แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 PDF

Summary

This document is a set of practice questions concerning the Royal Decree on Principles and Procedures for Good Governance B.E. 2546 and subsequent amendments. The questions cover a range of topics related to good governance in Thai administration. The questions are designed to assess knowledge of the subject matter.

Full Transcript

แนวข้ อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ.2546และที่ แก้ ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 1.พระราชกฤษฎีกานี ้ ให้ ไว้ เมื่อใด ก. วันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2546 ข.วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ค.วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ง.วันท...

แนวข้ อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ.2546และที่ แก้ ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 1.พระราชกฤษฎีกานี ้ ให้ ไว้ เมื่อใด ก. วันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2546 ข.วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ค.วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ง.วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ตอบ ข. 2.พระราชกฤษฎีกานี ้ให้ ใช้ บงั คับตังแต่ ้ เมื่อใด ก. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้ นไป ข.วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาหกสิบวัน ค.วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเก้ าสิบวัน ง.วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาหนึง่ ร้ อยยี่สิบวัน ตอบ ก. 3. คาว่า “ข้ าราชการ” หมายถึงข้ อใด ก. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้ วยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่ อยูใ่ นกากับของราชการฝ่ ายบริหาร แต่ไม่รวมถึง องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ข.รัฐวิสาหกิจที่จดั ตังขึ ้ ้นโดยพระราชบัญญัติหรื อพระ ราชกฤษฎีกา ค.พนักงาน ลูกจ้ าง หรื อผู้ปฏิบตั งิ านในส่วนราชการ ง.ไม่มีข้อใดถูก ตอบ ค. 4.ให้ ใครเป็ นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี ้ ก. รัฐมนตรี ข.นายกรัฐมนตรี ค. รองนายกรัฐมนตรี ง.รองรัฐมนตรี ตอบ ข. 5.ข้ อใดกล่าวถูกต้ องเกี่ยวกับ “การบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดี” ก. เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชน ข.เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ ค.มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ง.ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. อธิ บายเพิ่มเติม มาตรา 6 การบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดีได้ แก่ การบริ หารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปนี ้ (1) เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชน (2) เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ (3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (4) ไม่มีขนตอนการปฏิ ั้ บตั งิ านเกินความจาเป็ น (5) มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ ทนั ต่อสถานการณ์ (6) ประชาชนได้ รับการออานวยความสะดวกและได้ รับการตอบสนองความต้ องการ (7) มีการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการอย่างสม่าเสมอ 6.การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน หมายถึงข้ อใด ก. การปฏิบตั ิราชการที่มีเป้าหมายเพื่อให้ เกิดความผาสุกและความเป็ นอยู่ที่ดีของประชาชนความ สงบและปลอดภัยของสังคมส่วนรวม ตลอดจนประโยชน์สงู สุดของประเทศ ข.ประชาชนได้ รับการอานวยความสะดวกและได้ รับการตอบสนองความต้ องการ ค.มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ง.ไม่มีข้อใดถูก ตอบ ก. 7. ในการบริ หารราชการเพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน ส่วนราชการจะต้ องดาเนินการโดยถือว่าประชาชน เป็ นศูนย์กลางที่จะได้ รับการบริการจากรัฐ และจะต้ องมีแนว ทางการบริหารราชการอย่างไร ก. การกาหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้ องเป็ นไปเพื่อวัตถุประสงค์ ข.การปฏิบตั ภิ ารกิจของส่วนราชการต้ องเป็ นไปโดยซื่อสัตย์สจุ ริ ต ค.ก่อนเริ่ มดาเนินการส่วนราชการต้ องจัดให้ มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีและผลเสียให้ ครบถ้ วนทุก ด้ าน ง.ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. อธิ บายเพิ่ม เติม มาตรา 8 ในการบริ หารราชการเพื่ อประโยชน์ สุขของประชาชน ส่วนราชการ จะต้ อ ง ดาเนินการโดยถือว่าประชาชนเป็ นศูนย์กลางที่จะได้ รับการบริ การจากรัฐ และจะต้ องมีแนว ทางการบริหาร ราชการ ดังต่อไปนี ้ (1) การกาหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้ องเป็ นไปเพื่อวัตถุประสงค์ตาม มาตรา ๗ และสอดคล้ อง กับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรี ที่แถลงต่อรัฐสภา (2) การปฏิบตั ิภารกิจของส่วนราชการต้ องเป็ นไปโดยซื่อสัตย์สุจริ ต สามารถ ตรวจสอบได้ และมุ่งให้ เกิด ประโยชน์สขุ แก่ประชาชนทังในระดั้ บประเทศและท้ องถิ่น (3) ก่อนเริ่ มดาเนินการส่วนราชการต้ องจัดให้ มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีและผลเสีย ให้ ครบถ้ วนทุกด้ าน กาหนดขันตอนการด ้ าเนินการที่โปร่งใส มีกลไกตรวจสอบการดาเนินการในแต่ละ ขันตอน ้ ในกรณีที่ภารกิจ ใดจะมีผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้ องดาเนินการรับฟั งความ คิดเห็นของประชาชนหรื อชี ้แจงทา ความเข้ าใจเพื่อให้ ประชาชนได้ ตระหนักถึงประโยชน์ที่สว่ นรวมจะ ได้ รับจากภารกิจนัน้ (4) ให้ เป็ นหน้ าที่ของข้ าราชการที่จะต้ องคอยรับฟั งความคิดเห็นและความพึงพอใจ ของสังคมโดยรวมและ ประชาชนผู้รับบริ การ เพื่อปรับปรุงหรื อเสนอแนะต่อผู้บงั คับบัญชา เพื่อให้ มี การปรับปรุงวิธีปฏิบตั ิราชการ ให้ เหมาะสม (5) ในกรณีที่เกิดปั ญหาและอุปสรรคจากการดาเนินการให้ สว่ นราชการดาเนินการแก้ ไขปั ญหาและอุปสรรค นันโดยเร็ ้ ว ในกรณีที่ปัญหาหรื ออุปสรรคนันเกิ ้ ดขึ ้นจากส่วนราชการอื่นหรื อ ระเบียบข้ อบังคับที่ออกโดย ส่วนราชการอื่น ให้ ส่วนราชการแจ้ งให้ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้ องทราบเพื่อ ดาเนินการแก้ ไขปรับปรุงโดยเร็ ว ต่อไป และให้ แจ้ ง ก.