Digestive System PDF
Document Details
Uploaded by Deleted User
Tags
Related
Summary
This document provides an overview of the digestive system, including its organization, anatomy, histology, function, and clinical significance. It covers the digestive tract, accessory organs, and the peritoneum. The document is suitable for undergraduate-level biology or medical studies.
Full Transcript
Digestive system วัตถุประสงค์ (objective) ❑ นิสิตเข้าใจและสามารถอธิบาย 1. องค์ประกอบของระบบย่อยอาหาร (organization of digestive system) 2. ลักษณะทางมหกายวิภาค (anatomy) จุลกายวิภาค (histology) หน้าที่ (function) ความสาคัญทางคลินิก (clinical note...
Digestive system วัตถุประสงค์ (objective) ❑ นิสิตเข้าใจและสามารถอธิบาย 1. องค์ประกอบของระบบย่อยอาหาร (organization of digestive system) 2. ลักษณะทางมหกายวิภาค (anatomy) จุลกายวิภาค (histology) หน้าที่ (function) ความสาคัญทางคลินิก (clinical note) 3. หลอดเลือดแดงที่มาเลี้ยง (arterial supply) อวัยวะในระบบย่อยอาหาร 4. การไหลเวียนเลือดดา (venous drainage) ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร 2 บทนาของระบบย่อยอาหาร (overview of digestive system) ❑ หน้าที่ (function) ทาให้อาหารมีขนาดเล็กลง จนสามารถดูดซึม และเซลล์สามารถนาไปใช้เพื่ อสร้างพลังงาน ❑ กระบวนการย่อย (digestive process) 1. Ingestion การนาอาหารเข้าสู่ทางเดินอาหาร 2. Propulsion การผลักดันอาหารผ่านทางเดินอาหาร ได้แก่ การกลืน (swallowing) การ เคลื่อนไหวแบบคลื่นของทางเดินอาหาร (peristalsis movement) 3. Digestion การย่อย -Mechanical digestion การย่อยเชิงกล ได้แก่ การเคี้ยว (chewing) การเคลื่อนไหวแบบ หมุนวน (churning) การเคลื่อนไหวแบบกลับไปกลับมา (segmentation) -Chemical digestion การย่อยทางเคมี ได้แก่ การย่อยโดยอาศัย enzyme 4. Absorption การดูดซึม 5. Defecation การถ่ายอุจจาระ 3 องค์ประกอบของระบบย่อยอาหาร (organization of digestive system) ❑ 2 ส่วน 1. Digestive tract ท่อทางเดินอาหาร ช่องปาก (oral cavity) และโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง (associated structures) คอหอย (pharynx) หลอดอาหาร (esophagus) กระเพาะอาหาร (stomach) ลาไส้เล็ก (small intestine) ลาไส้ใหญ่ (large intestine) 2. Accessory digestive organs อวัยวะช่วยย่อย ต่อมน้าลาย (salivary gland) ตับ (liver) ถุงน้าดี (gallbladder) ตับอ่อน (pancreas) 4 ท่อทางเดินอาหาร (digestive tract): ช่องปาก (oral cavity) และโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง (associated structure) ❑ ช่องปาก (oral cavity) 1. ริมฝีปากบน (superior lip) 2. ริมฝีปากล่าง (inferior lip) Orbicularis oris muscle ❑ โครงสร้างที่เกี่ยวข้อง (associated structures) 1. เพดาน (palate) เพดานแข็ง (hard palate) เพดานอ่อน (soft palate) ลิ้นไก่ (uvula) 2. เหงือก (gum หรือ gingiva) 3. ฟัน (teeth) 4. ลิ้น (tongue) 5 ท่อทางเดินอาหาร (digestive tract): ช่องปาก (oral cavity) และโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง (associated structure) ฟัน (teeth) ❑ ฝังอยู่ใน alveolar socket ของกระดูก maxilla และ mandible ❑ หน้าที่ (functions) ยึดด้วย periodontal ligament -ตัด (tear) บดเคี้ยวอาหาร (grind) ให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ (smaller fragments) ❑ จานวน 2 ชุด ❑ ความสาคัญทางคลินิก (clinical note) -ฟันน้านม (deciduous teeth) 20 ซี่ -ฟันคุด (impacted wisdom tooth), 3rd molar -ฟันแท้ (permanent teeth) 32 ซี่ ❑ ชนิดของ permanent teeth -ฟันตัด (incisor) 8 ซี่ -ฟันเขี้ยว (canine) 4 ซี่ -ฟันกรามน้อย (premolar) 8 ซี่ -ฟันกราม (molar) 12 ซี่ ❑ โครงสร้าง (structure) ของฟัน -ตัวฟัน (crown) คอฟัน (neck) รากฟัน (root) ❑ องค์ประกอบ (mineralized components) ของฟัน -เคลือบตัวฟัน (enamel) เนื้อฟัน (dentine) เคลือบรากฟัน (cement) -ภายใน dentine พบโพรงฟัน (pulp cavity) บรรจุเส้นประสาท หลอด 6 เลือด ท่อทางเดินอาหาร (digestive tract): ช่องปาก (oral cavity) และโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง (associated structure) ลิ้น (tongue) ❑ กล้ามเนื้อลาย (skeletal