บทที่ 9 การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในยุคดิจิทัล PDF
Document Details
Uploaded by ReliableFife
Mahasarakham University
Tags
Summary
เอกสารนี้กล่าวถึงการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในยุคดิจิทัล โดยเน้นถึงวัตถุประสงค์ เนื้อหา และตัวอย่างการประยุกต์ใช้ในระดับชุมชนและประเทศ
Full Transcript
ที่ มา: https://www.thansettakij.com/content/122747 ทีม่ า: https://www.facebook.com/starcubeth/photos/a.1115735741902787/1269488443194182/?type=3&theater วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๑. นิสิตสามารถบอกถึงการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพีย...
ที่ มา: https://www.thansettakij.com/content/122747 ทีม่ า: https://www.facebook.com/starcubeth/photos/a.1115735741902787/1269488443194182/?type=3&theater วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๑. นิสิตสามารถบอกถึงการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้ในการดําเนินชีวติ ประจําวันได้ ๒. อธิบายระดับของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่าง ถูกต้อง เนื้ อหา ๑. เศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใช้ในยุคดิจทิ ลั ๒. เศรษฐกิจพอเพียงกับคนรุ ่นใหม่ ๓. การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชน ๔. ตัวอย่างการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ ในชุมชน ๕. การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระดับประเทศ ๖. แนวทางการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน ระดับประเทศ การพัฒนาประเทศ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจขั้น พืน้ ฐาน (พอกินพอใช้ของประชาชนระดับ ที่มา: https://www.nectec.or.th/news/news-pr-news/agrimap-smartfarmer.html บุคคล/ครอบครัว) สร้างความพร้อมในรู ปชุมชนและระดับประเทศ ั นายั่งยืนสืบไป ประเทศชาติพฒ ๑. เศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใช้ในยุคดิจิทลั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้หลักคิดในการทํางาน ดําเนินธุรกิจ และใช้ชวี ติ ในโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลงเพือ่ บริหารความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ ใน อนาคต “เศรษฐกิจพอเพียง” (Sufficiency economy) เป็ นเสมือน รากฐานความมั่นคงของชีวติ รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ของในหลวงรัชกาลที่ ๙ เป็ น ปรัชญาทีผ่ ่านการคิดปฏิบัตจิ ริง โดยพระราชประสงค์ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดชให้พสกนิกรอยู่ดกี นิ ดี เริ่มต้นทีค่ รอบครัว ชุมชน จนไปถึงระดับจังหวัดและประเทศ ยุคของโลกดิจทิ ลั (Digital Age) สามารถเข้าถึงข้อมูลจํานวนมหาศาลได้ตลอดเวลา สามารถติดต่อสือ่ สารและเปิ ดโอกาสใหม่ ๆ ให้กับภาคธุรกิจ เศรษฐกิจดิจทิ ลั มีกลไกสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจให้ก้าวไป ข้างหน้า ที่มา: https://escalla.co.uk/digital-leadership-for-the-digital-age/ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา กล่าวไว้ว่า “ทุกคนสามารถน้อมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นหลักปฏิบตั