พ.ร. ทราบด้ วย 8.ข้ อใดกล่าวไม่ถกู ต้ องเกี่ยวกับ “การบริ หารราชการเพื่อให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ” ก. ก่อนจะดาเนินการตามภารกิจ ข.การกาหนดแผนปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการ ค.ส่วนราชการต้ องจัดให้ มี การติดตามและประเมิ นผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่สว่ นราชการกาหนดขึ ้น ง.ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. อธิบายเพิ่มเติม มาตรา 9 การบริ หารราชการเพื่อให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ ให้ ส่วน ราชการปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี ้ (1) ก่อนจะดาเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้ องจัดทาแผนปฏิบตั ริ าชการไว้ เป็ นการล่วงหน้ า (2) การกาหนดแผนปฏิบตั ิราชการของส่วนราชการตาม (1) ต้ องมีรายละเอียดของ ขันตอน ้ ระยะเวลาและ งบประมาณที่จะต้ องใช้ ในการดาเนินการของแต่ละขันตอน ้ เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์ ของภารกิจ และตัวชี ้วัดความสาเร็จของภารกิจ (3) ส่วนราชการต้ องจัดให้ มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิตามแผนปฏิบตั ิ ราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่สว่ นราชการกาหนดขึ ้นซึง่ ต้ องสอดคล้ องกับมาตรฐานที่ ก.พ.ร. กาหนด (4) ในกรณีที่การปฏิบตั ิภารกิจ หรื อการปฏิบตั ิตามแผนปฏิบตั ิราชการเกิดผล กระทบต่อประชาชน ให้ เป็ น หน้ าที่ของส่วนราชการที่จะต้ องดาเนินการแก้ ไขหรื อบรรเทาผลกระทบ นัน้ หรื อเปลี่ยนแผนปฏิบตั ิราชการ ให้ เหมาะสม 9.การจัดทาแผนการบริหารราชการแผ่นดินจัดทาเป็ นแผนกี่ปี ก. สามปี ข.สี่ปี ค.ห้ าปี ง.หกปี ตอบ ข. 10.ข้ อใดเป็ นสาระสาคัญในการจัดทาแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ก. เป้าหมาย ข.ผลสัมฤทธิ์ของงาน ค.ผลประโยชน์ของงาน ง.ถูกทังข้ ้ อ ก. และ ข้ อ ข. ตอบ ง. 11.เมื่อสิ ้นปี งบประมาณให้ ส่วนราชการจัดทารายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ ของแผนปฏิบตั ิ ราชการประจาปี เสนอต่อใคร ก.นายกรัฐมนตรี ข.คณะรัฐมนตรี ค.กรมบัญชีกลาง ง.กระทรวงการคลัง ตอบ ข. 12.ให้ ส่วนราชการคานวณรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริ การสาธารณะที่อยู่ในความ รับผิดชอบของส่วน ราชการนันตามระยะเวลาที ้ ่กรมบัญชีกลางกาหนดและรายงานให้ ใคร ก. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ข.สานักงบประมาณ ค.กรมบัญชีกลาง ง.ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. 13.จัดให้ มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบตั ิภารกิจของรัฐที่ส่วน ราชการดาเนินการอยู่ เพื่อรายงาน คณะรัฐมนตรี สาหรับเป็ นแนวทางในการพิจารณาว่าภารกิจใด สมควรจะได้ ดาเนินการต่อไปหรื อยุบเลิก และเพื่อประโยชน์ในการจัดตังงบประมาณของส่ ้ วนราชการ ในปี ต่อไป ทังนี ้ ้ตามระยะเวลาที่คณะรัฐมนตรี กาหนดใครเป็ นคนจัดทา ก. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ข.กรมบัญชีกลาง ค.คณะรัฐมนตรี ง.ไม่มีข้อใดถูก ตอบ ก. 14.ในการจัดซื ้อหรื อจัดจ้ าง ให้ สว่ นราชการดาเนินการโดยเปิ ดเผยและ เที่ยงธรรม โดยพิจารณาถึงข้ อใด ก. ประโยชน์และผลเสียทางสังคม ข.ภาระต่อประชาชน ค.ประโยชน์ระยะยาวของส่วนราชการ ง.ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. 15.ในการปฏิบตั ิภารกิจใด หากส่วนราชการจาเป็ นต้ องได้ รับอนุญาต อนุมตั ิหรื อความเห็นชอบจากส่วน ราชการอื่นตามที่มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ ประกาศ หรื อ มติคณะรัฐมนตรี กาหนดให้ ส่วนราชการที่ มีอานาจอนุญาตอนุมตั หิ รื อให้ ความเห็นชอบดังกล่าว แจ้ ง ผลการพิจารณาให้ ส่วนราชการที่ยื่นคาขอทราบ ภายในกี่วนั นับแต่วนั ที่ได้ รับคาขอ ก. ภายในเจ็ดวัน ข.ภายในสิบสองวัน ค.ภายในสิบห้ าวัน ง.ภายในสามสิบวัน ตอบ ค. 16.การสัง่ ราชการโดยปกติให้ กระทาตามข้ อใด ก. สัง่ ด้ วยวาจา ข.ทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ค.แจ้ งที่ประชุม ง.บันทึกข้ อความ ตอบ ข. 17.ข้ อใดกล่าวถูกต้ องเกี่ยวกับ “การบริ หารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจ ของรัฐ” ก. ให้ ส่วนราชการจัดทาบัญชีต้นทุนในงานบริ ก ารสาธารณะแต่ละประเภท ตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่กรมบัญชีกลางกาหนด ข. ในการจัดซื ้อหรื อจัดจ้ าง ให้ สว่ นราชการดาเนินการโดยเปิ ดเผยและเที่ยงธรรม ค.ในการพิจารณาวินิจฉัยชี ้ขาดปั ญหาใดให้ เป็ นหน้ าที่ของส่วนราชการที่รับผิดชอบในปั ญหานันๆ ้ ง. ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. 18.ข้ อใดกล่าวถูกต้ องเกี่ยวกับ “การกระจายอานาจของส่วนราชการ” ก. ต้ องมุง่ ผลให้ เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการบริ การประชาชน ข.กาหนดหลักเกณฑ์การควบคุม ติดตาม และกากับดูแลการใช้ อานาจและความรับผิดชอบ ค.เผยแพร่ให้ ประชาชนทราบ ง.ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. 19.ในการปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวข้ องกับการบริ การประชาชนหรื อการติดต่อ ประสานงานระหว่างส่วนราชการ ด้ วยกัน ให้ สว่ นราชการแต่ละแห่งจัดทาอะไรบ้ าง ก. แผนภูมิขนตอน ั้ ข.การดาเนินการ ค.ระยะเวลา ง.ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. อธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม มาตรา 29 ในการปฏิ บัติ ง านที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การบริ ก ารประชาชนหรื อ การติ ด ต่ อ ประสานงานระหว่างส่วนราชการด้ วยกัน ให้ ส่วนราชการแต่ละแห่งจัดทาแผนภูมิขนตอนและ ั้ ระยะเวลา การดาเนินการรวมทังรายละเอี ้ ยดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ องในแต่ละขันตอนเปิ ้ ดเผยไว้ ณ.