muscle) ปกคลุมด้วย stratified squamous epithelium ❑ ด้านหน้า 2/3 พบตุ่มนูน (lingual papillae) บรรจุตุ่มรับรส (taste Posterior 1/3 bud) ❑ ด้านหลัง 1/3 พบ lingual tonsil ❑ หน้าที่ (functions) -การออกเสียง (sound production) Anterior 2/3 -คลุกเคล้าอาหารกับน้าลาย (saliva) ขณะเคี้ยว (chewing) เปลี่ยน ingested food เป็น bolus -ผลักดันอาหาร (bolus) ไปยังคอหอยทาให้เกิดการกลืน (swallowing) 7 ท่อทางเดินอาหาร (digestive tract): คอหอย (pharynx) ❑ ท่อกล้ามเนื้อลาย (skeletal muscular tube) บุด้วย epithelium ❑ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน 1. Nasopharynx -หลังต่อ nasal cavity -บุด้วย respiratory epithelium 2. Oropharynx -หลังต่อ oral cavity -บุด้วย stratified squamous epithelium 3. Laryngopharynx -หลังต่อกล่องเสียง (larynx) -บุด้วย stratified squamous epithelium ❑ หน้าที่ (function) 1. ทางผ่านของอากาศ (air) และอาหาร (ingested food) 8 การแบ่งช่องท้อง (abdominal regions): 4 quadrants ❑ ระบุตาแหน่ง (localization) ของอวัยวะภายในช่องท้อง (abdominal cavity) ❑ เส้นแบ่ง 1. Median plane ลากผ่าน xiphoid process และ pubic symphysis 2. Transumbilical plane ลากผ่านสะดือ (umbilicus) ในแนวขวาง ❑ ประกอบด้วย 1. Right upper quadrant ขวาบน พบตับ (liver) ถุงน้าดี (gallbladder) 2. Left upper quadrant ซ้ายบน พบกระเพาะอาหาร (stomach) ม้าม (spleen) 3. Right lower quadrant ขวาล่าง พบลาไส้ใหญ่ส่วน cecum ไส้ติ่ง (appendix) 4. Left lower quadrant ซ้ายล่าง พบลาไส้เล็ก (small intestine) 9 การแบ่งช่องท้อง (abdominal regions): 9 regions ❑ ระบุตาแหน่ง (localization) ของอวัยวะภายในช่องท้อง (abdominal cavity) ❑ เส้นแบ่ง 1. Midclavicular planes ลากผ่านกึง ่ กลาง clavicle ทัง ้ 2 ข้าง 2. Subcostal plane (superior transverse plane) ลากผ่านขอบล่างของ rib 3. Intertubercular plane (inferior transverse plane) ลากผ่าน iliac tubercle ❑ ประกอบด้วย 1. Right hypochondriac region 2. Epigastric region 3. Left hypochondriac region 4. Right lumbar region (right frank region) 5. Umbilical region 6. Left lumbar region (left frank region) 7. Right iliac region (right groin region) 8. Hypogastric region (pubic region) 9. Left iliac region (left groin region) 10 เยื่อบุช่องท้อง (peritoneum) ❑ ประกอบด้วย connective tissue บุด้วย simple squamous epithelium (mesothelium) ❑ 2 ชัน ้ 1. Parietal peritoneum บุผนังช่องท้องด้านใน (internal abdominal wall) 2. Visceral peritoneum ปกคลุมอวัยวะภายในช่องท้อง (abdominal viscera) ❑ หน้าที่ (functions) -พยุง (support) อวัยวะภายในช่องท้อง (abdominal organs) -ป้องกันอันตราย (protective layer) -ทางผ่านของเส้นประสาท (nerves) หลอดเลือด (blood vessels) หลอดน้าเหลือง (lymphatic vessels) มายังอวัยวะในระบบย่อยอาหาร 11 Peritoneal fold ❑ การวกขึ้น-ลง ของ peritoneum จากผนังช่องท้อง (abdominal wall) ไปยังอวัยวะภายในช่องท้อง (abdominal viscera) หรือระหว่างอวัยวะภายในช่องท้อง ❑ ปกคลุมหรือห้อยแขวนอวัยวะภายในช่องท้องไว้กับผนังช่องท้อง (abdominal wall) ❑ ประกอบด้วย 1. Omentum 1.1 Lesser omentum ระหว่าง lesser curvature ของกระเพาะอาหาร ลาไส้เล็กส่วน duodenum และตับ (liver) 1.2 Greater omentum จาก greater curvature ของกระเพาะอาหารลงมาปกคลุม อวัยวะภายในช่องท้อง (abdominal viscera) 2. Mesentery ห้อยแขวน small intestine ไว้กับผนังช่องท้องด้านหลัง (posterior abdominal wall) 3. Mesocolon ห้อยแขวน large intestine ไว้กับผนังช่องท้องด้านหลัง (posterior abdominal wall) 12 Peritoneal cavity และ peritoneal fluid ❑ Peritoneal cavity -ช่องระหว่างเยื่อบุช่องท้อง (peritoneum) ชัน ้ parietal และ visceral layer ภายในบรรจุ peritoneal fluid -ประกอบด้วย 1. Greater sac ช่องว่างส่วนใหญ่ภายในช่องท้อง 2. Lessr sac (omental bursa) ช่องด้านหลัง liver, lesser omentum, stomach ❑ Peritoneal fluid -ของเหลวใน peritoneal cavity ประกอบด้วย water, electrolyte, leukocytes และ antibodies -หล่อลื่น (lubricate) ทาให้อวัยวะภายในช่องท้องเคลื่อนไหวโดยไม่เสียดสี (move without friction) ต้านการติดเชื้อ (resists infection) ❑ ความสาคัญทางคลินิก (clinical note) Peritonitis เยื่อยุช่องท้องอักเสบ -แผลทะลุช่องท้อง (piercing wound) แผลทางเดินอาหารทะลุ (perforating ulcer) ไส้ติ่งแตก (burst appendix) 13 -ของเหลว (serum) หนอง (pus) สะสมใน peritoneal cavity เกิดภาวะท้องมาน (ascites) ลักษณะทั่วไปของผนังท่อทางเดินอาหาร (general histological structure of digestive tract) ❑ แบ่งออกเป็น 4 ชัน ้ 1. ชั้น mucosa (mucosal layer) มี 3 ชั้นย่อย 1.1 Epithelium -Stratified squamous epithelium พบที่ esophagus, anus -Simple columnar epithelium พบที่ stomach, small intestine (villi), large intestine 1.2 Lamina propria -พบ glands, lymphatic tissue 1.3 Muscularis mucosae กล้ามเนื้อเรียบ 2. ชั้น submucosa (submucosal layer) -พบ glands, lymphatic tissue -พบ Meissner’s submucosal nerve plexus ควบคุมการหลัง ่ secretion จากต่อมในชัน ้ mucosa และ submucosa 3. ชั้น muscularis externa (muscular layer) -กล้ามเนื้อเรียบ inner circular, outer longitudinal -พบ Auerbach’s myenteric nerve plexus ควบคุม การหดตัวของกล้ามเนื้อ (peristaltic movement) 14 4. ชั้น adventitia/serosa ท่อทางเดินอาหาร (digestive tract): หลอดอาหาร (esophagus) ❑ ลักษณะทางมหกายวิภาค (anatomy of esophagus) Pharynx Oral cavity (Laryngopharynx) Upper esophageal -ท่อกล้ามเนื้อ ติดต่อระหว่าง laryngopharynx (upper esophageal sphincter sphincter) และ stomach (lower esophageal sphincter หรือ Esophagus cardiac sphincter) Esophagus -แบ่งออกเป็น 3 ส่วน Stomach ตามตาแหน่ง (by location): cervical, thoracic, abdominal part Lower esophageal sphincter ตามองค์ประกอบของกล้ามเนื้อ (by muscular composition): Stomach upper (skeletal muscle), middle (skeletal and smooth muscle), lower esophagus (smooth muscle) Esophagus Esophagus Diaphragm Diaphragm Stomach Lower esophageal Stomach sphincter 15 Muscularis externa Submucosa ❑ ลักษณะทางจุลกายวิภาค (histology of esophagus) Muscularis mucosae 1. ชั้น mucosa Inner Outer Lamina propria circular longitudinal 1.1 Epithelium ชนิด stratified squamous epithelium Mucosa Epithelium 1.2 Lamina propria Lumen 1.3 Muscularis mucosae Adventitia (Serosa) 2. ชั้น submucosa 3. ชั้น muscularis externa 4. ชั้น adventitia/serosa ❑ หน้าที่ (functions) -ขนส่งอาหาร (conveys the ingested food) -สร้างและหลัง ่ mucous เพื่ อหล่อลื่น (lubricate) และป้องกัน ผนังหลอดอาหารจากกรด (protective barrier) -ไม่สร้าง digestive enzyme 16 ท่อทางเดินอาหาร (digestive tract): กระเพาะอาหาร (stomach) ❑ ลักษณะทางมหกายวิภาค (anatomy of stomach) -J-shaped sac พบบริเวณ left upper quadrant -ติดต่อระหว่าง esophagus (lower esophageal sphincter) และ small intestine ส่วน duodenum (pyloric sphincter), transit time 2-5 h -ลักษณะภายนอก (external morphology) 2 curvatures: lesser curvature, greater curvature 4 regions: cardia, fundus, body, pylorus -ลักษณะภายใน (internal morphology): rugae 17 ❑ ลักษณะทางจุลกายวิภาค (histology of stomach) 1. ชั้น mucosa 1.1 Epithelium ชนิด simple columnar epithelium 1.2 Lamina propria -พบ gastric glands สร้าง secretion เปิดออกบริเวณ gastric pits Mucous หล่อลื่น (lubricate) ป้องกันผนังกระเพาะอาหารจากกรด (protective barrier) Pepsinogen (pepsin) สร้างจาก chief cell ย่อย protein ได้เป็น polypeptide Hydrochloric acid (HCl) สร้างจาก parietal cell เปลี่ยน pepsinogen เป็น pepsin Gastric intrinsic factor ❑ Functions ดูดซึม vitamin B12 1. เก็บ ingested food ไว้ชวั่ คราว 1.3 Muscularis mucosae 2. เปลี่ยน ingested food เป็น chyme 2. ชั้น submucosa 3. เกิดกระบวนการย่อยชนิด mechanical digestion 3. ชั้น muscularis externa 4. เกิดกระบวนการย่อยชนิด chemical digestion 4. ชั้น serosa 18 5. ดูดซึมสารบางชนิด ได้แก่ water, electrolytes, aspirin, alcohol ความสาคัญทางคลินิก (clinical note): กรดไหลย้อน (gastroesophageal reflux disease: GERD) ❑ ภาวะที่น้าย่อย กรด หรือ contents ใน stomach ไหลย้อนกลับขึ้นไปยัง