งานนำเสนอสุนทรียะ PDF
Document Details
Uploaded by Deleted User
Tags
Summary
This document provides a course description for a course on aesthetics. It details the course objectives, syllabus, and topics to be covered. The course is for undergraduate students.
Full Transcript
รายวิชา สุนทรียศาสตร์ (Course Description) คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ปีการศึกษา 2567 ภาคการศึกษาที่ 2 อาจารย์ผู้สอน ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.อั...
รายวิชา สุนทรียศาสตร์ (Course Description) คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ปีการศึกษา 2567 ภาคการศึกษาที่ 2 อาจารย์ผู้สอน ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.อัชราพร สุขทอง คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ อาจารย์เกษราภรณ์ สุพรรณฝ่าย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัชวาล สนิทสันเทียะ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา หลักสูตรศิลปะกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ อาจารย์สุภาวดี หลวงกลาง หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ คาอธิบายรายวิชา แนวคิ ด ทางด้ า นสุ น ทรี ย ศาสตร์ คุ ณ ค่ า ของสุ น ทรี ย ะที่ มี ต่ อ การด ารงชี วิ ต ความงามของ ธรรมชาติ ศิ ล ปะ การแสดง ดนตรี วรรณกรรม สุ น ทรี ย ะที่ ผ สานสั ม พั น ธ์ กั บ บริ บ ทสั ง คม วั ฒ นธรรม สุนทรียศาสตร์กับคุณภาพชีวิตของตนเองและสังคม วัตถุประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลักทฤษฎีทางด้านสุนทรียศาสตร์ 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ลักษณะ และคุณค่าของสุนทรียศาสตร์ 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ จาแนกความงามของธรรมชาติ ศิลปะ การแสดง ดนตรีและวรรณกรรมได้ 4. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถตระหนักถึงคุณค่าของสุนทรียศาสตร์ที่มีต่อการดารงชีวิตมนุษย์ ธรรมชาติ และบริบทสังคม 5. เพื่อให้ผู้เรียนนาองค์ความรู้ทางด้านสุนทรียศาสตร์ไปบูรณาการกับบริบทสังคมในยุคปัจจุบันของแต่ละท้องถิ่นได้ อย่างเหมาะสม 6. เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นสามารถน าหลั ก สุ น ทรี ย ศาสตร์ ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของตนเอง และสังคมได้ หัวข้อเนื้อหา บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ 4 ชั่วโมง (สัปดาห์ที่ 1-2) บทที่ 2 คุณค่าของสุนทรียะที่มีต่อการดารงชีวิต 12 ชั่วโมง (สัปดาห์ที่ 3-8) 1.1 ความหมาย/ความสาคัญของสุนทรียศาสตร์ 2.1 การรับรู้ กับอารมณ์ของมนุษย์ 1.2 คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ - ความหมาย ขอบข่ายการรับรู้ - อารมณ์ของมนุษย์ 1.3 ปรัชญาความงาม 2.2 สุนทรียศาสตร์กับวัฒนธรรม 1.4 ธรรมชาติการรับรู้ความงามของมนุษย์ - ขอบข่ายวัฒนธรรมกับสุนทรียศาสตร์ 1.5 องค์ประกอบทางด้านสุนทรียศาสตร์ 2.3 โครงสร้างของรสนิยมตามทฤษฎีวิจารณ์ 1.6 สุนทรียศาสตร์กับความเป็นมนุษย์ 2.4 คู่ตรงข้ามความงามในหลักสุนทรียศาสตร์ (ความสวย ความดี ความบ้า การเสแสร้ง) 1.7 ความสัมพันธ์ของสุนทรียศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ 2.5 มารยาทธรรม มารยาทคติ 2.6 การรับรู้ค่าของความงาม - การรับรู้ความงามได้จากภายในตัววัตถุ - การรับรู้ความงามได้จากจิตกาหนด - การรับรู้ความงามได้จากสภาวะความสัมพันธ์ของวัตถุและจิตใจ 2.7 สุนทรียศาสตร์เชิงความคิด 2.8 สุนทรียศาสตร์เชิงปรัชญา 2.9 สุนทรียศาสตร์เชิงพฤติกรรม บทที่ 3 สุนทรียศาสตร์กับความงามของธรรมชาติ ศิลปะ การแสดง ดนตรี และวรรณกรรม 6 ชั่วโมง (สัปดาห์ที่ 10-12) 3.1 สุนทรียศาสตร์กับความงามของธรรมชาติ -การเคลื่อนไหวในธรรมชาติ -การเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์ บทที่ 4 สุนทรียะที่ผสานสัมพันธ์กับบริบทสังคมวัฒนธรรม 2 ชั่วโมง (สัปดาห์ที่ 13) -การรับรู้สุนทรียวิจักขณ์และรสนิยม 4.1 ทฤษฎีและหลักการเกิดความงาม วิถีชีวิต สังคม และวัฒนธรรม 3.2 ประวัติศิลปะไทย การแสดง ดนตรี และวรรณกรรม 3.3 ประวัติศิลปะสากล การแสดง ดนตรี และวรรณกรรม 4.2 คุณค่าความงาม สภาพแวดล้อม วิถีชีวิต สังคม และวัฒนธรรม 3.4 สุนทรียศาสตร์กับความงามทางศิลปะการแสดง 4.3 สุนทรียภาพกับพลวัตทางสังคม วัฒนธรรม และมูลค่าเพิ่มเชิงธุรกิจ -ศึกษาความหมายของศิลปะการแสดง บทที่ 5 สุนทรียศาสตร์กับคุณภาพชีวิตของตนเองและสังคม 6 ชั่วโมง (สัปดาห์ที่ 14-16) -ประเภทของศิลปะการแสดง 5.1 สุนทรียศาสตร์กับคุณภาพชีวิตของตนเอง -องค์ประกอบของศิลปะการแสดง - การเผชิญปัญหาและการจัดการความเครียดของตนเอง -ศิลปะการแสดงไทย - การพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง -ศิลปะการแสดงสากล 5.2 สุนทรียศาสตร์กับคุณภาพชีวิตของสังคมและชุมชน 3.5 สุนทรียศาสตร์กับความงามทางดนตรี - การทากิจกรรมบาบัด -ความหมายของศิลปะทางดนตรี -ประเภทของศิลปะทางดนตรี - การทาศิลปะบาบัด -องค์ประกอบของศิลปะทางดนตรี - การทาดนตรีบาบัด -ศิลปะดนตรีไทย -ศิลปะดนตรีสากล **สัปดาห์ที่ 9 สอบกลางภาค 40 (บทที่ 1-2) วัน พุธ ที่ 25 ธันวาคม 2567 เวลา 13.30-15-30 น. 3.6 สุนทรียศาสตร์กับความงามทางวรรณกรรม **สัปดาห์ที่ 17 สอบปลายภาค 40 (บทที่ 1-2) วัน พุธ ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13.30-15-30 น. -ความหมายของศิลปะทางวรรณกรรม 20 คะแนน รายงาน/กิจกรรม -ประเภทของศิลปะทางวรรณกรรม -องค์ประกอบของศิลปะทางวรรณกรรม -วรรณกรรมไทย -วรรณกรรมสากล วิธีสอนและกิจกรรม 1. วิ ธี สอนแบบบรรยายแบบมีส่ วนร่ วม อภิ ป รายซั กถาม กาหนดหัว ข้อ อภิ ปราย วิเ คราะห์ และนาเสนอผลการอภิปรายเป็นรายกลุ่ม 2. วิธีสอนแบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) โดยใช้วีดีโอแบบมีปฏิสัมพันธ์ 3. วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ นาเสนอในชั้นเรียน 4. วิธีสอนแบบปฏิบัติการสะท้อนคิด (Reflection) 5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) 6. การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์เสมือนจริง (Simulation Based Learning) 7. การแสดงบทบาทสมมติ (Role playing) สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน หนังสือ และตารา 2. ใบงาน/ใบความรู้ 3. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) 4. สื่อวิดีทัศน์ 5. สไลด์นาเสนอในรูปแบบ (Powerpoiont) 6. แบบฝึกหัดท้ายบท เกณฑ์การประเมินผลรายวิชา 1. ด้านความพร้อม 10% 2. ด้านการเรียน 70% 1.1 เวลาเรียนต้องไม่น้อยกว่า 80% 2.1 ต้องส่งงานตามกาหนดเวลา (หากขาดส่งงานได้ I) 1.2 การมาเรียนที่มีเวลาจะคิดให้เฉพาะผู้ที่แต่งกายถูกต้องตามระเบียบเท่านั้น 2.2 ต้องเข้าสอบประเมินผลสภาพจริงตามกระบวนการ (หากขาดสอบได้ I) 1.3 หากไม่มีการยื่นจดหมายลาป่วย หรือ ลากิจ ก่อน หรือ ยื่นย้อนหลังถือว่าขาดเรียน 2.3 ผลงานที่ไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่า ต้องทาการปรับปรุงแก้ไขใหม่ (หากขาดการ (ลา 3 ครั้งเท่ากับขากชดเรียน 1 ครั้ง) ส่งงานได้ I) 2.4 การปฏิบัติงานต้องเป็นไปด้วยความร่วมมืออย่างมีปฏิสัมพันธ์โดยดูแล ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 2.5 ผลการตรวจงานของอาจารย์ผู้สอนถือเป็นข้อยุติ 3. ด้านจิตพิสัย (คุณธรรม จริยธรรม) 20% 3.1 การพูดจา กิริยามารยาท ความใส่ใจใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีคุณธรรม จริยธรรม 3.2 การรั ก ษาความสะอาดพื้ น ที่ บ ริ เ วณห้ อ งเรี ย น และเตรี ย มอุ ป กรณ์ การเรียนให้พร้อมเสมอ 3.3 การเก็บเครื่องมืออุปกรณ์ การบารุงรักษาอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย 3.4 การส่งคืนเครื่องมือ อุปกรณ์อย่างครบถ้วนหลังจากเสร็จสิ้นกระบวนการ การประเมินผล คะแนนระหว่าง 80 – 100 ได้ระดับผลการเรียน A คะแนนระหว่าง 75.00 – 79.99 ได้ระดับผลการเรียน B+ คะแนนระหว่าง 70.00 – 74.99 ได้ระดับผลการเรียน B คะแนนระหว่าง 65.00 – 69.99 ได้ระดับผลการเรียน C+ คะแนนระหว่าง 60.00 – 64.99 ได้ระดับผลการเรียน C คะแนนระหว่าง 55.00 – 59.00 ได้ระดับผลการเรียน D+ คะแนนระหว่าง 50.00 – 54.99 ได้ระดับผลการเรียน D คะแนนระหว่าง 50.00 ได้ระดับผลการเรียน F