ที่ทาการของส่วนราชการ และในระบบเครื อข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ เพื่อให้ ประชาชนหรื อผู้ที่ เกี่ยวข้ องเข้ าตรวจดูได 20.การยื่นคาร้ องหรื อคาขอต่อศูนย์บริ การ หากมีปัญหาหรื ออุปสรรคในการปฏิบตั ิราชการ ให้ ส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้ อง แจ้ งให้ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ทราบ เพื่อดาเนินการเสนอต่อใคร ก. เจ้ าหน้ าที่ราชการ ข.รัฐมนตรี ค.คณะรัฐมนตรี ง.หัวหน้ าเจ้ าที่ ตอบ ค. 21.จัดให้ ส่วนราชการที่รับผิดชอบดาเนินการเกี่ยวกับการบริ การประชาชนในเรื่ องเดียวกันหรื อ ต่อเนื่องกัน ในจังหวัด อาเภอ หรื อกิ่งอาเภอนันร่ ้ วมกันจัดตังศู้ นย์บริ การร่วมไว้ ณ. ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอาเภอ หรื อที่วา่ การกิ่งอาเภอหรื อสถานที่อื่นตามที่เห็นสมควร โดยประกาศให้ ประชาชน ทราบ ข้ อความขันต้ ้ นเป็ น หน้ าที่ของใคร ก. ผู้วา่ ราชการ ข.นายอาเภอ ค.ปลัดอาเภอ ง.ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. 22.ข้ อใดกล่าวไม่ถกู ต้ องเกี่ยวกับ “การลดขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ าน” ก. เพื่อประโยชน์ในการกระจายอานาจการตัดสินใจตามมาตรา ๒๗ ก.พ.ร. ด้ วยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี จะกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการหรื อแนวทางในการ กระจายอานาจการตัดสินใจ ความ รับผิดชอบระหว่างผู้มอบอานาจและผู้รับมอบอานาจและการลด ขัน้ ตอนในการปฏิ บตั ิราชการให้ ส่วน ราชการถือปฏิบตั กิ ็ได้ ข.ในการปฏิบตั ิงานที่เกี่ ยวข้ องกับการบริ การประชาชนหรื อการติดต่อ ประสานงานระหว่างส่วน ราชการด้ วยกัน ให้ ส่วนราชการแต่ละแห่งจัดทาแผนภูมิ ขนั ้ ตอนและ ระยะเวลา การดาเนินการรวมทัง้ รายละเอียดอื่น ๆ ค.ให้ ส่วนราชการจัดให้ มีการทบทวนภารกิจของตนว่าภารกิจใดมีความ จาเป็ นหรื อสมควรที่จะได้ ดาเนินการต่อไปหรื อไม่ โดยคานึงถึงแผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายของคณะรัฐมนตรี ง.ในกระทรวงหนึ่ง ให้ เป็ นหน้ าที่ของปลัดกระทรวงที่จะต้ องจัดให้ ส่วน ราชการภายในกระทรวงที่ รับผิดชอบปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการบริ การประชาชนร่วมกันจัดตังศู ้ นย์บริ การ ร่วม เพื่ออานวยความสะดวก แก่ประชาชนในการที่จะต้ องปฏิบตั ติ ามกฎหมายหรื อกฎอื่นใด ตอบ ค. 23.กรณี คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ พิจารณาแล้ วเห็นว่าภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการใดรับผิดชอบ ดาเนินการอยูส่ มควรเปลี่ยนแปลง ยกเลิก หรื อเพิ่มเติม ให้ เสนอต่อใคร ก. รัฐมนตรี ข.คณะรัฐมนตรี ค.นายกรัฐมนตรี ง.คณะกรรมการนายกรัฐมนตรี ตอบ ข. 24.ส่วนราชการมีหน้ าที่สารวจตรวจสอบ และทบทวนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ และประกาศ ที่อยูใ่ น ความรับผิดชอบ เพื่อดาเนินการยกเลิก ปรับปรุง หรื อจัดให้ มี กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ หรื อประกาศ ขึ ้นใหม่ ให้ ทนั สมัยและเหมาะสมกับสภาวการณ์หรื อ สอดคล้ องกับความจาเป็ นทางเศรษฐกิจ สังคม และ ความมั่นคงของประเทศ ทัง้ นีโ้ ดยคานึง ถึงความ สะดวกรวดเร็ วและลดภาระของประชาชนเป็ นสาคัญ ข้ อความขันต้ ้ น ให้ สว่ ยราชการนาความคิดเห็นหรื อข้ อเสนอแนะจากใครมาประกอบพิจารณาด้ วย ก. ข้ าราชการ ข.พนักงานราชการ ค.ประชาชน ง.คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ตอบ ค. 25.ในกรณีที่มีการยุบเลิก โอน หรื อรวมส่วนราชการใดทังหมดหรื ้ อ บางส่วน ห้ ามมิให้ จดั ตังส่ ้ วนราชการที่มี ภารกิจหรื ออานาจหน้ าที่ที่มีลกั ษณะเดียวกันหรื อคล้ ายคลึงกัน กับส่วนราชการดังกล่าวขึ ้นอี ก เว้ นแต่มีการ เปลี่ ยนแปลงแผนการบริ ห ารราชการแผ่น ดิน และมี เหตุผล จ าเป็ นเพื่ อ รั ก ษาความมั่น คงของรั ฐ หรื อ เศรษฐกิจของประเทศ หรื อรักษาผลประโยชน์สว่ นรวมของ ประชาชน และโดยได้ รับความเห็นชอบจากใคร ก. ข้ าราชการ ข.คณะรัฐมนตรี ค.ประชาชน ง.คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ตอบ ง. อธิ บ ายเพิ่ ม เติม มาตรา 34 ในกรณี ที่ มี ก ารยุบ เลิ ก โอน หรื อ รวมส่ว นราชการใดทัง้ หมดหรื อ บางส่วน ห้ ามมิให้ จดั ตังส่ ้ วนราชการที่มีภารกิจหรื ออานาจหน้ าที่ที่มีลกั ษณะเดียวกันหรื อคล้ ายคลึงกัน กับ ส่วนราชการดังกล่าวขึ ้นอีก เว้ นแต่มีการเปลี่ยนแปลงแผนการบริ หารราชการแผ่นดิน และมีเหตุผล จาเป็ น เพื่อรักษาความมัน่ คงของรัฐหรื อเศรษฐกิจของประเทศ หรื อรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมของ ประชาชน และ โดยได้ รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 26.ในกรณีที่ส่วนราชการที่ได้ รับการเสนอแนะไม่เห็นชอบด้ วยกับคาเสนอแนะของสานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา ให้ เสนอเรื่ องต่อใครเพื่อพิจารณาวินิจฉัย ก. ข้ าราชการ ข.คณะรัฐมนตรี ค.ประชาชน ง.คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ตอบ ข. 27.ข้ อใดกล่าวถูกต้ องเกี่ยวกับ “การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ” ก. ให้ ส่วนราชการจัดให้ มีการทบทวนภารกิจของตนว่าภารกิจใดมีความ จาเป็ นหรื อสมควรที่จะได้ ดาเนินการต่อไปหรื อไม่ โดยคานึงถึงแผนการบริ หารราชการแผ่นดิน นโยบายของคณะรัฐมนตรี กาลังเงิน งบประมาณของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์ ข.ส่วนราชการมีหน้ าที่สารวจตรวจสอบ และทบทวนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ และประกาศ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ เพื่อดาเนินการยกเลิก ปรับปรุง หรื อจัดให้ มี กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ หรื อ ประกาศขึ ้นใหม่ ให้ ทันสมัยและเหมาะสมกับสภาวการณ์หรื อ สอดคล้ องกับความจาเป็ นทางเศรษฐกิจ สังคม และความมัน่ คงของประเทศ ค.ให้ สว่ นราชการนาความคิดเห็นหรื อข้ อเสนอแนะ ของประชาชนมาประกอบการพิจารณาด้ วย ง. ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. 28.