esophagus ผ่านทาง cardiac sphincter (lower esophageal sphincter) ทา ให้เกิดการระคายเคืองหรืออักเสบของ esophagus ❑ อาการและอาการแสดง (signs and symptoms) -ปวดแสบปวดร้อนบริเวณลิน ้ ปี่ (heartburn) ซึ่งไม่ใช่อาการจากโรคหัวใจ (non-cardiac chest pain) -ท้องอืด (belching) ❑ สาเหตุ (causes) และปัจจัยเสี่ยง (risk factors) -การอ่อนแรงหรือเสื่อมของ cardiac sphincter (lower esophageal sphincter) -กลุ่มผู้สูงอายุ (aging) ผู้ที่มีน้าหนักเกินมาตรฐาน (overweight) ผู้ที่สูบบุหรี่ (smoking) -เข้านอนทันทีหลังรับประทานอาหารมื้อหนัก 19 ท่อทางเดินอาหาร (digestive tract): ลาไส้เล็ก (small intestine) ❑ ลักษณะทางมหกายวิภาค (anatomy of small intestine) -ติดต่อระหว่าง pylorus ของ stomach (pyloric sphincter) และ cecum ของ large intestine (ileocecal valve), transit time 2-6 h -ห้อยแขวนไว้กับผนังช่องท้องทางด้านหลัง (posterior abdominal wall) ด้วย mesentery ❑ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน Duodenum ลาไส้เล็กส่วนต้น Jejunum ลาไส้เล็กส่วนกลาง Ileum ลาไส้เล็กส่วนปลาย 20 ❑ ลักษณะทางมหกายวิภาคของ duodenum (anatomy of duodenum) -รูปร่าง C-shape โอบรอบบริเวณ head ของ pancreas -รับ pancreatic enzymes จาก pancreas ผ่านทาง main pancreatic duct -รับ bile จาก liver และ gallbladder ผ่านทาง common bile duct -Main pancreatic duct และ common bile duct รวมกันเป็น hepatopancreatic ampulla -Hepatopancreatic ampulla เปิดเข้าสู่ duodenum ผ่านทาง major duodenal papilla 21 Arterial arcade Arterial arcade Vasa recta Vasa recta Plica circularis Plica circularis ❑ ลักษณะทางมหกายวิภาคของ jejunum (anatomy of jejunum) -พบ plica circularis (circular fold) ถี่ ยกตัวสูง -พบ arterial arcades 1-2 ชัน ้ -Vasa recta ยาว ❑ ลักษณะทางมหกายวิภาคของ ileum (anatomy of ileum) -พบ plica circularis (circular fold) ห่าง ยกตัวไม่สูง Jejunum Ileum -พบ arterial arcade มากกว่า 2 ชัน ้ 22 -Vasa recta สั้น ❑ ลักษณะจุลกายวิภาคของ duodenum (histology of duodenum) 1. ชั้น mucosa 1.1 Epithelium ชนิด simple columnar epithelium มีการยกตัวเป็น villi พบ absorptive cell ภายในแกนของ villi พบ lacteal, capillary loop 1.2 Lamina propria -พบ intestinal gland (crypts of Lieberkuhn) Mucous Cholecystokinin (CCK) กระตุ้นการทางานของ pancreas และ gallbladder ยับยัง ้ การทางานของ stomach Lysozyme ต้านเชื้อแบคทีเรีย (antibacterial enzyme) ควบคุม normal bacterial flora 1.3 Muscularis mucosae 2. ชั้น submucosa -ยกตัวเป็น plica circularis (circular fold) -พบ Brunner’s gland (duodenal gland) Alkaline bicarbonate mucous ลดความเป็นกรด (neutralize acidity) Urogastrone (human epidermal growth factor) ยับยัง ้ การสร้าง HCl 3. ชั้น muscularis externa 23 4. ชั้น serosa ❑ ลักษณะทางจุลกายวิภาคของ jejunum (histology of jejunum) 1. ชั้น mucosa 1.1 Epithelium ชนิด simple columnar epithelium มีการยกตัวเป็น villi พบ absorptive cell ภายในแกนของ villi พบ lacteal, capillary loop 1.2 Lamina propria -พบ intestinal gland (crypts of Lieberkuhn) สร้าง mucous , CCK, lysozyme 1.3 Muscularis mucosae 2. ชั้น submucosa -พบ plica circulares (circular folds) จานวนมาก พบการดูดซึมมากที่สุด 3. ชั้น muscularis externa 4. ชั้น serosa (Absorptive cell) 24 Villus ❑ ลักษณะทางจุลกายวิภาคของ ileum (histology of ileum) 1. ชั้น mucosa 1.1 Epithelium ชนิด simple columnar epithelium มีการยกตัวเป็น villi ภายในแกนของ villi พบ lacteal, capillary loop 1.2 Lamina propria -พบ intestinal gland (crypts of Lieberkuhn) สร้าง mucous , CCK, lysozyme 1.3 Muscularis mucosae 2. ชั้น submucosa -พบ plica circulares (circular folds) -พบ Peyer’s patch of ileum 3. ชั้น muscularis externa 4. ชั้น serosa 25 ❑ โครงสร้างของ small intestine ที่ช่วยเพิ่ มพื้ นที่ผิวในการดูดซึม (absorption) 1. Plica circularis 2. Villi 3. Microvilli ❑ หน้าที่ (functions of small intestine) 1. รับ chyme ต่อมาจาก stomach 2. รับ pancreatic enzyme จาก pancreas ผ่านทาง main pancreatic duct 3. รับ bile