ความหมายสุนทรียศาสตร์ “สุนทรียศาสตร์” เป็นสาขาหนึ่งของปรัชญา ที่ว่าด้วยเรื่องของความงามเพื่อลดภาวะ ความตึงเครียดกับสภาวะความเป็นอยู่ในยุคปัจจุบัน และเพื่อให้เกิดความสมดุลมิให้โน้มเอียง ด้านใดด้านหนึ่งมากจนเกินไปในการดาเนินชีวิตประจาวัน “สุนทรียศาสตร์” นับเป็นศาสตร์ ที่ทาการศึกษาเกี่ยวกับคุณค่าของความงามจากการรับรู้ของมนุทั้งความงามในธรรมชาติ และความงามในศิลปะนาไปสู่การมองเห็นคุณค่าอันแท้จริงของความงาม เพื่อส่งเสริมให้ เกิดความชื่นชมความงามและเป็นแรงจูงใจให้มนุษย์รักษาความงามมนุษย์สร้างสรรค์ ความงามขึ้นอีกด้วย ซึ่งแนวคิดเกี่ยวกับความงามนี้ นับเป็นแนวคิดที่สืบต่อกันมาช้านาน นับพันปี ซึ่งมีนักวิชาการหลายท่านกล่าวถึงความหมายของสุนทรียศาสตร์ไว้ สามารถสรุป ประมวล ได้ดังนี้ ความหมายสุนทรียศาสตร์ (ต่อ) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2546 : 196) ให้ความหมายของสุนทรียภาพ (Aesthetic)หมายถึง ความชาบซึ้งในคุณค่าของสิ่งที่ดีงามไพเราะหรือรื่นรมย์ไม่ว่าจะเป็นธรรมชาติหรือศิลปะ ซึ่งความรู้สึกซาบซึ้งในคุณค่า ดังกล่าวนี้จะสะสมได้จากประสบการณ์ หรือ การศึกษาอบรม ฝึกฝนจนเป็นอุปนิสัยเกิดขึ้นเป็นรสนิยมขึ้นตามตัว บุคคล อารี สุทธิพันธุ์ (2551 : 18) ได้ให้ความหมายคาว่า “สุนทรียศาสตร์ ” หมายถึง ศาสตร์ของการรับรู้ ในความงามของศิลปะ โดยเฉพาะและมีความมุ่งหมายที่จะส่งเสริมให้มนุษย์มีความซาบซึ้งและความชื่นชมในความ งามที่มนุษย์สร้าง ดังนี้ 1. เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก การรับรู้ศาสตร์อันเป็นคุณค่าขั้นพื้นฐานของมนุษย์ ทั้ง 3 ประการ คือ ความจริง ความดี และความงาม 2. วิชาที่เกี่ยวข้องกับหลักเกณฑ์ของความงามและลักษณะต่าง ๆ และรสนิยม เห็นได้ชื่นชมกันได้ 4. วิชาที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ตรงที่สร้างความพอใจโดยไม่หวังผลเป็นผลของความรู้สึกเฉพาะตน 5. วิชาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาความเป็นอยู่ของบุคคล และจิตใจและพฤติกรรมของมนุษย์ที่เกี่ยวข้อง กับความรู้สึกตอบสนองในสิ่งสวยงาม สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อมวลชน ความหมายสุนทรียศาสตร์ (ต่อ) ธรชญา ภูมิจิโรจ และสุพัตรา โคตะวงศ์ (2565 : 133) ได้ให้ความหมายคาว่า“สุนทรียศาสตร์” หมายถึง ศาสตร์ว่าด้วยเรื่องของความงาม ทั้งในงานศิลปะ ในธรรมชาติหรือ ศิลปะจากศาสตร์แขนงต่าง ๆ อาทิ ด้านภาษา ด้านดนตรี ด้านนาฏศิลป์ ความงามจะถูกสะสมจากประสบการณ์ หรือ การศึกษาอบรม ฝึกฝน จนเป็นอุปนิสัยเกิดขึ้นเป็นรสนิยมขึ้นตามตัวบุคคล สุนทรียภาพสามารถพัฒนาอารมณ์ของผู้เสพให้เป็นผู้ ที่มีความอ่อยโยนชื่นชมในความงดงามของงานศิลปะ มนุษย์สร้างสรรค์ความงามขึ้นอีกด้วย สมาน สรรพศรี (2564 : 38) ได้ ใ ห้ ค วามหมายค าว่ า “สุ น ทรี ย ศาสตร์ ” หมายถึ ง ศาสตร์ ที่ทาการศึกษาเกี่ยวกับคุณค่าของความงามจากการรับรู้ของมนุษย์ ทั้งความงามในธรรมชาติและความงาม ในศิลปะนาไปสู่การมองเห็นคุณค่าอันแท้จริงของความงาม เพื่อส่งเสริมให้เกิดความชื่นชมความงาม และเป็น แรงจูงใจให้มนุษย์รักษาความงามมนุษย์สร้างสรรค์ความงามขึ้นอีกด้วย ดังนั้นสรุปได้ว่า สุนทรียศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของความงามทั้งที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติและเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสแล้วก่อให้เกิดความพอใจ สบายใจ ซึ่งต้องอาศัยการมองเห็น การฟัง และความรู้สึกต่อสิ่งนั้น ๆ รวมถึงสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ความสาคัญของสุนทรียศาสตร์ 1. ส่งเสริมกระบวนการคิด การตัดสินความงามอย่างสมเหตุสมผล 2.ช่วยกล่อมกลมให้เป็นผู้มีจิตใจอ่อนโยน 3.เสริมสร้างประสบการณ์สุนทรียะให้กว้างขวาง 4.