ในการปฏิบตั ิราชการที่เกี่ยวข้ องกับการบริ การประชาชนหรื อติดต่อ ประสานงานระหว่างส่วนราชการ ด้ วยกัน ให้ ส่วนราชการกาหนดระยะเวลาแล้ วเสร็ จของงานแต่ละ งาน และประกาศให้ ประชาชนและ ข้ าราชการทราบเป็ นการทัว่ ไป ข้ อความขันต้ ้ นใครเป็ นผู้ตรวจสอบข้ าราชการปฏิบตั ิงานให้ แล้ วเสร็ จตาม กาหนด ก. ผู้บงั คับบัญชา ข.ข้ าราชการ ค.คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ง.ไม่มีข้อใดถูก ตอบ ก. 29.เมื่อส่วนราชการใดได้ รับการติดต่อสอบถามเป็ นหนังสือจากประชาชน หรื อจากส่วนราชการด้ วยกัน เกี่ ยวกับงานที่ อยู่ในอานาจหน้ าที่ของส่วนราชการนัน้ ให้ เป็ นหน้ าที่ของ ส่วนราชการนัน้ ที่จ ะต้ องตอบ คาถามหรื อแจ้ งการดาเนินการให้ ทราบภายในกี่วนั ก. เจ็ดวัน ข.สิบห้ าวัน ค.สามสิบวัน ง.หกสิบวัน ตอบ ข. 30.ให้ ส่วนราชการจัด ให้ มี ระบบเครื อข่ายสารสนเทศของส่วนราชการเพื่ อ อานวยความสะดวกให้ แ ก่ ประชาชนที่จะสามารถติดต่อสอบถามหรื อขอข้ อมูลหรื อแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับการปฏิบตั ริ าชการของ ส่วนราชการ ระบบเครื อข่ายสารสนเทศต้ องจัดทาให้ ระบบเดียวกับหน่วยงานใด ก. กระทรวงการคลัง ข.กระทรวงกลาโหน ค.กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ง.หน่วยงานราชการ ตอบ ค. 31.ในกรณีการแจ้ งผ่านทางระบบเครื อข่ายสารสนเทศ มิให้ เปิ ดเผยข้ อมูลใด ก. ชื่อของผู้ร้องเรี ยน เสนอแนะ หรื อแสดงความคิดเห็น ข.ที่อยูข่ องผู้ร้องเรี ยน เสนอแนะ หรื อแสดงความคิดเห็น ค.เบอร์ ของผู้ร้องเรี ยน เสนอแนะ หรื อแสดงความคิดเห็น ง.ถูกทังข้้ อ ก. และ ข้ อ ข. ตอบ ง. 32.ในกรณีที่ได้ รับการร้ องเรี ยนหรื อเสนอแนะจากข้ าราชการหรื อส่วนราชการอื่นใน เรื่ องใด ให้ ส่วนราชการ ที่ออกกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ หรื อประกาศนันพิ้ จารณาโดยทันที ในกรณีที่ เห็นว่าการร้ องเรี ยนหรื อเสนอแนะ นันเกิ ้ ดจากความเข้ าใจผิดหรื อความไม่เข้ าใจในกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ หรื อประกาศ ให้ ชี ้แจงให้ ผ้ รู ้ องเรี ยน หรื อเสนอแนะทราบภายในกี่วนั ก. เจ็ดวัน ข.สิบห้ าวัน ค.สามสิบวัน ง.หกสิบวัน ตอบ ข. 33.มาตรา ๔๓ การปฏิบตั ริ าชการในเรื่ องใดๆ โดยปกติให้ ถือว่าเป็ นเรื่ องเปิ ดเผย เว้ น แต่กรณีใด ก. ความจาเป็ นอย่างยิ่งเพื่อประโยชน์ในการรักษาความมัน่ คงของประเทศ ข.ความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ ค.การรักษาความสงบเรี ยบร้ อยของประชาชน ง.ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. 34.ข้ อใดกล่าวถูกต้ องเกี่ยวกับ “การเปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับงบประมาณรายจ่าย แต่ละปี ” ก. สัญญา ๆ ที่ ได้ มีการอนุมตั ใิ ห้ จดั ซื ้อหรื อจัดจ้ างแล้ ว ให้ ประชาชนสามารถขอดูหรื อตรวจสอบได้ ข.รายการเกี่ยวกับการจัดซื ้อหรื อจัดจ้ างที่จะดาเนินการในปี งบประมาณนัน้ ให้ ประชาชนสามารถ ขอดูหรื อตรวจสอบได้ ค.ในการจัด ท าสัญ ญาจัด ซื อ้ หรื อ จัด จ้ า ง ห้ า มมิ ใ ห้ มี ข้ อ ความหรื อ ข้ อ ตกลงห้ า มมิ ใ ห้ เปิ ดเผย ข้ อความหรื อข้ อตกลงในสัญญา ง. ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. 35.ให้ ส่วน ราชการจัดให้ มีคณะผู้ประเมินอิสระดาเนินการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของส่วนราชการ เกี่ยวกับ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการให้ บริ การ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริ การ ความคุ้มค่า ใน ภารกิจ ทังนี ้ ้ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และระยะเวลาที่ใคร กาหนด ก. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ข.ผู้บงั คับบัญชากาหนด ค.คณะรัฐมนตรี กาหนด ง.ข้ าราชการกาหนด ตอบ ก. อธิบายเพิ่มเติม มาตรา 45 นอกจากการจัดให้ มีการประเมินผลตามมาตรา 9 (3) แล้ ว ให้ ส่วน ราชการจัดให้ มีคณะผู้ประเมินอิสระดาเนินการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับ ผลสัม ฤทธิ์ ของภารกิ จ คุณภาพการให้ บริ การ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริ การ ความคุ้ม ค่าใน ภารกิจ ทังนี ้ ้ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กาหนด 36.ส่วนราชการอาจจัดให้ มี การประเมินภาพรวมของผู้บังคับบัญชาแต่ละ ระดับหรื อหน่วยงานในส่วน ราชการก็ได้ ทังนี ้ ้การประเมินดังกล่าวต้ องกระทาเป็ นแบบใด ก.ต้ องเป็ นความลับ ข.เพื่อประโยชน์แห่งความสามัคคีของราชการ ค.ต้ องเปิ ดเผยให้ ประชาชนรับทราบ ง.ถูกทังข้ ้ อ ก. และ ข้ อ ข. ตอบ ง. อธิบายเพิ่มเติม มาตรา 46 ส่วนราชการอาจจัดให้ มีการประเมินภาพรวมของผู้บงั คับบัญชาแต่ละ ระดับ หรื อหน่วยงานในส่วนราชการก็ ไ ด้ ทัง้ นี ก้ ารประเมินดัง กล่าวต้ องกระทาเป็ นความลับและ เป็ นไปเพื่ อ ประโยชน์แห่งความสามัคคีของข้ าราชการ 37.ข้ อใดกล่าวถูกต้ องเกี่ยวกับ “การประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ" ก. ในการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของข้ าราชการเพื่อประโยชน์ในการ บริ หารงานบุคคล ให้ ส่วน ราชการประเมินโดยคานึงถึงผลการปฏิบตั ิงานเฉพาะตัวของข้ าราชการผู้นนั ้ ในตาแหน่งที่ปฏิบตั ิประโยชน์ และผลสัมฤทธิ์ที่หน่วยงานที่ข้าราชการผู้นนสั ั ้ งกัดได้ รับจากการ ปฏิบตั งิ านของข้ าราชการผู้นนั ้ ข.ในกรณีที่ส่วนราชการใดดาเนินการให้ บริ การที่มีคณุ ภาพและเป็ นไป ตามเป้าหมายที่กาหนด รวมทังเป็ ้ นที่พึงพอใจแก่ประชาชน ให้ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เสนอคณะรัฐมนตรี จดั สรรเงิน เพิ่มพิเศษเป็ นบาเหน็จความชอบแก่ส่วนราชการหรื อให้ ส่ว นราชการใช้ เงินงบประมาณเหลือจ่ายของ ส่วน ราชการนัน้ เพื่อนาไปใช้ ในการปรับปรุงการปฏิบตั ิงานของส่วนราชการหรื อจัดสรรเป็ นรางวัลให้ ข้ าราชการ ในสังกัด ค.เมื่อส่วนราชการใดได้ ดาเนินงานไปตามเป้าหมาย สามารถเพิ่มผลงาน และผลสัมฤทธิ์ โดยไม่ เป็ นการเพิ่มค่าใช้ จ่ายและคุ้มค่ าต่อภารกิจของรัฐหรื อสามารถดาเนินการตาม แผนการลดค่าใช้ จ่ายต่อ หน่วยได้ ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ.ร. กาหนดให้ คณะกรรมการพัฒ นาระบบราชการ เสนอคณะรั ฐ มนตรี จัดสรรเงินรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพให้ แก่ส่วนราชการนัน้ หรื อให้ ส่วนราชการใช้ เงินงบประมาณ เหลือ จ่ายของส่วนราชการนัน้ ง. ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. 38.ให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นจัดทาหลักเกณฑ์การบริ หารกิจการ บ้ านเมืองที่ดีตามแนวทางของพระ ราชกฤษฎีกานี ้โดยอย่างน้ อยต้ องมีอะไรบ้ าง ก. มีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการลด ขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ าน ข.การอานวยความสะดวกให้ แก่ของประชาชน ค.การตอบสนองความต้ องการของประชาชน ง.ถูกทุกข้ อ ตอบ ง. 39.จากข้ อ 38 ให้ เป็ นหน้ าที่ของใครดูแลและให้ ความช่วยเหลือองค์กรปกครองส่วน ท้ องถิ่นในการจัดทา หลักเกณฑ์ ก. กระทรวงมหาดไทย ข.กระทรวงการคลัง ค.กระทรวงกลาโหน ง.กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตอบ ก. อธิ บายเพิ่ม เติม มาตรา 52 ให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่ นจัดทาหลักเกณฑ์ การบริ หารกิ จการ บ้ านเมืองที่ดีตามแนวทางของพระราชกฤษฎีกานี ้โดยอย่างน้ อยต้ องมีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการลด ขันตอน ้ การปฏิบตั ิงาน และการอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้ องการของประชาชนที่ สอดคล้ อง กับบทบัญญัตใิ นหมวด 5 และหมวด 7 ให้ เป็ นหน้ าที่ของกระทรวงมหาดไทยดูแลและให้ ความช่วยเหลือองค์กรปกครองส่วน ท้ องถิ่นใน การจัดทาหลักเกณฑ์ตามวรรคหนึง่ 40.องค์กรใดจัดให้ มีหลักเกณฑ์การบริหารกิจการ บ้ านเมืองที่ดีตามแนวทางของพระราชกฤษฎีกานี ้ ก.มหาชน ข.รัฐวิสาหกิจ ค.ประชาชน ง.ถูกทังข้ ้ อ ก. และ ข้ อ ข. ตอบ ง. แนวข้ อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และที่ แก้ ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 2. ข้ อ 1. ส่วนราชการต่างๆ จะต้ องจัดทาบัญชีต้นทุนในงานบริ การสาธารณะ เพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์การ บริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดีในเรื่ องใด ก. เพื่อให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ ข. เพื่อให้ มีประสิทธิภาพและเกิดความค้ ุุมค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ค. เพื่อลดขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ าน ง. เพื่อปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ข้ อ 2. ในวาระเริ่มแรก แผนปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการมีระยะเวลากี่ปีตามกฎหมายใหม่ ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 5 ปี ง. 6 ปี ข้ อ 3. แผนปฏิบตั ริ าชการตามข้ อ 2. มีห้วงระยะเวลาตามข้ อใด ก. ปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 ข. ปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึงปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ค. ปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึงปี งบประมาณ พ.ศ. 2567 ง. ปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึงปี งบประมาณ พ.ศ. 2569 ข้ อ 4. การปฏิบตั ิราชการที่มีเป้าหมายเพื่อให้ เกิดความผาสุกและความเป็ นอยู่ที่ดีของประชาชน ความสงบ และปลอดภัยของสังคมส่วนรวม ตลอดจนประโยชน์สงู สุดของประเทศ เป็ นความหมายตามข้ อใด ก. ประชาชนได้ รับการอานวยความสะดวกและได้ รับตอบสนองความต้ องการ ข. ประชาชนเป็ นศูนย์กลาง ค. การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน ง. การบริหารราชการแบบบูรณาการ ข้ อ 5. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มี ผลใช้ บงั คับตังแต่ ้ เมื่อใด ก. วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 ข. วันที่ 1 มิถนุ ายน 2562 ค. วันที่ 1 กรกฎาคม 2562 ง. วันที่ 1 สิงหาคม 2562 ข้ อ 6. ส่วนราชการจะต้ องเสนอแผนปฏิบตั ริ าชการประจาปี ให้ บคุ คลใดให้ ความเห็นชอบ ก. ปลัดกระทรวง ข. รัฐมนตรี ค. สานักงบประมาณ ง. คณะรัฐมนตรี ข้ อ 7. กรณีตามข้ อใดซึง่ สานักงบประมาณมีอานาจพิจารณาไม่จดั สรรงบประมาณให้ แก่ส่วนราชการ ก. ส่วนราชการมิได้ จดั ทาแผนปฏิบตั ริ าชการ ข. ส่วนราชการมิได้ เสนอแผนปฏิบตั ริ าชการ ค. รัฐมนตรี ไม่เห็นชอบกับภารกิจที่สว่ นราชการเสนอ ง. ถูกทุกข้ อ ข้ อ 8. รายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบตั ริ าชการประจาปี จะต้ องเสนอต่อบุคคลใด ก. รัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี ค. ก.พ.ร. ง. นายกรัฐมนตรี ข้ อ 9. กรณี น ายกรั ฐ มนตรี ค นใหม่ สั่ง การให้ ส่ว นราชการสรุ ป ผลการปฏิ บัติร าชการและให้ ข้ อ มูล ต่อ นายกรัฐมนตรี นนั ้ มีวตั ถุประสงค์ตามข้ อใด ก. ตรวจสอบ ข. ถ่วงดุล ค. กากับดูแล ง. กาหนดนโยบาย ข้ อ 10. บุคคลใดรักษาการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรี ค. เลขาธิการ ก.พ.ร. ง. ผู้อานวยการสานักงบประมาณ ข้ อ 11. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับการสัง่ ราชการ ก. โดยปกติทาเป็ นคาสัง่ ข. โดยปกติสงั่ ราชการด้ วยวาจา ค. โดยปกติทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ง. โดยปกติสงั่ ด้ วยวาจาหรื อลายลักษณ์อกั ษรก็ได้ ข้ อ 12. ข้ อใดไม่ถกู ต้ องเกี่ยวกับความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ก. การประเมินความคุ้มค่าให้ คานึงถึงประโยชน์ที่ประชาชนจะพึงได้ รับ ข. ประโยชน์ทางสังคมซึง่ ไม่อาจคานวณเป็ นตัวเงินได้ ยอ่ มมิใช่ความคุ้มค่า ค. ในการจัดซื ้อจัดจ้ างส่วนราชการไม่ต้องถือราคาต่าสุดเสมอไป ง. กรณีที่ส่วนราชการไม่ต้องถือราคาต่าสุดในการจัดซื ้อจัดจ้ างโดยต้ องคานึงถึงวัตถุประสงค์การ ใช้ งานเป็ นสาคัญ ข้ อ 13. กรณี ส่วนราชการจะปฏิบตั ิภารกิจใดจะต้ องได้ รับอนุญาตจากส่วนราชการอื่นตามกฎหมายนัน้ ส่วนราชการที่มีอานาจอนุญาตจะต้ องแจ้ งผลการพิจารณาภายในกี่วนั ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 60 วัน ข้ อ 14. จากคาถามในข้ อ 13 กรณีเรื่ องใดกฎหมายกาหนดขันตอนการปฏิ ้ บัติซึ่งจะต้ องใช้ ระยะเวลาเกิน กว่านัน้ จะต้ องดาเนินการอย่างไร ก. ส่วนราชการที่มีอานาจอนุญาต จะต้ องประกาศกาหนดระยะเวลาการพิจารณา ข. ส่วนราชการที่มีอานาจอนุญาต จะต้ องลดเวลาการพิจารณาลง ค. ไม่ต้องประกาศกาหนดหรื อลดเวลาการพิจารณาแต่อย่างใด เพราะระยะเวลาจะต้ องยึดตาม กฎหมายเป็ นหลัก ง. ไม่มีข้อใดถูกต้ อง ข้ อ 15. จากข้ อ 13 และข้ อ 14 กรณีส่วนราชการที่มีอานาจอนุญาต ไม่ได้ ดาเนินการให้ เสร็ จจนเกิดความ เสียหายขึ ้น บทสันนิษฐานของกฎหมายคือข้ อใด ก. ให้ ถือว่าข้ าราชการที่เกี่ยวข้ องประมาทเลินเล่อ ข. ให้ ถือว่าหัวหน้ าส่วนราชการประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง ค. ให้ ถือว่าหัวหน้ าส่วนราชการประมาทเลินเล่อ ง. ข้ อ ก. และ ค. ถูกต้ อง ข้ อ 16. การดาเนินการโดยถือว่าประชาชนเป็ นศูนย์กลางที่จะได้ รับการบริ การจากรัฐ เป็ นเป้าหมายการ บริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดีด้านใด ก. ประชาชนได้ รับการอานวยความสะดวก ข. ประชาชนได้ รับการตอบสนองความต้ องการ ค. ทังข้ ้ อ ก. และ ข. ง. เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชน ข้ อ 17. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มีผลใช้ บงั คับ ตังแต่ ้ เมื่อใด ก. วันที่ 9 ตุลาคม 2546 ข. วันที่ 10 ตุลาคม 2546 ค. วันที่ 9 ตุลาคม 2547 ง. วันที่ 10 ตุลาคม 2547 ข้ อ 18. หน่วยงานใด ถือเป็ นส่วนราชการตามพระราชกฤษฎีกานี ้ ก. หน่วยงานในกากับของกระทรวง ข. รัฐวิสาหกิจที่จดั ตังตามพระราชบั ้ ญญัติ ค. รัฐวิสาหกิจที่จดั ตังตามพระราชกฤษฎี ้ กา ง. องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ข้ อ 19. "การกาหนดเป้าหมาย แผนการทางาน ระยะเวลาแล้ วเสร็ จ งบประมาณ และเผยแพร่ให้ ทราบทัว่ กัน" ถือเป็ นหลักเกณฑ์การบริหารราชการเกี่ยวกับเรื่ องใด ก. ประโยชน์สดุ ข. อานวยความสะดวก ค. ผลสัมฤทธิ์ ง. ประสิทธิภาพ ข้ อ 20. ผู้ใดมีหน้ าที่จดั ให้ มีศนู ย์บริการร่วมในกระทรวง ก. ปลัดกระทรวง ข. หัวหน้ ากลุม่ ภารกิจ ค. ผู้ตรวจราชการกระทรวง ง. ผู้ตรวจราชการกรม ข้ อ 21. การกระจายอานาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการอนุญาต อนุมตั ิ การปฏิบตั ิร าชการ จัดอยูใ่ นเป้าหมาย ใด ก. ประโยชน์สขุ ของประชาชน ข. ไม่มีขนตอนการปฏิ ั้ บตั งิ านเกินความจาเป็ น ค. ประชาชนได้ รับการตอบสนองความต้ องการ ง. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ ทนั ต่อสถานการณ์ ข้ อ 22. การกระจายอานาจการตัดสินใจตามข้ อ 21 มิได้ มงุ่ ผลในด้ านใด ก. สะดวก ข. รวดเร็ว ค. คุ้มค่า ง. ไม่มีข้อถูก ข้ อ 23. การยกเลิก ปรับปรุง หรื อเปลี่ยนแปลงภารกิจเป็ นอานาจของบุคคลใดให้ ความเห็นชอบ ก. ก.พ.ร. ข. รมต. ค. ครม. ง. กพ. ข้ อ 24. เหตุผลและความจาเป็ นในข้ อใดที่ใช้ ประกอบการจัดตังส่ ้ วนราชการที่มีภารกิจลักษณะเดียวกันกับ ส่วนราชการที่มีการยุบ เลิก โอน หรื อรวมส่วนราชการไปแล้ วขึ ้นใหม่ ก. รักษาความมัน่ คงของรัฐ ข. รักษาความมัน่ คงของเศรษฐกิจ ค. รักษาผลประโยชน์สว่ นรวมของประชาชน ง. ถูกทุกข้ อ ข้ อ25. จากข้ อ 24 จะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากบุคคลใด ก. ก.พ.ร. ข. สานักงบประมาณ ค. รัฐมนตรี ง. คณะรัฐมนตรี ข้ อ 26. บทบัญญัติตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 แบ่งออกเป็ นกี่หมวด ก. 7 หมวด ข. 8 หมวด ค. 9 หมวด ง. 10 หมวด ข้ อ 27. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับศูนย์บริการร่วม ก. การยื่นคาร้ องต่อศูนย์บริ การร่วม ถือว่าเป็ นการยื่นต่อส่วนราชการที่เกี่ยวข้ องตามกฎหมายแล้ ว ข. ให้ ประชาชนติดต่อเจ้ าหน้ าที่เพียงแห่งเดียว ค. มีเจ้ าหน้ าที่รับเรื่ องราวและส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องดาเนินการต่อไป ง. ถูกทุกข้ อ ข้ อ 28. กรณีสว่ นราชการที่ได้ รับการเสนอแนะให้ ดาเนินการแก้ ไข ปรับปรุง หรื อยกเลิกกฎหมาย ไม่เห็นด้ วย กับคาเสนอแนะ จะต้ องเสนอเรื่ องให้ บคุ คลใดพิจารณาวินิจฉัย ก. คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย ข. คณะกรรมการกฤษฎีกา ค. คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ง. คณะรัฐมนตรี ข้ อ 29. กรณีส่วนราชการมิได้ กาหนดระยะเวลาแล้ วเสร็ จของงานใดไว้ หรื อกาหนดไว้ แต่เป็ นระยะเวลาที่ ล่าช้ าเกินสมควร กฎหมายให้ อานาจบุคคลสามารถกาหนดเวลาแล้ วเสร็จให้ ส่วนราชการนันปฏิ ้ บตั ไิ ด้ ก. กพ. ข. กพค. ค. ก.พ.ร. ง. ครม. ข้ อ 30. ส่วนราชการมีหน้ าที่ตอบคาถามหรื อแจ้ งการดาเนินการตามที่ได้ รับการติดต่อสอบถามเป็ นหนังสือ จากประชาชน ภายในกี่วนั ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 60 วัน ข้ อ 31. ข้ อยกเว้ นในข้ อใด ถือเป็ นการปฏิบตั ริ าชการ ก. คุ้มครองสิทธิสว่ นบุคคล ข. รักษาความสงบเรี ยบร้ อยของประชาชน ค. รักษาความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ ง. ถูกทุกข้ อ ข้ อ 32. ปั จจัยใดอาจทาให้ สว่ นราชการได้ รับการจัดสรรเงินเพิ่มพิเศษเป็ นบาเหน็จความชอบ ก. ให้ บริการที่มีคณ ุ ภาพ ข. สร้ างความเป็ นธรรมแก่ประชาชน ค. บูรณาการการทางาน ง. ประหยัดรายจ่ายได้ สงู สุด ข้ อ 33. องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นต้ องจัดทาหลักเกณฑ์การบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดีตามแนวทางพระ ราชกฤษฎีกานี ้ในเรื่ องใด ก. การลดขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ าน ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ ค. เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชน ง. เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ข้ อ 34. จากข้ อ 33 บุคคลใดมีหน้ าที่ดแู ลให้ ความช่วยเหลือในการจัดทาหลักเกณฑ์ดงั กล่าว ก. กรมส่งเสริมการปกครองท้ องถิ่น ข. กระทรวงมหาดไทย ค. ก.พ.