จาก liver และ gallbladder ผ่านทาง common bile duct 4. หลัง ่ mucous, cholecystokinin (CCK), lysozyme, urogastrone 5. เกิดการย่อยชนิด chemical digestion 6. เกิดการดูดซึมสารอาหาร (nutrient absorption) 26 ความสาคัญทางคลินิก (clinical note): แผลในท่อทางเดินอาหาร (peptic ulcer) ❑ การระคายเคืองของทางเดินอาหารแบบเรื้อรัง (chronic irritation) การกัดกร่อนผนังท่อ ทางเดินอาหาร (erosion) จนทางเดินอาหารทะลุ (perforation) พบบ่อยที่ stomach เรียก gastric ulcers และลาไส้เล็กส่วน duodenum เรียก duodenal ulcers ❑ สาเหตุ (causes) และปัจจัยเสี่ยง (risk factors) -ความไม่สมดุลระหว่าง acidic gastric enzyme และ bicarbonate mucous -กระเพาะอาหารอักเสบ (gastritis) จากการติดเชื้อ bacterium Helicobacter pylori (H. pylori) -ยา NSAID ได้แก่ ibuprofen, aspirin ❑ อาการและอาการแสดง (signs and symptoms) -ปวดแสบร้อนบริเวณลิ้นปี่ (burning pain in the epigastric region) อาการแย่ลงหลังมื้ออาหาร -ท้องอืด (belching) -คลื่นไส้ (nausea) อาเจียน (vomiting) -เลือดออกในทางเดินอาหาร (bleeding) -อุจจาระมีสีดา (dark stools) 27 ท่อทางเดินอาหาร (digestive tract): ลาไส้ใหญ่ (large intestine) ❑ ลักษณะทางมหกายวิภาค (anatomy of large intestine) -ติดต่อระหว่าง ileum ของ small intestine (ileocecal valve) และทวารหนัก (anus), transit time 10-59 h -ยึดกับผนังช่องท้องทางด้านหลัง (posterior abdominal wall) ด้วย mesocolon -แบ่งออกเป็น 5 ส่วน 1. Cecum ลาไส้ใหญ่ส่วนที่เป็นกระเปาะ 2. Vermiform appendix ไส้ติ่ง 3. Colon 3.1 Ascending colon ส่วนขาขึ้น 3.2 Transverse colon ส่วนทอดขวาง 3.3 Descending colon ส่วนขาลง 3.4 Sigmoid colon ส่วนขดคล้ายตัว S 4. Rectum ไส้ตรง 5. Anal canal ช่องทวารหนัก Anus ทวารหนัก 28 ❑ ลักษณะของลาไส้ใหญ่ส่วน colon (characteristics of colon) 1. Taenia coli แถบ smooth muscle จานวน 3 แถบ ในแนวยาว 2. Haustrum กระเปาะระหว่าง taenia coli 3. Fat appendix ติง ่ ไขมัน ❑ Anal canal ช่องทวารหนัก -พบ internal anal sphincter muscle (smooth muscle) และ external anal sphincter muscle (skeletal muscle) วนรอบท่อ -การหดตัวของ external anal sphincter เกิดการกลัน ้ อุจจาระ (inhibits defecation) ❑ หน้าที่ (functions of large intestine) 1. ดูดกลับ water, electrolytes และ vitamins 2. อัดแน่นกากอาหาร (compact undigested/unabsorbed intestinal contents) จนได้อุจจาระ (feces) 3. สร้าง mucous เพื่ อปกป้อง (protection) และหล่อลื่น (lubrication) ผนังของ large intestine 4. กักเก็บอุจจาระ (fecal material) และกาจัดออกโดยการถ่าย อุจจาระ (defecation) 29 ❑ ลักษณะทางจุลกายวิภาค (histology of large intestine) 1. ชั้น mucosa 1.1 Epithelium ชนิด simple columnar epithelium ไม่พบ villi 1.2 Lamina propria -พบ intestinal gland (crypts of Lieberkuhn) ที่มี Goblet cell จานวนมาก สร้าง mucous 1.3 Muscularis mucosae 2. ชั้น submucosa -ไม่พบ plica circularis -พบ lymphatic follicles จานวนมาก ที่ผนังของ vermiform appendix 3. ชั้น muscularis externa 4. ชั้น serosa 30 ความสาคัญทางคลินิก (clinical note): ไส้ติ่งอักเสบ (appendicitis) ❑ สาเหตุ (cause) -เศษอุจจาระ (fecal matter) ตกลงไปอุดกัน ้ appendix ❑ อาการและอาหารแสดง (signs and symptoms) -กดเจ็บ (tenderness) และปวดร้าว (referred pain) ไปยัง right lower quadrant -คลื่นไส้ (nausea) อาเจียน (vomiting) มีไข้ (fever) เม็ดเลือด ขาวเพิ่ มขึ้น (elevated leukocyte count) -ภาวะแทรกซ้อนจากไส้ติ่งแตก (appendix burst) ได้แก่ เยื่อบุ ช่องท้องอักเสบ (peritonitis) ติดเชื้อในกระแสเลือด (sepsis) และเสียชีวิต (death) ❑ การรักษา (treatment) -การผ่าตัดไส้ติ่ง (appendectomy) 31 ความสาคัญทางคลินิก (clinical note): ริดสีดวงทวารหนัก (hemorrhoid) ❑ การขยาย โป่งพอง ของร่างแหหลอดเลือดดา (venous plexus) ในผนังชัน ้ mucosa และ submucosa ของ rectum และ anal canal ❑ สาเหตุ (causes) 1. การเพิ่ มขึ้นของความดันภายในช่องท้อง (increase intra-abdominal pressure) -การตัง ้ ครรภ์ (pregnancy) -ท้องผูกเรื้อรัง (chronic constipation) ่ ห้องน้านานๆ (prolonged toilet sitting) และการออกแรงเบ่ง (straining) -การนัง 