ส่งเสริมแนวทางในการแสวงหาความสุข 5. ส่งเสริมให้เห็นความสาคัญของสรรพสิ่ง 4. คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ 4.1 คุณค่าความงามด้านสุนทรียภาพของมนุษย์ หมายถึง การกาหนดความรู้สึกจากการรับรู้สู่จิตใจ ตามภาวะที่มีความเหมาะสมกับกาลเทศะ ตรงความต้องการและรสนิยมของคนส่วนใหญ่ในสังคมนั้น ๆ ดังนั้น ความงามแต่ละยุคแต่ละสมัย ย่อมมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสิ่งเหล่านี้ คือ สภาพสังคม ศาสนา วัฒนธรรม สภาวะจิตใจ อารมณ์ และความศรัทธา เช่น การมองเห็นความงามของตนเอง ซึ่งแต่ละคนย่อมแตกต่างกัน เช่น การประกวดนางงาม บนเวทีการมองเห็นในสิ่งเดียวกันอาจมีความเห็นไม่เหมือนกัน ดังนั้น หลักเกณฑ์ หรือ มาตรฐาน ในเรื่องของความงามเป็นปัญหาที่สุนทรียศาสตร์ จะต้องค้นหาความจริงว่าอะไร คือ สิ่งที่สวยงาม และทรงคุณค่าแห่งความงาม คุณค่ าความงามด้ านสุ นทรียภาพของมนุษย์ คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ คุณค่าของความเป็นมนุษย์ จึงควรมีมาตรฐาน อย่างน้อย 3 ด้าน คือ 1) จริยศาสตร์ (Ethics) เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ทางจริยธรรม จริยศาสตร์เป็นศาสตร์ว่า ด้วยมาตรฐาน การกาหนดพฤติกรรมของมนุษย์ ว่าอย่างไรคือความดี อย่างไรคือความชั่ว คุณค่าของความ เป็นมนุษย์ที่ได้รับการยกย่องประการแรกก็คือ ความดี 2) สุ น ทรี ย ศาสตร์ (Aesthetics) เป็ น มาตรฐานเกี่ ย วกั บ การรั บ รู้ ค วามงาม เป็ น คุ ณ ค่ า อี ก อย่ า งหนึ่ ง ซึ่งแตกต่างจากความดี คุณค่าทางความงามเป็นเรื่องเกี่ยวกับความคิดจากการสัมผัส เช่น เมื่อเราเห็นภาพ ดวงอาทิตย์กาลังจะลับขอบฟ้าระหว่างขอบน้าทะเลยามเย็น เราจะมองเห็นความงาม ความงามจะทาให้ เราเกิดความพอใจ ความยินดีหรือความสุข เมื่อเราสัมผัสกับสิ่งสวยงามทาให้เราสามารถแยกแยะวัตถุที่มี ความงามว่ามีความโดดเด่น หรือ แตกต่างจากวัตถุธรรมดาทั่วไปได้ 3) ตรรกศาสตร์ (Logics) คือ มาตรฐานทางคุณค่าส่วนที่จะเสริมให้มนุษย์มีความสมบูรณ์ขึ้น เป็นคุณค่าทาง ปั ญ ญา ความคิ ด กล่ า วคื อ นอกเหนื อ จากมาตรฐานทั้ ง 2 ด้ า นดั ง กล่ า วมนุ ษ ย์ ยั ง ต้ องมี ความคิ ด และ วิจารณญาณที่ดี รู้จักใช้เหตุใช้ผล ไม่หลงงมงาย มีสามัญสานึกที่ดี มีโลกทัศน์ที่ดี และมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ศาสตร์ว่าด้วยความคิด 4. คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ (ต่อ) 4.2 คุณค่าความงามของธรรมชาติ คุณค่าความงามของธรรมชาติ หมายถึง ความงามของสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ ลักษณะของธรรมชาติที่มีความเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลง และฟื้นฟูคืนสู่สภาพ เดิมได้ โดยระบบของตัวเอง เช่น ป่า ทุ่งหญ้า สัตว์น้า อุทยานต่าง ๆ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และ เขตต้ น น้ า ล าธาร เป็ น ต้ น ลั ก ษณะที่ ส อง คื อ ลั ก ษณะธรรมชาติ ที่ ไ ม่ ส ามารถเคลื่ อ นไหว เปลี่ยนแปลง และฟื้นฟูคืนสู่สภาพเดิมไม่ได้ เมื่อถูกทาลายก็จะหมดสภาพไป ได้แก่ เกาะ แก่ง ภูเขา น้าตก ทะเลสาบ แม่น้า หนอง คลอง บึง หาดทราย ฯลฯ และแหล่งที่มีซากดึกดาบรรพ์ เป็นต้น คุณค่าความงามของธรรมชาติ 3. คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ 3.3 คุณค่าความงามด้านศิลปะ คุณค่าความงามด้านศิลปะ หมายถึง ความงามของงานศิลปะที่มนุษย์สร้างสรรค์งานขึ้นผ่าน ประสาทสั ม ผั ส รั บ รู้ ที่ ดี จนเกิ ด ความงามในศิ ล ปะ ความรู้ สึ ก ภายในจิ ต ใจ ที่ อ ยากแสดงออกทาง สุน ทรี ยภาพจากประสบการณ์ ต่ า งๆ และขึ้ น อยู่ กับ การสั ม ผั ส ของแต่ล ะบุ ค คลมี พั ฒนาการในด้ า น ความคิด ริ เ ริ่ม สร้ างสรรค์ เป็น พฤติก รรมอั น ส าคัญ ของมนุ ษ ย์ที่ แ สดงออกเพื่ อ สนองความต้อ งการ อยากรู้ อยากเห็ น เมื่ อ ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มได้ ส ร้ า งให้ ม นุ ษ ย์ ไ ด้ อ ยู่ ร่ ว มกั น เป็ น หมู่ เ ป็ น คณะ มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน มีความรู้สึกประทับใจและสะเทือนใจในสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ความรู้สึก ประทับใจและสะเทือนใจเป็นลักษณะพิเศษของแต่ละบุคคล ซึ่งไม่เหมือนกัน ความคิดสร้ างสรรค์ ที่ถ่ายทอดออกมา จึงมีความแตกต่างกันในด้านรูปแบบวัสดุ วิธีการเพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการ ของมนุษย์ คุณค่าความงามด้านศิลปะ แนวคิดเกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ ความหมายสุนทรียะ/สุนทรียภาพ/สุนทรียศาสตร์ “สุนทรียะ” หมายถึง ความงามของศิลปกรรม ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม รวมทั้งความประณีตงดงามของจิตใจ ความประณี ต งดงามของการใช้ ชี วิ ต และชี วิ ต ส่ ว นรวม ศิ ล ปกรรม ที่ ห มายความรวมถึ ง ทั ศ นศิ ล ป์ ดนตรี ศิลปะการแสดง สถาปัตยกรรม วรรณกรรม “สุนทรียภาพ” หมายถึง ความงามในธรรมชาติหรืองานศิลปะที่แต่ละบุคคลสามารถเข้าใจและรู้สึกได้ ซึ่งมีผล ต่อการรับรู้คุณค่าของความงาม ภายในจิตใจของมนุษย์ “สุนทรียศาสตร์ ” หมายถึง ศาสตร์ที่ทาการศึกษาเกี่ยวกับคุณค่าของความงามจากการรับรู้ ของมนุษย์ ทั้ ง ความงามในธรรมชาติ แ ละความงามในศิ ล ปะ อั น น าไปสู่ ก ารมองเห็ น คุ ณ ค่ า อั น แท้ จ ริ ง ของความงาม เพื่อส่งเสริมให้เกิดความชื่นชมความงามและเป็นแรงจูงใจให้มนุษย์รักษาความงามมนุษย์สร้างสรรค์ความงาม ขึ้นอีกด้วย คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ คุณค่าของความเป็นมนุษย์ จึงควรมีมาตรฐาน อย่างน้อย 3 ด้าน คือ 1) จริยศาสตร์ (Ethics) จริยศาสตร์เป็นศาสตร์ว่าด้วยมาตรฐานพฤติกรรมของมนุษย์ทางจริยธรรม การกาหนด พฤติกรรมของมนุษย์ ว่าอย่างไร คือ ความดี อย่างไรคือ ความชั่ว 2) สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการรับรู้ความงาม เป็นคุณค่าอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งแตกต่าง จากความดี คุณค่าทางความงามเป็นเรื่องเกี่ยวกับความคิดจากการสัมผัส เช่น เมื่อเราเห็นภาพ ดวงอาทิตย์กาลัง จะลับขอบฟ้าระหว่างขอบน้าทะเลยามเย็น เราจะมองเห็นความงาม ความงามจะทาให้เราเกิดความพอใจ ความยินดี หรือ ความสุข เมื่อเราสัมผัสกับสิ่งสวยงามทาให้เราสามารถแยกแยะวัตถุที่ มีความงามว่ามีความโดด เด่น หรือ แตกต่างจากวัตถุธรรมดาทั่วไปได้ 3) ตรรกศาสตร์ (Logics) คือ มาตรฐานทางคุณค่าส่วนที่จะเสริมให้มนุษย์มีความสมบูรณ์ขึ้น เป็นคุณค่าทาง ปัญญา ความคิด กล่าวคือ นอกเหนือจากมาตรฐานทั้ง 2 ด้านดังกล่าวมนุษย์ยังต้องมี ความคิดและวิจารณญาณ ที่ดี รู้จักใช้เหตุใช้ผล ไม่หลงงมงาย มีสามัญสานึกที่ดี มีโลกทัศน์ที่ดี และมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลศาสตร์ว่าด้วย ความคิด บริบททางสังคม ค่านิยิม การรับรู้ความงาม อุดมคติทางด้าน รสนิยม ความงาม ของมนุษย์ ค่านิยม ความรู้พื้นฐานด้านความงาม ความงามเป็น หนึ่งในรูปแบบความคิด ที่มนุษย์สร้างขึ้นและสืบทอดผ่านยุคสมัยต่าง ๆ ด้านความงามในบาง แง่ มุ ม มี ค วามแตกต่ า งกั น ตามวั ฒ นธรรมของแต่ ล ะพื้ น ที่ ไปจนถึ ง เรื่ อ งอุ ด มคติ มายาคติ ของผู้ ค นในสั ง คม ความงามยังเป็นหนึ่งในรูปแบบความคิดที่มีความผันแปร และพัฒนาการไปตามยุคสมัย ยกตัวอย่าง ค่านิยมของ ความงามของผู้หญิงซึ่งผันแปรไปตามอุดมคติของยุคสมัย เช่น - ค่านิยมความงามเรื่องการแต่งกาย เช่น ในอดีตผู้หญิงในสยามนิยมแต่งกายตามจารีตวิถีแต่ปัจจุบันแต่ง กายตามยุคสมัย เป็นต้น - ค่านิยมความงามเรื่องสัดส่วนร่างกาย เช่น ในอดีตความงามของผู้หญิงยุโรปนิยมรักษารูปร่างให้มีลักษณะ ของคนเจ้าเนื้อเพือ่ ให้ดูภูมิฐาน แต่ปัจจุบันนิยมผูค้ นนิยมความงามของผู้หญิงในรูปร่างแบบผอมเพรียว เป็นต้น ค่านิยมความงามเรื่องการแต่งกาย ยุคต้นรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 5 : ยุคเปลี่ยนผ่านสยามให้เป็นอย่างตะวันตก รัชกาลที่ 6 : ยุครุ่งเรืองของ รัชกาลที่ 7: การคงอยู่ของกลิ่น รัชกาลที่ 8 - รัชกาลที่ 10 : ดนตรี ศิลปะ และแฟชั่น อายตะวันตก การกาเนิดชุดไทยราชนิยม ค่านิยมความงาม ปรัชญาความงาม นักปรัชญาและนักการศึกษาด้านศิลปะ ได้ให้ความหมายของความงาม ในแง่ปรัชญา หรือทฤษฎีไว้หลายแง่มุม ซึ่งพอจะแบ่งออกเป็นยุคสมัยต่างๆ พอสังเขปได้ ดังนี้ 1. ความงามในยุค คลาสสิก ในแง่ข องปรัช ญาศิ ล ปะ ศิ ลปะกรี ก และศิ ลปะโรมั น เป็นรากเหงาของศิลปะตะวันตกที่สาคัญ และจัดได้ว่าเป็นปรัชญาศิลปะมีอิทธิพลมาก ที่ สุ ด ยุ ค สมั ย หนึ่ ง ศิ ล ปะทั้ ง สองยุ ค นี้ นิ ย มเรี ย ก โดยทั่ ว ไปว่ า “ศิ ล ปะคลาสสิ ก ” (Classical Art) ตัวอย่างนักปรัชญาในยุคคลาสสิกที ่ได้ให้ทัศนะ ในด้านความงาม เช่น ความหมายความงาม โฮเมอร์ (HOMER, 400-300 B.C) จินตกวีสมัยกรีกโบราณ กล่าวว่า ความงาม คือ ความมหัศจรรย์ อาจเป็น เพราะว่าความงามเป็นความรู้สึกเฉพาะตัวอันลึกซึ้งภายในจิตใจที่อธิบายให้คนอื่นเข้าใจได้ยากยิ่ง โสเครติส (SOCRATIS, 469-399 B.C) นักปรัชญาสมัยกรีกโบราณ กล่าวว่า ความงาม คือ ความเหมาะสมของ สัดส่วน เช่น ความงามของคนจะต้องมีสัดส่วน 8 ส่วน โดยยึดเอาสัดส่วนของศีรษะเป็นหลัก สัดส่วนของอาคาร จะต้องมีสัดส่วนเป็น 1:3:5 คือ สูง 1 ส่วน กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน โดยยึดส่วนสูงเป็นหลัก อริสโตเติล (ARISTOTLE, 348-322 B.C) นักปรัชญาสมัยกรีกโบราณ กล่าวว่า ความงาม คือ การเลียนแบบ ธรรมชาติ และยังเชื่อว่าศิลปะ คือการเลียนแบบธรรมชาติด้วย เพลโต (PLATO, 428-347 B.C) นักปรัชญาสมัยกรีกโบราณ กล่าวว่า ความงาม คือ การเลียนแบบ เพลโตถือว่า ทุกสิ่งทุกอย่างมีแบบที่เป็นมาตรฐานของมันอยู่แล้ว ความงามก็มีแบบของความงามอยู่แล้ว กล่ า วโดยสรุ ป ในแง่ ป รั ช ญาความงามในยุ ค คลาสสิ ก มี ทั ศ นะเชื่ อ ว่ า ความงามในเชิ ง ศิ ล ปะ เป็นเรื่องของ “การเลียนแบบจากธรรมชาติ ” และมีแบบอย่างทางความงามที่เป็นมาตรฐาน โดยเฉพาะการใช้หลักการของการคานวณทางคณิตศาสตร์มาใช้ประกอบการสร้างสรรค์ผลงานต่าง ๆ ในบริบทของ ยุคนั้นเชื่อว่า คณิตศาสตร์เป็นภาษารูปแบบหนึ่งที่มาจากธรรมชาติ จึงมีความเชื่อ เรื่อง “สัดส่วนทอง” (Golden Ratio หรือ Golden Section) ที่ใช้ในการเป็นแม่แบบทางการ สร้างสรรค์ผลงานต่าง ๆ ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นการสร้างสถาปัตยกรรม ประติมากรรม หรือ ศิลปะแขนงต่าง ๆ จึงมีเรื่องของ การเลียนแบบธรรมชาติ และใช้การคานวณมาใช้เป็นมาตรฐานทางความงามและการสร้างสรรค์ ในปัจจุบันก็ยังมีอิทธิพลของปรัชญาความงามจากยุคคลาสสิก เช่น การสร้างงานศิลปะจากการ เลียนแบบธรรมชาติการออกแบบต่าง ๆ ที่ใช้หลักการสัดส่วนทองในการออกแบบ การแสดงที่ เลียนแบบลักษณะท่าทางที่สมจริงของมนุษย์ เป็นต้น ความงามในยุคสมัยใหม่ ในแง่ของปรัชญาศิลปะสมัยใหม่ ปรัชญาความ จอร์ จ สั น ตะยานา (GEORGE SANTAYANA, งามเริ่มให้คุณค่าความงามในทัศนะของปัจเจก 1863-1952) นักสุนทรียศาสตร์ยุคใหม่กล่าวว่า บุคคล ความงามเป็นเรื่องภายในและเชื่อมโยง ความงาม คือสิ่งที่ ให้ความเพลิดเพลิน เมื่อเรา กั บ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ส่ ว น บุ ค ค ล ไ ป จ น ถึ ง รับรู้หรือเห็นสิ่งที่งาม และเชื่อว่าความงามกับ พัฒนาการ ในเชิงทฤษฏีทาง ความดีเป็นสิ่งเดียวกัน ศิลปะที่หลากหลาย เช่น ความงามในยุคสมัยใหม่ เฮอเบิร์ท รีด (HERBERT เอมมานุเอล คานท์ กล่ า วโดยสรุ ป ในแง่ ป รั ช ญาความงามในยุ ค สมั ย ใหม่ READ, 1893 –1968) (EMMANUEL KANT, มีทัศนะเชื่อว่าความงามในเชิงศิลปะ เป็นเรื่องของทัศนะ นักปรัชญาชาวอังกฤษ ของปัจเจกบุคคล ความงามเป็นเรื่องภายในและเชื่อมโยง 1924-1804) นักปรัชญา กล่าวว่า ความงามเป็น กั บ ประสบการณ์ ส่ ว นบุ ค คล ไปจนถึ ง พั ฒ นาการ ชาวเยอรมัน กล่าวว่า เอกภาพ หรือ ความเป็น ในเชิ ง ทฤษฎี ท างศิ ล ปะที่ ห ลากหลาย ดั ง นั้ น ในการ ความงามเป็นสิ่งที่ดี เป็น สร้ า งสรรค์ ศิ ล ปะ หรื อ การชื่ น ชมความงามในโลก หน่วยที่สมบูรณ์ของมูล ความสุข ความ สมัยใหม่ จึงเป็นเรื่องของคุณค่าส่วนบุคคล การยอมรับ ฐานของศิลปะ ซึ่งเป็นผล เพลิดเพลินและความพึง ความแตกต่า งหลากหลาย การให้ คุ ณ ค่ าที่ม าจากการ มาจากการสร้างสรรค์ สร้างสรรค์ของปัจเจกส่วนบุคคล พอใจ ของมนุษย์ การสร้างสรรค์จิตรกรรมสมัยใหม่ มีจิตรกรรมสมัยใหม่ ที่มีความหลากหลาย แตกต่างในรูปแบบ แม้จะเป็นภาพต้นไม้เหมือนกัน แต่ถ่ายทอดในสไตล์ที่ต่างกัน การแบ่งประเภทของความงาม การแบ่งประเภทของความงาม โรเบิร์ต ชูมันน์ (Robert Schumann) เป็นคีตกวีและนักวิจารณ์ มีความเห็นว่า ความงามนั้นจัดกลุ่มได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. ความงามโดยธรรมชาติ คือ รูปแบบความงามที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ และมนุษย์รับรู้สัมผัสได้วา่ ธรรมชาตินั้นมีความสมบูรณ์อยู่ในตัวของมันเอง 2. ความงามที่เกิดโดยมนุษย์สร้างขึ้น คือ รูปแบบความงามที่เกิดขึ้นโดยการสร้างสรรค์จากฝีมือมนุษย์ กลายเป็นรูปแบบความงามที่มีบริบท และกฎตามจารีตวิถีของสังคมนั้น ๆ เราเรียกการสร้างสรรค์ที่มนุษย์สร้าง โดยภาพรวมว่า “ศิลปะ” ศิลปะ คือ ความงามที่เกิดโดยมนุษย์ รูปแบบความงามที่เกิดขึ้นโดยการสร้างสรรค์ จากฝีมือมนุษย์กลายเป็นรูปแบบความงามที่มีบริบท และกฎตามจารีตวิถีของสังคมนั้น ๆ ดังนั้นในแต่ละสังคม จึงมีความแตกต่างด้านอุดมคติทางความงาม ตามประสบการณ์ความงาม และบริบททางความงามที่แตกต่างกัน การแบ่งประเภทของความงาม นั้นจัดกลุ่มได้เป็น 2 ประเภท คือ ความงามโดยธรรมชาติ และความงามที่ มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งถูกจากัดความว่าเป็นศิลปะ ทัศนะทางความงามสามารถ แบ่งได้เป็น 3 ชุดความเชื่อ คือ ความคิดแบบแรก 1) วัตถุพิสัย เชื่อว่า มนุษย์รับรู้ ความงามได้เพราะสิ่งต่าง ๆ มีความงามอยู่ในตัววัตถุเอง ความคิดที่ดี 2) แบบจิตพิสัย เชื่อว่า มนุษย์รับรู้ความ งามได้เพราะจิตของเราคิดและรู้สึกไปเองความคิดแบบที่ 3 สัมพัทธ์พิสัย เชื่อว่า การรับรู้ได้ เพราะเกิดสภาวะที่ เหมาะสมระหว่างจิตกับวัตถุ ภาพความงามจากธรรมชาติ ความงามที่มนุษย์สร้างขึ้น การรับรู้ความงามของมนุษย์ มนุษย์เป็นผู้ที่มีความรู้สึกด้านความงาม โดยเฉพาะความงามด้านศิลปะ เพราะการสร้างสรรค์ ผลงานทางศิลปะ ทั้งหมดเกิดขึ้นจากมนุษย์ทั้งสิ้น แต่ความรู้สึกด้านความงามของมนุษย์นั้น มีความแตกต่างกันออกไป การรับรู้ ความงามของมนุษย์ แบ่งรูปแบบความคิดออกได้เป็น 3 กลุ่ม ตามความคิดภายใต้อุดมคติที่แตกต่างกัน คือ 1. วัตถุพิสัย (Objectivism) หมายถึง การรับรู้ความงามในตัววัตถุทสี่ ัมพันธ์กับความคิดแบบวัตถุนิยม ที่เชื่อว่าในวัตถุ มีสัดส่วนความงามอยู่ในตัวของมันเองที่ส่งผลต่อความคิดของมนุษย์ ความคิดข้างต้นนามาสู่การพัฒนาทางด้านทฤษฎี ทางทัศนศิลป์ ทฤษฎีการจัดวางองค์ประกอบ เช่น ทฤษฎีสัดส่วนทอง (Golden Ratio) ในการออกแบบสร้างสรรค์ องค์ประกอบ สัดส่วนทางความงามทีด่ ูสมบูรณ์ในทางศิลปะ 2. จิตพิสัย (Subjectivism) หมายถึง การรับรู้ความงามได้เพราะจิตของเรา จัดเป็นความคิดแบบจิตนิยม ที่มองว่า ความงามเกิดจากภายในจิตใจของมนุษย์ โลกภายนอกเป็นเพียงสิ่งสมมุติขึ้น การรับรู้ค่าความงามได้เพราะจิตของเรา คิดและรู้สึกไปเอง ทั้งนี้เพราะมนุษย์เป็นผู้ก าหนดทุกสิ่งทุกอย่าง เป็นคุณสมบัติของจิต หรือ จิตพิสัย แม้กระทั่งคุณค่า ความงาม ซึ่งมีความเห็นตรงกันข้ามกับกลุ่มแรก โดยเห็นว่าความงามเป็นเรื่องของความรูส้ ึกที่แตกต่างกัน ถ้าความงามมี อยู่ในตัววัตถุจริง ทาไมแต่ละคนจึงเห็นวัตถุนั้นงามไม่เท่ากัน 3. สัมพัทธ์พิสัย (Relativism) หมายถึง การรับรู้ได้ระหว่างจิตกับวัตถุ จัดเป็นความเชื่อแบบทวินิยม (ระหว่างจิตนิยม และวัตถุนิยม) การรับรู้ค่าความงามได้เพราะเป็นสภาวะที่เหมาะสม ระหว่างวัตถุกับจิต หรือ สัมพัทธ์พิสัย กลุ่มนี้เห็นว่า การรับรู้ค่าความงามนั้น มิใช่อย่างใดอย่างหนึ่งแต่เป็นสภาวะที่สัมพันธ์กันระหว่างมนุษย์กับวัตถุและการรับรู้ที่สมบูรณ์ ต้องประกอบไปด้วยวัตถุที่มคี วามสวยงาม ความเด่นชัด และผู้รับรู้ตอ้ งมีอารมณ์และความรู้สึกที่ดีพร้อมที่จะรับรสคุณค่า แห่งความงามนั้นได้ เมื่อพิจารณาจากแนวคิดทั้ง 3 ประเด็นดังกล่าว จะเห็นว่า การรับรู้ความงามทางศิลปะของมนุษย์เป็นสภาวะ ที่มีบริบทที่แตกต่างกัน ซึ่งการเรียนรู้ทฤษฎีความงามในประเด็นต่าง ๆ ล้วนเป็นการทาความเข้าใจความงาม รอบตัวเราทั้งทางตรงทางอ้อม องค์ประกอบทางด้านสุนทรียศาสตร์ 1. ความยิ่งใหญ่ (Greatness) สะท้อนถึงความยิ่งใหญ่ทุก ๆ ด้านทั้งแง่คุณค่า ขนาดคุณภาพมีความเป็นยอดที่สุด งามยิ่ง ดียิ่ง เยี่ยมที่สุด ประเสริฐมีความเป็นเลิศ ใหญ่กว่า ดีกว่า ความยิ่งใหญ่ตระการตาอลังการ มีพลัง ฯลฯ เป็นความยิ่งใหญ่ในตัวผลงานศิลปะและความยิ่งใหญ่ในพลังธรรมชาติพลังของความยิ่งใหญ่ ด้าน ขนาดและความประณีตในคุณค่า ทักษะ ฝีมือเป็นเลิศของศิลปะ หรือพลังความยิ่งใหญ่ในธรรมชาติ ต่างสะกด ความรู้สึกของมนุษย์ได้ เช่น กาแพงเมืองจีนทัชมาฮาล โบสถ์เซนปีเตอร์ พระบรมหาราช ,วัง หลวงพ่อโต ภายในอุโบสถวัดพนั ญเชิง หรือ ความยิ่งใหญ่ของธรรมชาติ ความงามบนเขาสูง บนภูกระดึงน้าตก ในแองการา เกาะสิมิลัน ฯลฯ ความยิ่งใหญ่เหล่านี้เป็นเพียงบางส่วน ที่เป็นพลัง ความงาม ให้มนุษย์สัมผัส 2. ความแปลกใหม่ (Novelty) สะท้อนออกมาถึงความแปลก ของแปลก ของใหม่ ความแปลกมความแตกต่างไปจากที่เคยคิด เคยรู้ เคยเคย เห็นมนุษย์มีรสนิยมที่ชอบ ของ แปลกหูแปลกตา เพราะทาให้ตื่นเต้นเร้าใจ ทันสมัย ไม่มีความซ้าซาซากจาเจ ศิลปะหลายแขนงสร้างความแปลกใหม่ เช่น การออกแบบ งานภาพยนตร์ งานศิลปะ abstract, installation art, computer grahic ฯลฯ สิ่งเหล่านี้เป็นความแปลกใหม่ที่ทันสมัยไม่ หยุดนิ่งมนุษย์จะคิดค้นพัฒนาความ แปลก ใหม่ตลอดไปเพื่อการรับรู้หา ความงามที่แปลกตาอยู่เสมอ งานออกแบบกราฟฟิก 3. ความงาม (Beauty) สะท้อนถึงลักษณะที่เห็นแล้วชวนยินดี ชวนพึงใจ มีลักษณะสมบูรณ์มีความงามน่าพึงพอใจ น่าปีติ ทาให้เป็นสุข มนุษย์จึงต้องมีความละ เอียดอ่อน องค์ประกอบของสุนทรียศาสตร์ที่สาคัญอีกก็คือความงามในในวัตถุและ ความงาม ในจิตใจของ มนุษย์กล่าวคือคุณค่า ภาพจิตรกรรมผลงานของราฟาเอล (Raphael) ความงามต้องมี อยู่ในธรรมชาติและมีอยู่ในศิลปะตลอด จนจิตใจ พร้อมกับความงามภายในตัวของมนุษย์เอง สิ่งนี้จะ ก่อให้เกิดความประทับใจ ความงามมีความสาคัญมากต่อมนุษย์เพราะความงามเป็นความรู้สึกที่บริสุทธิ์ภายใน ดวงจิ ตเป็นห้วงเวลาที่ เปี่ยมด้ วยความสุข ความพึ่ง ที่มีต่อยกที่มีต่อ รู้สึกซาบซึ้ง ในคุ ณ ค่ า ดั ง กล่า วนี้ย่อมจะ เจริญเติบโตขึ้นได้ด้วยประสบการณ์ หรือการศึกษาอบรม ฝึกฝน จนเป็นอุปนิสัยเกิดเป็นรสนิยม ขึ้นในตัวบุคคล ใต้เป็นอย่างที่รสนิยมที่ดีก็คือ บุคคลซึ่งมีคุณลักษณะเด่นในเรื่องของจิตใจ มีความละเอียดอ่อนทางความงาม จิ ต ใจอ่ อ นไหวต่ อ อารมณ์ สั ม ผั ส และมี อ านาจการจ าแนวทางการรั บ รู้ รู้ จั ก เลื อ กคั ด สรรสิ่ ง ที่ ดี มี คุ ณ ค่ า เช่ น การเลื อ กอ่ า นหนั ง สื อ ที่ ต นเองชอบ การเลื อ กฟั ง เพลงที่ ไ พเราะเสนาะหู การเลื อ กชมภาพยนตร์ ที่มีคุณค่าสูงทางศิลปะ ฯลฯ สุนทรียศาสตร์กับความเป็นมนุษย์ สุนทรียศาสตร์เป็นปรัชญาแห่งสาระที่ว่าด้วยความงามแห่งรสนิยมของมนุษย์ และมาตรฐานของคุณค่าในการตีค่าตีความ วินิจฉัยศิลปะอันนาไปสู่ ทัศนคติ ที่มีหลักเกณฑ์พิสูจน์และเชื่อได้ลักษณะต่อไปนี้สามารถเป็นบันไดเบื้องแรก ในการตัดสินว่าอะไรคุณค่า เพียงพอต่อการเป็นคุณสมบัติแห่งการกระตุ้นเร้า ก่อให้เกิ ดพลังความรู้สึกได้ องค์ประกอบ ประเภทของสิ่งต่า ง ๆ และหลัก ความสัมพันธ์ขั้นพื้นฐานแห่งสุนทรียศาสตร์กับความเป็นมนุษย์ พิธีกรรมความเชื่อ 3 กลุ่มชาติพันธุ์ ความสัมพันธ์ของสุนทรียศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ นาฏศิลป์ ไทย นาฏศิลป์ไทย คือ ศิลปวัฒนธรรมแขนงหนึ่งที่ แสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิดวิถีชีวิต ประเพณี ผ่ า นการถ่ า ยทอดท่ า ทางการแสดงโดยสิ่ ง เหล่ า นั้ น ต้ อ งเป็ น สิ่ ง ที่ ดี ง ามและแสดงความ เป็นเอกลักษณ์ของชนชาตินั้นๆ มีการสืบทอด อนุ รักษ์ ฟื้นฟูให้ค งอยู่สืบไป ดัง ที่ประภาศรี สีหอาไพ (2550) ได้กล่าวว่า ในสมัยก่อนการ จะเรียนนาฏศิลป์มีข้อจากัดเฉพาะคนในเขต พระราชฐานเท่านั้นเพราะการแสดงนาฏศิลป์ ใช้ ส าหรั บ เป็ น เครื่ อ งราชู ป โภคขององค์ พระมหากษัตริย์ นาฏศิลป์ เป็ นเครื่ องราชู ปโภคขององค์ พระมหากษัตริย์ การแสดงมหรสพสมโภชในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช การแสดงในงานอวมงคล การแสดงในงานมงคล การแสดงในงานต้อนรับเอกอัคราชฑูต ตลอดจนงานทั่วไปสาหรับ ประชาชนอันมีรูปแบบ และลักษณะเฉพาะซึ่งมีความแตกต่างกัน การแสดงชุด เรื อมอัปสรสราญ ดนตรีไทย เสียงของดนตรีไทย จังหวะของดนตรี กำรประสำนเสียง ไทย ทำนองดนตรีไทย การขับร้องเพลงไทย งานศิลปะ “ช้างในจิตนาการ” “หนุมาน” ภาพที่วาดโดยอาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ฉากประกอบการแสดงโขนราชีนี รูปทรง รูปลักษณะที่มองเห็น เป็ น 3 มิติ ความกว้าง ยาว หนาหรือลึก รู ปทรงแบบ 3 มิตจิ ริง รู ปทรงแบบ 3 มิตลิ วงตำ แบบฝึกหัดท้ายบท ให้นักศึกษาวิเคราะห์คุณค่าการรับรู้สุนทรียศาสตร์ที่ได้รับจากบทเพลง S U R IN (สุรินทร์) น้าหงา คาราวาน พร้อมยกตัวอย่าง