮล์มโฮล์ทซย่อมทาให้สนามแม่เหล็กบริ เวณตรงกลางระหว่างชุดขดลวดทั้งสองมีค่าสู งมาก ที่สุด ดังรู ปที่ 2 ซึ่งสามารถคานวณได้จากสูตร 3/ 2 4 B = 0   NI / R 5 เมื่อ 0 คือสภาพให้ซึมของสุ ญญากาศ = 4 10−7 N / A2 = 1.256 106 V  s / A  m N คือ จานวนรอบในแต่ละชุดของขดลวดเฮล์มโฮลท์ซ R คือ รัศมีของชุดขวดลวดเฮล์มโฮลท์ซ I คือ กระแสที่ไหลผ่านขดลวด ข้อควรระวัง เนื่ องจากชุดขดลวดเฮล์มโฮลท์ซแต่ละอันทนกระแสไฟฟ้าได้สูงสุ ด 3A ดังนั้นถ้านาชุดขดลวด ทั้งสองมาต่อขนานกัน กระแสไฟฟ้ารวมทั้งหมดต้องไม่เกิน 6A 85 รู ปที่ 2 2. หน่ วยโพรบ หน่ ว ยโพรบเป็ นอุ ป กรณ์ ที่ ส าคัญ ของเครื่ อ งมื อ ส าเร็ จ อิ เล็ ก ตรอนสปิ นเรโซแนนซ์ (ESR apparatus) ประกอบด้วยเครื่ องกาเนิดความถี่ คลื่นวิทยุในช่วง 13-130 MHz และอุปกรณ์ลดทอนความถี่ ในอัตรา 1000:1 ทั้งนี้เพื่อทาให้เราสามารถวัดค่าความถี่จากมิเตอร์วดั ความถี่มาตรฐานในช่วง kHz ได้ ค่าความถี่และแอมพลิจูดของสัญญาณความถี่คลื่นวิทยุสามารถควบคุมได้ดว้ ยปุ่ มต่างๆ ดังแสดง ในรู ปที่ 3 เช่น ปุ่ มควบคุม ความถี่ (frequency control) ปุ่ มควบคุมแอมพลิจูด (amplitude control) ช่วง ของความถี่ที่ส่งออกมาจากเครื่ องกาเนิ ดคลื่นขึ้นกับโพรบความถี่ คลื่ นวิทยุ (rf probe) ที่ใช้เพราะความ เหนี่ยวนาของโพรบมีส่วนในการหาค่าความเหนี่ยวนาของวงจรในเครื่ องกาเนิด รู ปที่ 4 แสดงโพรบความถี่วิทยุ 3 อัน ที่มีช่วงของความถี่แตกต่างกันดังนี้ อันที่ 1 ประมาณ 13-30 MHz อันที่ 2 ประมาณ 30-75 MHz อันที่ 3 ประมาณ 75-130 MHz 86 รู ปที่ 3 รู ปที่ 4 รู ปที่ 5 3. หน่ วยควบคุม หน่วยงานควบคุมจัดเป็ นเครื่ องมือวัดที่จาเป็ นต่อ การใช้ร่วมกับหน่วยโพรบ รู ปที่ 5 แสดงแผง ควบคุมในส่ วนต่างๆ หน้าที่หลักของหน่วยควบคุมมี 3 ประการ ดังนี้ 1) จ่ายแรงดันไฟฟ้าให้แก่หน่วยโพรบและขดลวดเฮล์มโฮลท์ซ 2) แสดงค่าความถี่เป็ นตัวเลขของเครื่ องกาเนิดคลื่นวิทยุที่เกิดจากหน่วยโพรบ 3) น าสั ญ ญ าณ ออก (output signal) ของเครื่ องก าเนิ ดความ ถี่ คลื่ น วิ ท ยุ ส่ งเข้ า ไป ยั ง ออสซิ ลโลสโคป ซึ่ งออสซิ ลโคปจะแสดงรอย (trace) ออกมาสองสัญญาณ โดยสัญญาณ ออกแรกเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับกระแสในเครื่ องกาเนิดความถี่คลื่นวิทยุ เพื่อใช้สังเกตพัลส์ 87 ของเรโซแนนซ์ ส่ วนอีกสัญญาณหนึ่ งเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับกระแสที่จ่ ายให้กับขดลวด เฮล็มโฮลท์ซ เพื่อแสดงขนาดของสนามแม่เหล็ก หมายเหตุ ในทางปฏิ บ ัติเกี่ ยวกับ การทดลองเรื่ องนี้ มีการเลื่ อนเฟส (phase shift) เกิ ดขึ้นระหว่าง กระแสในขวดลวดเฮล์มโฮลท์ซและสัญญาณแรงดันไฟฟ้าที่ส่งเข้าไปยังออสซิลโลสโคป การเลื่อนเฟสนี้ มีสาเหตุจากความเหนี่ ยสนาของขดลวดเฮล์มโฮล์ทซ เพื่อให้ไฟฟ้ากระแสสลับไหลผ่าน เฟสของความ ต่างศักย์ที่ตกคร่ อมขดลวดเฮล์มโฮล์ทซ จะนาหน้า (lead) เฟสของกระแสที่ผา่ นขดลวด ดังนั้นในหน่วย ควบคุมจึงมี วงจรเพื่อปรับการเลื่ อนเฟสนี้ เรี ยกว่า ตัวเลื่อนเฟส (phase shifter) เพื่อใช้ชดเชยที่ถ่วงเวลา (delay) ของกระแสที่ผ่านขดลวด ทาให้การสังเกตค่าสนามแม่เหล็กและพัลส์ของเรโซแนนซ์ที่เกิดขึ้นมี ความสัมพันธ์กนั ด้วยเฟสที่เหมาะสม 4. สารตัวอย่าง สารตัวอย่างในทีน้ ี คือไดฟี นี ล-พิครี ล-ไฮดราซีล (Diphenyl-Picryl-Hydrazyl) เรี ยกย่อๆว่า DDPH เป็ นสารพาราแมกเนติ ก (paramagnetic substance) ที่ มี อิ เล็ก ตรอนเพี ย งตัว เดี ย วที่ ข าดคู่ และมี ค่ าเลข ควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุมแบบวงโคจร (orbital angular momentum quantum number) เป็ นศูนย์ (I = 0) หรื อ มี ค่ า เลขควอนตัม ส าคัญ (principal quantum number) เป็ น 1(n=1) ดัง นั้ น เมื่ อ สารตัวอย่ างอยู่ใ น สนามแม่เหล็กที่กาหนดให้ค่าหนึ่งย่อมเกิดความถี่เรโซแนนซ์เดี่ยวอันหนึ่ง ซึ่งทาให้เราสามารถสังเกตได้ โดยง่ายและไม่ซบั ซ้อนในการเรี ยนรู ้หลักการเบื้องต้นของอิเล็กตรอนสปิ นเรโซแนนซ์ 5. แอมมิเตอร์ แอมมิเตอร์สาหรับไฟฟ้ากระแสตรงที่มีสเกลจาก 0 ถึง 3A 6. ออสโลโลสโคป ออสโลโลสโคปที่ใช้เป็ นชนิดให้สัญญาณสองช่อง 7. สายเชื่ อมต่อสัญญาณต่างๆ วิธีการทดลอง 1) ต่อชุ ดขดลวดเฮล์มโฮล์ทซทั้งสองแบบขนาน โดยต่อปลาย A ของชุดหนึ่ งเข้ากับปลาย A ของอีกชุดหนึ่ง ทานองเดียวกันก็ต่อปลาย z ของชุดหนึ่งกับปลาย z ของอีกชุดหนึ่ง 88 2) วัด ระยะระหว่ า งชุ ด ขดลวดเฮล์ ม โฮลท์ ซ ทั้ ง สองเท่ า กับ ระยะรั ศ มี ข องลวดโดยจัด ให้ พื้ น ที่ ห น้ า ตั ด ขนานกั น และหั น ด้ า นที่ เหมื อ นกั น อยู่ ใ นทิ ศ ทางเดี ย วกั น เพื่ อ ให้ เกิ ด สนามแม่เหล็กสม่าเสมอบริ เวณกึ่งกลางของขดลวดทั้งสอบมากที่สุด 