2. ภาวะ portal hypertension ในโรคตับแข็ง (cirrhosis) 32 อวัยวะช่วยย่อย (accessory digestive organ): ต่อมน้าลาย (major salivary gland) ❑ ลักษณะทางมหกายวิภาค (anatomy of major salivary glands) 1. Parotid salivary gland -สร้างน้าลาย (saliva) ชนิดเหลวใส (pure serous secretion) 2. Submandibular salivary gland -สร้างน้าลาย (saliva) แบบผสม (mixed seromucous secretion) ทัง ้ ชนิดเหลวใส (serous) และเหนียวข้น (mucous) -serous > mucous secretion 3. Sublingual salivary gland -สร้างน้าลาย (saliva) แบบผสม (mixed seromucous secretion) -serous < mucous secretion 60-70% of saliva ❑ หน้าที่ (function of salivary gland) 1. สร้างน้าลาย (saliva) -ช่วยให้อาหารอ่อนนุ่ม กึ่งเหลวกึ่งแข็ง (moist ingested food) -ช่วยให้ช่องปากมีความชุ่มชื้น (moistens) สะอาด (cleanses) จาก antibacterial lysozyme ในน้าลาย -ย่อย carbohydrates ด้วย amylase ❑ ความสาคัญทางคลินิก (clinical note) คางทูม (mumps) -การติดเชื้อไวรัสแบบเฉียบพลัน (acute viral infection) ที่ parotid salivary gland 33 -ปวด (pain) อักเสบ (inflammation) และบวม (swelling) ที่ parotid salivary gland ❑ ลักษณะทางจุลกายวิภาค (histology of major salivary gland) -ประกอบด้วย capsule และเนื้อต่อม (parenchyma) -เนื้อต่อม (parenchyma) แบ่งออกเป็น ส่วนสร้างน้าลาย (secretory portion หรือ secretory acinus) Serous cells สร้างน้าลายแบบเหลวใส (serous saliva) Mucous cells สร้างน้าลายแบบเหนียวข้น (mucous saliva) ส่วนท่อ (duct portion) ❑ Parotid salivary gland ต่อมชนิด pure serous gland พบ serous cell ชนิดเดียว ❑ Submandibular salivary gland ต่อมชนิด mixed seromucous gland พบทัง ้ serous และ mucous cell โดย serous > mucous cell ❑ Sublingual salivary gland ต่อมชนิด mixed seromucous gland พบทัง ้ serous และ mucous cell โดย serous < mucous cell 34 อวัยวะช่วยย่อย (accessory digestive organ): ตับ (liver) ❑ ลักษณะทางมหกายวิภาค (anatomy of liver) -อวัยวะภายในที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (the largest visceral organ) -พบที่ right upper quadrant -ลักษณะภายนอกของตับ (external morphology of liver) 4 lobes ได้แก่ right lobe, left lobe, caudate lobe, quadrate lobe Portal triad ประกอบด้วย common bile duct, hepatic artery proper, portal vein Hepatic vein Inferior vena cava 35 ❑ ลักษณะทางจุลกายวิภาค (histology of liver) -ประกอบด้วย capsule และเนื้อต่อม (parenchyma) -เนื้อต่อม (parenchyma) ประกอบด้วยหลาย hepatic lobule -Hepatic lobule ประกอบด้วย Hepatic lobule Hepatic plate เซลล์ตับ (hepatocytes) อยู่รวมกันเป็นแถว รอบ central vein Hepatic sinusoid ช่องระหว่าง hepatic plate ❑ หน้าที่ (functions of liver) 1. ควบคุมการเผาผลาญ (metabolic regulation) เก็บสะสมไกลโคเจน Central vein (glycogen storage) 2. หน้าที่ของเซลล์ตับ (hepatocyte) ่ น้าดี (bile) ช่วยการแตกตัวของไขมัน (emulsify fats) -สร้างและหลัง -ขับ bilirubin เข้าสู่น้าดี (bile) ทาให้เกิดสีของน้าดี (bile pigment) -สร้าง plasma protein ได้แก่ albumin, globulin -กาจัด (detoxication) ยา (drugs) ของเสียจากเมแทบอลิซึม (metabolic wastes) Kupffer cell Hepatocyte สารพิ ษ (poisons) Hepatic sinusoid 3. หน้าที่ของ Kupffer cell Hepatic plate -เก็บกินสิ่งแปลกปลอมด้วยวิธี phagocytosis -ทาลายเม็ดเลือดแดงที่เสื่อมสภาพ (aged RBC) ได้สาร bilirubin 36 ❑ การไหลของเลือดในกระบวนการกาจัดสารพิ ษ (detoxication) ภายใน liver Portal vein รวบรวมเลือดดาจากทางเดินอาหาร (digestive tract) มีสารอาหาร (nutrient) สูง แต่มี O2 ต่า Hepatic sinusoid ช่องระหว่าง hepatic plate พบ Kupffer cell Central vein Hepatic vein Inferior vena cava Right atrium 37 อวัยวะช่วยย่อย (accessory digestive organ): ถุงน้าดี (gallbladder) ❑ ลักษณะทางมหกายวิภาค (anatomy of gallbladder) -ถุงทรงรีสีเขียว อยู่ทางด้านหลังค่อนไปทางด้านล่างของ liver -Cystic duct ทางผ่านเข้า-ออกของ bile สู่ gallbladder -Common bile duct เกิดจากการรวมกันของ cystic duct และ common hepatic duct รวบรวม bile จาก gallbladder และ liver นา bile เปิดเข้าสู่ duodenum ผ่านทาง major duodenal papilla ร่วมกับ main pancreatic duct ❑ หน้าที่ (function of gallbladder) เก็บน้าดี (bile storage) Liver ทาให้น้าดีเข้มเข้มขึ้น (concentrates bile) Gallbladder Stomach Colon Pancreas Duodenum 38 ❑ การสร้างและการหลั่งน้าดี (synthesis and secretion of bile) Hepatocytes Bile canaliculi ท่อน้าดีภายในตับ Interlobular biliary duct (intrahepatic biliary tract) Collecting bile duct Hepatic duct (right & left) Common hepatic duct ท่อน้าดีภายนอกตับ (extrahepatic Cystic duct biliary tract) Common bile duct Hepatopancreatic ampulla Major duodenal papilla Duodenum 39 ความสาคัญทางคลินิก (clinical note): นิ่วในถุงน้าดี (gallstones) ❑ พบได้ที่ gallbladder และท่อน้าดีภายนอกตับ (extrahepatic biliary tract) ❑ สาเหตุ (cause) ปริมาณและความเข้มข้นของ bile salts, bile pigments และ cholesterol เพิ่ มมากขึ้นทาให้เกิด solid crystals formation ❑ อาการและอาการแสดง (signs and symptoms) 1. ปวดร้าวไปยังสะบักด้านขวา (right scapula) ไหล่ขวา (right shoulder) 2. ท้องอืด (bloating) ภายหลังรับประทานอาหารที่มีไขมันเป็นองค์ประกอบ (fatty meal) 3. ดีซ่าน (jaundice) ตัวเหลือง ตาเหลือง เนื่องจากไม่สามารถขับ bilirubin ออกไปได้ ❑ การรักษา (treatment) -รับประทานยาสลายนิ่ว (drug administration to dissolve the stones) -ตัดถุงน้าดี (cholecystectomy) 40 อวัยวะช่วยย่อย (accessory digestive organ): ตับอ่อน (pancreas) ❑ ลักษณะทางมหกายวิภาค (anatomy of pancreas) -สัมพั นธ์กับ small intestine ส่วน duodenum และม้าม (spleen) -แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ head, neck, body, tail -พบ main pancreatic duct ขนส่ง pancreatic enzyme เปิดสู่ duodenum ผ่านทาง major duodenal papilla ร่วมกับ common bile duct 41 ❑ ลักษณะทางจุลกายวิภาค (histology of pancreas) -ประกอบด้วย capsule และเนื้อต่อม (parenchyma) Islets of Langerhans -เนื้อต่อม (parenchyma) ประกอบด้วย Pancreatic acini Pancreatic acini Islets of Langerhans ❑ หน้าที่ (functions of pancreas) 1. Pancreatic acini สร้าง pancreatic enzyme ได้แก่ Pancreatic acini lipase (lipids) pancreatic amylase (sugars และ starches) nuclease (nucleic acids) proteinase (protein complexes) peptidase (peptide chains) Islets of Langerhans สร้าง bicarbonate ปรับสภาวะความเป็นกรด (neutralizes pH) 2. Islets of Langerhans สร้างฮอร์โมน (hormone secretion) ได้แก่ insulin และ glucagon ควบคุมระดับน้าตาลในเลือด (blood glucose level) 42 หลอดเลือดของระบบย่อยอาหาร (blood vessels of digestive system): หลอดเลือดแดง (arterial supply) ❑ หลอดเลือดแดง (arterial supply) ที่มาเลี้ยงอวัยวะใน ช่องท้อง (abdominal viscera) ได้มาจาก abdominal aorta 1. Celiac trunk เลี้ยง esophagus, stomach, duodenum (บนต่อรูเปิด ของ major duodenal papilla), liver, gallbladder, pancreas, spleen 2. Superior mesenteric artery เลี้ยง duodenum (ล่างต่อรูเปิดของ major duodenal papilla), jejunum, ileum, cecum, appendix, ascending colon, right 2/3 of transverse colon 3. Inferior mesenteric artery เลี้ยง left 1/3 of transverse colon, descending 43 colon, sigmoid colon, rectum, anal canal หลอดเลือดของระบบย่อยอาหาร (blood vessels of digestive system) การไหลเวียนเลือดดา (venous drainage) ❑ เลือดดาจาก spleen, pancreas, gallbladder และท่อทางเดินอาหาร (gastrointestinal tract) ยกเว้น inferior part of the rectum จะถูกรวบรวมเข้าสู่ portal vein และ detoxication ใน liver ❑ Portal vein เกิดจากการรวมกันของ 1. Splenic vein Inferior mesenteric vein 2. Superior mesenteric vein Portal vein รวบรวมเลือดดาที่มีสารอาหาร (nutrient) สูง แต่มี O2 ต่า Hepatic sinusoids Liver (detoxication) Central vein Hepatic vein Inferior vena cava Right atrium 44 ความสาคัญทางคลินิก (clinical note): ตับแข็ง (liver cirrhosis) ❑ เซลล์ตับ (liver cells หรือ hepatocytes) ถูกทาลายและถูกแทนที่ด้วย fat และ fibrous connective tissue ❑ สาเหตุ (causes) 1. ติดสุราเรื้อรัง (chronic alcoholism) 