ร. ง. ครม. ข้ อ 35. แพลตฟอร์ มดิจิทลั กลางเพื่อบริการประชาชนขับเคลื่อนโดยองค์กรใด ก. สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ข. สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทลั ค. สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทลั (องค์การมหาชน) ง. สานักงานคณะกรรมการดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ข้ อ 36. วัตถุประสงค์หลักของการบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดีมีกี่ประการ ก. 5 ข. 6 ค. 7 ง. 8 ข้ อ 37. "ข้ าราชการมีหน้ าที่คอยรับฟั งความคิดเห็นและความพึงพอใจ ของสังคมโดยรวมและประชาชน ผู้รับบริการ" จากข้ อความดังกล่าว ข้ อใดไม่ถกู ต้ อง ก. เป็ นแนวทางการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน ข. เพื่อให้ มีการปรับปรุงวิธีปฏิบตั ริ าชการให้ เหมาะสม ค. เป็ นการลดขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ าน ง. เพื่อปรับปรุงหรื อเสนอแนะต่อผู้บงั คับบัญชา ข้ อ 38. ข้ อใดมิใช่วิธีการบริ หารราชการให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ ก. สร้ างวิสยั ทัศน์ของข้ าราชการ ข. สร้ างองค์การแห่งการเรี ยนรู้อย่างสม่าเสมอ ค. ประยุกต์ใช้ ข้อมูลข่าวสารได้ อย่างถูกต้ องและเหมาะสม ง. ผิดทุกข้ อ ข้ อ 39. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับการพิจารณาวินิจฉัยชี ้ขาดปั ญหา ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ก. แต่งตังกรรมการพิ ้ จารณาวินิจฉัยปั ญหาเมื่อมีความจาเป็ นโดยไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ข. มติคณะกรรมการมีผ ลผูกพันส่วนราชการซึ่งมี ผ้ ูแทนร่ วมเป็ นกรรมการ แม้ จ ะไม่เข้ าร่ วมพิจารณา วินิจฉัยก็ตาม ค. กรณีมีความเห็นแตกต่างกันสองฝ่ าย ให้ บนั ทึกความเห็นของคณะกรรมการฝ่ ายข้ างน้ อยไว้ ให้ ปรากฏ ในเรื่ องนันด้ ้ วย ง. ถูกทุกข้ อ ข้ อ 40. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับการจัดซื ้อจัดจ้ างของส่วนราชการ ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ก. ต้ องพิจารณาถึงประโยชน์และผลเสียทางสังคม ข. โดยหลักจะต้ องเปิ ดเผยรายการเกี่ยวกับการจัดซื ้อจัดจ้ างที่จะดาเนินการในปี งบประมาณนันๆ ้ ค. หากจาเป็ นต้ องคานึงถึงคุณภาพและการดูแลรักษาเป็ นสาคัญ จึงไม่ต้องถือราคาต่าสุดในการซื ้อเสมอ ไป ง. ถูกทุกข้ อ เฉลย ข้ อ 1 ตอบ ข. การจัดทาบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะ กาหนดไว้ ในมาตรา 21 หมวด 4 การบริ หาร ราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ข้ อ 2 ตอบ ข. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 9 กาหนดว่า ในวาระเริ่มแรก การจัดทาแผนปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการ 5 ปี ให้ จดั ทาเป็ น แผน 3 ปี โดยมีห้วงระยะเวลาตังแต่ ้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึงปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้ อ 3. ตอบ ข. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 9 กาหนดว่า ในวาระเริ่มแรก การจัดทาแผนปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการ 5 ปี ให้ จดั ทาเป็ น แผน 3 ปี โดยมีห้วงระยะเวลาตังแต่ ้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึงปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้ อ 4. ตอบ ค. ดูมาตรา 7 ข้ อ 5. ตอบ ก. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริห ารกิจการบ้ านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ประกาศในราชกิ จ จานุเ บกษา เล่ม 136/ตอนที่ 56 ก/หน้ า 253/30 เมษายน 2562 โดยมาตรา 2 กาหนดให้ ใช้ บงั คับตังแต่ ้ วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้ นไป ข้ อ 6. ตอบ ข. รัฐมนตรี ตามมาตรา 16 วรรคสอง ข้ อ 7. ตอบ ง. ถูกทุกข้ อ ตามมาตรา 16 วรรคสาม ข้ อ 8. ตอบ ข. คณะรัฐมนตรี ตามมาตรา 16 วรรคท้ าย ข้ อ 9. ตอบ ง. มาตรา 19 เพื่อนายกรัฐมนตรี คนใหม่จะได้ ใช้ เป็ นข้ อมูลในการพิจารณากาหนดนโยบาย การบริหารราชการแผ่นดินต่อไป ข้ อ 10. ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 5 ข้ อ 11. ตอบ ค. โดยปกติทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ตามมาตรา 26 ข้ อ 12. ตอบ ข. ความคุ้มค่า รวมถึงกรณีที่ไม่อาจคานวณเป็ นตัวเงินได้ ด้วย ตามมาตรา 22 วรรคท้ าย ข้ อ 13. ตอบ ข. 15 วัน ตามมาตรา 24 วรรคหนึง่ ข้ อ 14. ตอบ ก. ต้ องประกาศกาหนดระยะเวลาการพิจารณาไว้ ให้ ส่วนราชการอื่ นทราบ ตามมาตรา 24 วรรคสอง ข้ อ 15. ตอบ ข. ให้ ถือว่า หัวหน้ าส่วนราชการประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง ตามมาตรา 24 วรรคท้ าย ข้ อ 16. ตอบ ง. การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน ตามมาตรา 8 วรรคหนึง่ ข้ อ 17. ตอบ ข. วันที่ 10 ตุลาคม 2546 ตามมาตรา 2 ข้ อ 18. ตอบ ก. ตามมาตรา 4 "ส่วนราชการ" ข้ อ 19. ตอบ ง. การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ ตามมาตรา 20 ข้ อ 20. ตอบ ก. ปลัดกระทรวง ตามมาตรา 30 ข้ อ 21. ตอบ ข. ตามมาตรา 27 ข้ อ 22. ตอบ ค. ตามมาตรา 27 วรรคหนึง่ ข้ อ 23. ตอบ ค. ครม. ตามมาตรา 33 วรรคสาม ข้ อ 24. ตอบ ง. ตามมาตรา 34 ข้ อ 25. ตอบ ก. ก.พ.ร. ตามมาตรา 34 ข้ อ 26. ตอบ ค. 9 หมวด ข้ อ 27. ตอบ ง. ตามมาตรา 30 และมาตรา 31 ข้ อ 28. ตอบ ง. คณะรัฐมนตรี ตามมาตรา 36 วรรคท้ าย ข้ อ 29. ตอบ ค. ก.พ.ร. ตามมาตรา 37 วรรคหนึง่ ข้ อ 30. ตอบ ข. 15 วัน ตามมาตรา 38 ข้ อ 31. ตอบ ง. ถูกทุกข้ อ ตามมาตรา 43 ข้ อ 32. ตอบ ก. ให้ บริการที่มีคณ ุ ภาพ ตามมาตรา 48 ข้ อ 33. ตอบ ก. ลดขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ าน ตามมาตรา 52 วรรคหนึง่ ข้ อ 34. ตอบ ข. กระทรวงมหาดไทย ตามมาตรา 52 วรรคท้ าย ข้ อ 35. ตอบ ค. สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทลั (องค์การมหาชน) ตามมาตรา 29 วรรคท้ าย ประกอบกับ มาตรา 10 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2562) ข้ อ 36. ตอบ ค. 7 ประการ ตามมาตรา 6 ข้ อ 37. ตอบ ค. มาตรา 8 (4) การรับฟั งความคิดเห็นและความพึงพอใจของผู้รับบริ การ มิใช่เรื่ องการลด ขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ าน ข้ อ 38. ตอบ ง. มาตรา 11 ข้ อ 39. ตอบ ง. มาตรา 25 ข้ อ 40. ตอบ ง. มาตรา 23 และมาตรา 44 แนวข้ อสอบ กพ : พรฎ.วิธีการบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ชุด 3. 1. ข้ อใดคือ การบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดี 1. ก่อนเริ่มดาเนินการ ส่วนราชการต้ องจัดให้ มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีและผลเสียให้ ครบถ้ วนทุกด้ า 2. ไม่มีขนตอนการปฏิ ั้ บตั งิ านเกินความจาเป็ น 3. ก่อนจะดาเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้ องจัดทาแผนปฏิบตั ริ าชการไว้ เป็ นการล่วงหน้ า 4. กาหนดเป้าหมาย แผนการทางาน ระยะเวลาแล้ วเสร็จของงานหรื อโครงการ 2. ข้ อใดเป็ น การบริหารราชการเพื่อให้ เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชน 1. การปฏิบตั ภิ ารกิจของส่วนราชการต้ องเป็ นไปโดยซื่อสัตย์สจุ ริต สามารถตรวจสอบได้ 2. มีการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการอย่างสม่าเสมอ 3. ประชาชนได้ รับการอานวยความสะดวกและได้ รับการตอบสนองความต้ องการ 4. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ ทนั ต่อสถานการณ์ 3. ข้ อใดไม่ใช่ การบริ หารราชการเพื่อให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ 1. ส่วนราชการต้ องจัดให้ มี การติด ตามและประเมิ นผลการปฏิ บัติตามแผนปฏิ บัติร าชการตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่สว่ นราชการกาหนดขึ ้น ซึง่ ต้ องสอดคล้ องกับมาตรฐานที่ ก.พ.ร. กาหนด 2. ก่อนจะดาเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้ องจัดทาแผนปฏิบตั ริ าชการไว้ เป็ นการล่วงหน้ า 3. การปฏิบตั ิภารกิจของส่วนราชการต้ องเป็ นไปโดยซื่อสัตย์สจุ ริ ต สามารถตรวจสอบได้ และมุ่งให้ เกิดประโยชน์สขุ แก่ประชาชนทังในระดั ้ บประเทศและท้ องถิ่น 4. ในกรณีที่การปฏิบตั ิภารกิจ หรื อการปฏิบตั ติ ามแผนปฏิบตั ิราชการเกิดผลกระทบต่อประชาชน ให้ เป็ นหน้ าที่ของส่วนราชการที่จะต้ องดาเนินการแก้ ไขหรื อบรรเทาผลกระทบนัน้ 4. การบริ หารราชการอย่างมีประสิทธิ ภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ให้ ส่วนราชการต้ อง ดาเนินการ ยกเว้ นข้ อใด 1. กาหนดเป้าหมาย 2. แผนการทางาน 3. จัดทาบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะ 4. ระยะเวลาแล้ วเสร็จของงานหรื อโครงการ 5. ข้ อใดไม่ใช่สิ่งที่่ ต้ องคานึงถึง ในการปรั บปรุ งภารกิ จของส่วนราชการว่าภารกิ จใดมีความจาเป็ น หรื อ สมควรที่จะได้ ดาเนินการต่อไปหรื อไม่ 1. ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อื่นประกอบกัน 2. แผนการบริหารราชการแผ่นดิน 3. กาลังเงินงบประมาณของประเทศ 4. ยุทธศาสตร์ ชาติ 6. การประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ ให้ ส่วนราชการจัดให้ มีคณะผู้ประเมินอิสระดาเนินการประเมินผลการ ปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการด้ านต่างๆ ยกเว้ นข้ อใด 1. ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ 2. ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ 3. คุณภาพการให้ บริการ 4. การจัดทาแผนงานตามกฎหมาย 7. ข้ อใดไม่ใช่ส่วนราชการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 1. กระทรวง 2. ทบวง 3. กรม 4. องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น 8. ที่มาของ พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี มาจากมาตราใด ของพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 1. มาตรา 3/1 2. มาตรา 3/2 3. มาตรา 3/3 4. มาตรา 3/4 9. ใครต้ องจัดให้ มีแผนการบริหารราชการแผ่นดินตลอดระยะเวลาการบริหารราชการของคณะรัฐมนตรี 1. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 2. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3. สานักงบประมาณ 4. คณะรัฐมนตรี 10. หน่วยงานใดมีหน้ าที่ร่วมกันพิจารณาจัดทาแผนนิตบิ ญ ั ญัติ 1. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และ สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี 2. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ สานักงบประมาณ 3. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 4. สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และ สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 11. แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปี ต้ องเสนอผู้ใดให้ ความเห็นชอบ 1. คณะรัฐมนตรี 2. นายกรัฐมนตรี 3. รัฐมนตรี 4. ผู้อานวยการสานักงบประมาณ 12. แผนการบริหารราชการแผ่นดินเป็ นแผ่น……ปี และแผนปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการเป็ นแผน…..ปี 1. 1 ปี , 2 ปี 2. 1 ปี , 4 ปี 3. 4 ปี , 4 ปี 4. 4 ปี , 5 ปี 13. ใครมีหน้ าที่กาหนดให้ จดั ทาบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะ 1. กรมบัญชีกลาง 2. สานักงบประมาณ 3. ก.พ.ร. 4. สานักนายกรัฐมนตรี 14. ส่วนราชการคานวณรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะแล้ วรายงานให้ สว่ นราชการใดทราบ 1. ก.พ.ร. สานักงบประมาณ และ คณะรัฐมนตรี 2. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ก.พ.ร. และกรมบัญชีกลาง 3. กรมบัญชีกลาง สานักงบประมาณ และ ก.พ.ร. 4. สานักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และ สานักเลขาธิการ 15. หน่วยงานใดต้ องร่ วมกันจัดให้ มี การประเมินความคุ้มค่าในการปฏิ บตั ิภารกิ จ ของรั ฐที่ส่วนราชการ ดาเนินการอยู่ 1. สานักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร 2. สานักงบประมาณ และ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และกรมบัญชีกลาง 4. ก.พ.ร. และสานักงบประมาณ 16. เมื่อส่วนราชการใดได้ รับการติดต่อสอบถามเป็ นหนังสือจากประชาชน ให้ เป็ นหน้ าที่ของส่วนราชการ นันที ้ ่จะต้ องตอบคาถามหรื อแจ้ งการดาเนินการให้ ทราบภายในกี่วนั 1. 7 วัน 2. 15 วัน 3. 30 วัน 4. 45 วัน 17. หน่วยงานใดมีอานาจกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการหรื อแนวทางในการกระจายอานาจการตัดสินใจ ความรับผิดชอบระหว่างผู้มอบอานาจและผู้รับมอบอานาจ และการลดขันตอนในการปฏิ ้ บตั ริ าชการให้ สว่ น ราชการถือปฏิบตั กิ ็ได้ 1. ก.พ.ร 2. สานักนายกรัฐมนตรี 3. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 4. สานักงบประมาณ 18. ตอนท้ ายของพระราชกฤษฎี กา ได้ บอกให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นจัดทาหลักเกณฑ์ การบริ หาร กิจการบ้ านเมืองที่ดี โดยอย่างน้ อยต้ องมีหลักเกณฑ์ใดบ้ าง 1. การลดขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ าน 2. การอานวยความสะดวก 3. การตอบ?

Use Quizgecko on...
Browser
Browser