3) ต่อชุดขดลวดเฮล์มโฮลท์ซเข้ากับหน่วยควบคุมและมิเตอร์แบบอนุกรม ดังรู ปที่ 6 เพื่ออ่าน ค่ากระแสตรงที่ผา่ นขดลวดเฮล์มโฮลท์ซ ข้อควรระวัง อย่าให้กระแสตรงที่ผา่ นขดลวดเฮล์มโฮลท์ซเกินกว่า 3 A รู ปที่ 6 4) ต่อสัญญาณออกที่จุด x บนหน่ วยควบคุมเข้ากับออสซิ ลโลสโคปที่ช่อง 1 โดยปรับปุ่ มคว บุมบนออสซิลโลสโคปดังนี้ Sensitivity : 1 หรื อ 2 V/div Sweep rate: 2 หรื อ 5 ms/div Coupling: DC 5) หมุ นปุ่ ม Umod บนหน่ วยควบคุม ไปที่ ตาแหน่ งศูนย์ หลังจากนั้นค่ อยๆปรั บ Uo ซึ่ งอยู่ ทาง ด้านซ้ายของปุ่ ม Umod จาก 0 ถึง 10V และสังเกตสัญญาณบนหน้าจอของออสซิ ลโลสโคป ควรเห็นภาพเป็ นเส้นตรง เป็ นภาพที่แสดงว่า ไฟฟ้ากระแสตรงผ่านเข้าไปยังชุดขดลวดเฮล์ม โฮลท์ซอย่างคงที่ อย่าลืมว่า Uo ควบคุมกระแสตรงที่ผา่ นเข้าไปยังชุดขดลวดเฮล์มโฮลท์ซ 89 6) หมุนปุ่ ม Uo ไปยังสเกลที่อยูต่ รงกลาง (โดยประมาณ) หลังจากนั้นก็หมุนปุ่ ม Umod ไปตามเข็ม นาฬิ ก า เพื่ อ เพิ่ ม ไฟฟ้ า กระแสสลับ เข้า สู่ ชุ ด ขดลวดเฮล์ ม โฮลท์ ซ สั ญ ญาณบนหน้ า จอ ออสซิ ลโลสโคปควรเป็ นภาพคลื่ น ไซน์ (sine wave) ดั ง รู ปที่ 7 ซึ่ งเป็ นภาพแสดง ความสัมพันธ์ของสนามแม่เหล็กที่เกิดจากไฟฟ้ากระแสสลับที่เพิม่ ให้แก่สนามแม่เหล็กที่เกิด จากไฟฟ้ากระแสตรงซึ่งคงที่ 7) ต่อ สั ญ ญาณออกที่ จุด y บนหน่ วยควบคุ ม เข้ากับ ออสซิ ล โลสโคปที่ ช่ อ ง 2 โดยปรั บ ปุ่ ม ควบคุมบนออสซิลโลสโคปดังนี้ Sensitivity: 0.5 หรื อ 1V/div Coupling: DC รู ปที่ 7 8) ต่อหน่วยโพรบเข้ากับหน่วยควบคุม ดังรู ปที่ 6 9) เสี ยบโพรบคลื่นวิทยุ (rf probe) ขนาดกลางเข้ากับหน่วยโพรบ และสอดสารตัวอย่างเข้าไป ยังขดลวดของโพรบคลื่นวิทยุ 10) เปิ ดเครื่ องบนหน่วยโพรบโดยโยกสวิทซ์ (switch) ปิ ด/เปิ ด ขึ้นมาอยูท่ ี่ตาแหน่ง I ซึ่งหมายถึง เปิ ดเครื่ อง จากนั้นก็หมุนปุ่ มแอมพลิจูดบนหน่วยโพรบไปยังตาแหน่งตรงกลาง 11) ขณะนั้นมิเตอร์วดั ความถี่บนหน่วยควบคุมการแสดงค่าความถี่ของการแกว่งกวัดคลื่นวิทยุ ปรับปุ่ มควบคุมความถี่บนหน่วยโพรบเพื่อผลิตสัญญาณออกให้ได้ 50 MHz โดยประมาณ 12) หมุนปุ่ ม Umod ไปยังตาแหน่งที่ 4 นับจากศูนย์ (ตาแหน่งประมาณ 11 นาฬิกา) 13) เพิม่ Uo จากศูนย์ไปยังตาแหน่งตรงกลางโดยประมาณ เพื่อให้กระแสบนขดลวดเฮล์มโฮล์ทซ มีค่าประมาณ 1.0 A ขณะนั้นสัญญาณบนหน้าจอออสซิ ลโลสโคปควรปรากฏภาพดังรู ปที่ 8 ช่อง 1 เป็ นสัญญาณแสดงกระแสที่เข้าสู่ชุดขดลวดเฮล์มโฮลท์ซ ซึ่งเป็ นสัดส่วนโดยตรงกับ สนามแม่เหล็กที่เกิดจากชดลวดเฮล์มโฮลท์ซ ช่อง 2 เป็ นสัญญาณแสดงแรงดันไฟฟ้าที่ตก คร่ อมเครื่ องกาเนิดความถี่คลื่นวิทยุ พร้อมกับพัลส์ที่ตกลงมาเป็ นปลายแหลมซึ่งเรี ยกว่า เร โซแนนซ์พลั ส์ (resonance pulse) อันแสดงถึงจุดที่มีการดูดกลืนพลังงานโฟตอนเมื่อ อิเล็กตรอนเกิดเรโซแนนซ์ ถ้าไม่เห็นเรโซแนนซ์พลั ส์ ให้ปรับ Umod ไปอย่างช้าๆ หรื อปรับ ความถี่คลื่นวิทยุบนหน่วยโพรบ จนกระทัง่ เห็นภาพดังรู ปที่ 8 90 รู ปที่ 8 14) กรณีที่สัญญาณไม่สมมาตรเหมือนในรู ปที่ 8 อันเกิดจากความเหนี่ยวนาของขดลวดเฮล์ม โฮลท์ซ เป็ นเหตุให้กระแสผ่านขดลวดเกิดตามหลัง (lag) แรงดันไฟฟ้า เราสามารถชดเชย ความล่าช้านี้ได้โดยปรับปุ่ มตัวเลื่อนเฟส (phase shifter)  บนหน่วยควบคุมไป จนกระทัง่ เห็นภาพสัญญาณมีความสมมาตรกัน เมื่อใดที่เกิดความสมมาตร แสดงว่า สัญญาณของสนามแม่เหล็กที่ผสมคลื่น (modulation magnetic field) ระหว่าง กระแสตรงกับกระแสสลับมีความสัมพันธ์อย่างเหมาะสมกับเรโซแนนซ์พลั ส์ การบันทึกข้ อมูลผลการทดลองและการหาค่ า จี-แฟกเตอร์ 1. บันทึกค่ากระแสตรงบนแอมมิเตอร์ให้สอดคล้องกับความถี่เรโซแนนซ์ที่ปรากฏบนหน้าปัด ของหน่วยควบคุม โดยแปรเปลี่ยนค่ากระแสตรงไปที่ 0.5 A (เริ่ มรับจาก 1 A และห้ามเกิน 3 A เด็ดขาด) เราสามารถอ่านความถี่เรโซแนนซ์ได้เมื่อปรากฏภาพดังรู ปที่ 8 2. เปลี่ยนโพรบความถี่คลื่นวิทยุจากขนาดกลาง (30-75 MHz) เป็ นขนาดใหญ่ (13-30 MHz) และขนาดเล็ก (75-130 MHz) แล้วทาการทดลองเพื่อให้ได้ขอ้ มูลเช่นเดียวกับข้อ 1. 3. เขียนภาพระหว่างความถี่เรโซแนนซ์ f ในหน่วย MHz เป็ นแกน y กับกระแสตรง I ในหน่วย A บนแกน x ควรจะได้กราฟเส้นตรงเนื่องจาก hf = gS BB  g s  B o (4 / 5) 3 / 2 N  f =  I = (ค่าคงที่) I  hR  ความชันของกราฟเส้นตรง = ค่าคงที่ นักศึกษาสามารถคานวณหาค่า จี – แฟกเตอร์ ของอิเล็กตรอนได้ 4. เปรี ยบเทียบค่า จี-แฟกเตอร์ ของอิเล็กตรอนที่ได้จากการทดลองกับทฤษฏีที่วา่ แตกต่างกัน เพียงใด ? มีความคลาดเคลื่อนร้อยละเท่าใด? 5. สรุ ปและวิจารณ์ผลการทดลอง 6. ควรมีเอกสารอ้างอิงในการค้นคว้าเกี่ยวกับทฤษฏีในเรื่ องนี้ประกอบด้วย ********************** Bohr magneton, B = 9.27 x 10-24 J/T ค่ามาตรฐานของ g- f

Use Quizgecko on...
Browser
Browser