2. ตับอักเสบเรื้อรัง (chronic hepatitis) ได้แก่ hepatis B, hepatitis C ❑ อาการและอาการแสดง (signs and symptoms) Jaundice 1. ปวดบริเวณ right upper quadrant 2. ความดันใน portal vein สูงขึ้น (portal hypertension) หลอดเลือดดาโป่ง พอง บิดขอด (varicose) การฉีกขาดของหลอดเลือดดาใน lower esophagus และ stomach ริดสีดวงทวารหนัก (hemorrhoids) หลอดเลือดดาบริเวณสะดือโป่งพอง (caput medusa) น้าในช่องท้องมากผิดปกติหรือท้องมาน (ascites) ลาตัว แขน ขาบวม (edema) ม้ามโต (splenomegaly) 3. ดีซ่าน (jaundice) อาการตัวเหลืองตาเหลือง เนื่องจากเซลล์ตับไม่สามารถ uptake และ excrete สาร bilirubin เข้าสู่ bile ทาให้มี bilirubin คัง ่ ในเนื้อเยื่อ 4. ตับโต (hepatomegaly) ❑ การรักษา (treatment) 1. ปลูกถ่ายตับ (liver transplant) 2. ทาทางลัดเลือดจาก portal vein ไปยัง inferior vena cava เรียกว่า portacaval shunt 45 ปฏิบัติการ digestive system Organization of digestive system Accessory digestive organs Digestive tract Salivary gland Oral cavity Pharynx Esophagus Liver Stomach Gallbladder Pancreas Small intestine Large intestine Digestive tract: Oral cavity and associated structures Oral cavity Incisor (central, lateral) Canine Premolar (1st, 2nd) Molar (1st, 2nd, 3rd) Uvula Palate (hard palate, soft palate) Tongue Digestive tract: Pharynx Nasal cavity Palate Nasopharynx Oral cavity Oropharynx Pharynx Laryngopharynx Larynx Digestive tract: Esophagus Mucosa Muscularis mucosae Lamina propria Epithelium Esophagus Lumen Submucosa Muscularis externa Adventitia/Serosa Digestive tract: Stomach Fundus Gastric pit Cardia Body Stomach Gastric gland Rugae Pylorus Digestive tract: Small intestine Common bile duct + main pancreatic duct → hepatopancreatic ampulla →major duodenal papilla Duodenum Liver Main pancreatic duct Arterial arcade (>2) Jejunum Arterial arcade (1-2) Common bile duct Vasa recta Vasa recta Pancreas (longer) (shorter) Ileum Major duodenal papilla Ileocecal valve Plica circularis Plica circularis (Circular fold) (Circular fold) Duodenum Jejunum Ileum Duodenum Digestive tract: Small intestine Plica circularis Jejunum Villi Ileum Ileocecal valve Villi Villi Villi Intestinal gland Intestinal gland (crypt of Lieberkuhn) Intestinal gland Peyer’s patch Brunner’s gland Duodenum Jejunum Ileum Digestive tract: Large intestine Intestinal gland (Crypt of Lieberkuhn) Goblet cell 3.Colon 3.2 Transverse 3.1 Ascending colon colon 3.3 Descending colon Taenia coli Haustrum Fat appendix Ileocecal valve Ileum Colon 1.Cecum Lymphatic follicle 3.4 Sigmoid 2.Appendix colon 4.Rectum Intestinal gland (Crypt of Lieberkuhn) 5.Anal canal (anus) Appendix Accessory digestive organs: Salivary gland Parotid salivary gland Sublingual salivary gland Submandibular salivary gland Serous cell Serous cell Serous cell Mucous cell Mucous cell Parotid Submandibular Sublingual salivary gland salivary gland salivary gland Accessory digestive organs: Liver & Gallbladder Hepatic vein Rt.lobe Lt.lobe Inferior vena cava Lt.lobe Caudate Rt.lobe lobe Portal vein Hepatic artery Common bile duct Quadrate lobe Gallbladder Gallbladder Anterior view Posterior view Hepatic lobule Central vein Accessory digestive organs: Pancreas Spleen Main pancreatic duct Common bile duct Pancreas Pancreas Major duodenal papilla Duodenum Duodenum Islet of Pancreatic Langerhans acinus Pancreatic Islet of acinus Langerhans Blood vessels of digestive system: Artery Abdominal aorta Liver Large intestine Abdominal aorta Stomach Liver Spleen Superior mesenteric artery Celiac trunk Inferior mesenteric artery Pancreas Common iliac artery Superior mesenteric artery Blood vessels of digestive system: Vein Hepatic vein Spleen Portal vein Splenic vein Liver Kidney Superior mesenteric vein Inferior mesenteric vein Inferior vena cava References 59