ิในการ ดําเนินชีวิตได้โดยต้องเริม่ ต้นจากจิตสํานึก มีความศรัทธา เชื่อมั่น เห็นคุณค่าและ นําไปปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเพียงหนึ่งในหลักคิดในการ พัฒนาทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจสังคม และทุก ๆ ด้านเพียงแค่เรารูจ้ กั นํามาปรับใช้ให้ถกู วิธีก็จะเห็นผลได้อย่างชัดแจ้งไม่ว่าจะอยู่ในยุคดิจิทลั หรือยุคที่เทคโนโลยีพฒั นาก้าวไป ไกลกว่านีอ้ ีกขนาดไหน ทุกอย่างล้วนต้องอยู่บนพืน้ ฐานของความพอเพียงไม่มากไป ไม่นอ้ ยเกินไปใช้ได้ แต่ควรรูจ้ กั คําว่าพอ ไม่รบั จนไร้วิจารณญาณแต่ก็ไม่ปิดกัน้ จนเป็ น คนล้าสมัย เพียงแค่เราจัดการให้มนั อยู่ตรงกลางได้ไม่ว่าจะเป็ นเศรษฐกิจ หรือสังคมก็ จะมีความสุขได้เหมือนกัน” ที่มา: http://optimise.kiatnakinphatra.com/cover_story_10.php ๒. เศรษฐกิจพอเพียงกับคนรุ่นใหม่ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในยุค เศรษฐกิจดิจิทลั และเป็ นประโยชน์ตอ่ การดําเนินชีวิตของคนรุน่ ใหม่อย่างมาก ดังนี ้ ่ อเพียง ๒.๑) ผู้บริโภคทีพ ผูบ้ ริโภคสามารถซือ้ สินค้าและบริการที่ตอ้ งการได้สะดวกรวดเร็ว แต่ก็อาจถูก ชักชวนให้อยากซือ้ อยากมีในสิ่งที่อาจจะไม่จาํ เป็ นหรือเกินตัวได้ง่ายมากขึน้ ผูบ้ ริโภคต้องมีสติมากขึน้ ในการที่จะ รูว้ ่าความพอเพียงพอประมาณของ ตนอยู่ท่ีจดุ ไหน ที่มา: https://www.sanook.com/campus/1391425/ ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการซือ้ สินค้าผ่านทางโลกออนไลน์ ดังนี ้ ความพอประมาณ การซือ้ ของออนไลน์ไม่ใช่ส่ิงไม่ดีหรือห้ามซือ้ แต่ก่อน ซือ้ ควรสํารวจว่าเรามีสินค้าที่ใกล้เคียงกันแล้วหรือยัง ถ้ามีแล้วก็ไม่ควรซือ้ ความมีเหตุผล หากเราต้องซือ้ จริงๆ ควรพิจารณาเหตุผลถึงเรื่องของ ความ “จําเป็ น” ว่ามีเหตุผลมากแค่ไหนที่จะต้องซือ้ แนะนําให้เขียนมาเป็ น ข้อ ๆ หากพิจารณาแล้วว่าควรซือ้ ก็ซอื ้ แต่หากคิดว่าซือ้ แล้วยังไม่คมุ้ ก็ยงั ไม่ ต้องซือ้ มีภมู ิค้ ุมกันในตัวทีด่ ี หมายถึง การอดทนต่อแรงยั่วยุ หลายครัง้ ที่เราซือ้ สินค้าออนไลน์ดว้ ยความอยากได้ หรือตามคนอื่นให้ทนั พอได้มาจริง ๆ ก็ ไม่ได้ใช้ จนต้องมาถามตัวเองว่าซือ้ มาทําไม ดังนัน้ ควรสร้างภูมิคมุ้ กันในตัว ที่ดี มีแตกต่างคนอื่นไม่ได้หมายความว่าคุณค่าเราจะลดลง ่ อเพียง ๒.๒) ผู้ผลิตหรือผู้ขายทีพ ผูผ้ ลิตในระบบเศรษฐกิจดิจิทลั มีเทคโนโลยีเป็ นตัวช่วยลดค่าใช้จ่ายในการผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้า รวมถึงสามารถสร้างสินค้าและบริการรูปแบบใหม่ ๆ ได้ ผูผ้ ลิตควรใช้ตวั ช่วยเหล่านีส้ ร้างสรรค์สินค้าและบริการที่จะเป็ นประโยชน์ตอ่ ผูบ้ ริโภค ต่อสังคม ไม่ใช่เพื่อสร้างสิ่งมอมเมาให้ผบู้ ริโภคมาซือ้ มาก ๆ เพื่อให้ ผูผ้ ลิตได้กาํ ไรสูงสุดโดยปราศจากคุณธรรม ที่มา: https://www.sanook.com/campus/1391425/ เศรษฐกิจพอเพียงแบบพืน้ ฐานในขั้นที่ ๑ เน้นความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัว บุคคลและสมาชิกในครอบครัวมีความพอประมาณในการกิน มีอาหารในการบริโภคเพียงพอ ครอบครัวมีปัจจัยสี่ มีความเป็ นอยู่และคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ดํารงชีวติ ในวิถที ไี่ ม่ประมาท รู้จักพึง่ ตนเอง แบ่งปั นช่วยเหลือคนในครอบครัวและคนอืน่ ๆ สอดคล้องกับหลักการทรงงาน “ระเบิดจากข้างใน” ที่มา: http://cs.udru.ac.th/58040234131/por6.html “ระเบิดจากข้างใน” สร้างแรงผลักดันจากภายใน ส่งเสริมให้ "พึง่ ตนเอง" ระเบิดจากข้างใน หมายความว่า ต้องมุ่ง พัฒนาเพือ่ สร้างความเข้มแข็งให้คนและ ครอบครัวในชุมชนทีเ่ ข้าไปพัฒนาให้มี สภาพพร้อมทีจ่ ะรับการพัฒนาเสียก่อน แล้วจึงค่อยออกมาสู่สังคมภายนอก มิใช่ การนําเอาความเจริญจากสังคมภายนอก เข้าไปหาชุมชนและหมู่บา้ น ซึง่ หลาย ชุมชนยังไม่ทนั ได้มโี อกาสเตรียมตัวหรือ ตัง้ ตัว จึงไม่สามารถปรับตัวได้ทนั กับ กระแสการเปลีย่ นแปลงและนําไปสู่ความ ล่มสลายได้ ที่มา: http://www7.djop.go.th/ksid/attach/news_1531378984ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ย่งั ยืน.pdf เศรษฐกิจพอเพียงแบบพืน้ ฐานในขั้นที่ ๒ เน้นความพอเพียงระดับชุมชน เป็ นการรวมกลุ่มของคนในชุมชนเพือ่ ทําธุรกิจในลักษณะของ เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ในรู ปกลุ่มหรือสหกรณ์เพือ่ ร่วมกันดําเนินงาน ในด้านต่างๆ ด้านการผลิต การตลาด ความเป็ นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคมและศาสนา ที่มา:https://pinkanakorn01.blogspot.com/2017/02/blog-post.html ๓. การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับชุมชน “การสร้ างพลังชุมชนให้ เข้ มแข็ง ยืนหยัดได้ ด้วยตัวเอง โดยใช้ ความรู้ คุณธรรม เป็ นพืน้ ฐานและพัฒนาไปตามลําดับอย่างเป็ น ขัน้ ตอนเพือ่ รากฐานการพัฒนาทีย่ ่ังยืน” คือเป้าหมายหลักในการทรงงานตลอด ๗๐ ปี ของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ ๙) ชุมชนที่มีความเป็ นบูรณาการและความเข้มแข็งในด้านมิติตา่ ง ๆ ประกอบด้วย ๓.๑ มิตดิ า้ นเศรษฐกิจ การที่คนในชุมชนมีสติในการใช้จ่าย โดยนําหลัก ความมีเหตุผลมาเป็ นหลักคิดในด้านต่าง ๆ ดังนี ้ ๓.๑.๑ การใช้จ่าย เพื่อให้ใช้จ่ายพอเหมาะพอประมาณ ๓.๑.๒ การเก็บออมเงิน เพื่อสร้างความมั่นคงในชีวิต ๓.๑.๓ การประหยัด ๓.๑.๔ การผลิตสินค้าของชุมชน ที่สอดคล้องกับตลาด ทรัพยากร ในท้องถิ่น ภูมิปัญญาในท้องถิ่นที่สืบทอดต่อกันมา ตลอดจนภูมิสงั คม ๓.๒. มิตดิ า้ นสังคม เน้นการอยู่ร่วมกันของคนในชุมชน โดยการปลูกฝั งคุณธรรม ช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน การเสียสละ ความสามัคคี การมีจิตอาสา การลด ละ เลิกอบายมุข โดยผ่านทางกิจกรรมกลุม่ ต่างๆ จัดตัง้ ศูนย์การเรียนรู้ขนึ้ ในชุมชน เพื่อสร้างเป็ นเครือข่ายชุมชนที่ เข้มแข็ง ที่มา: http://ularn037.blogspot.com/2013/11/blog-post_28.html ที่มา: https://sites.google.com/site/lalida642tu77/karna-hlak-prachya-sersthkic-phx-pheiyng-ma-chi-ni-kar-darng-chiwit ๓.๓. มิตดิ ้านสิ่งแวดล้อม คนในชุมชนช่วยกันอนุรักษ์และฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติทมี่ ีในชุมชน เพื่อให้เกิดความสมดุลของการอยู่รว่ มกันได้ระหว่างคนในชุมชนกับ ทรัพยากรธรรมชาติ มีการปลูกฝั งจิตสํานึกร่วมกับการจัดอบรมให้ความรู้ในด้านต่าง ๆ ของ ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อที่คนในชุมชนรูจ้ กั สงวนรักษาทรัพยากรที่มีอยู่ใน ชุมชนให้ใช้ได้อย่างยั่งยืน ๓.๔. มิตดิ ้านวัฒนธรรม คนในชุมชนจําเป็ นต้องร่วมกันช่วยสืบสาน ส่งเสริม ทํานุบาํ รุง และปลูกฝั งจิตสํานึกสิ่งเหล่านีส้ ืบเนื่องกันต่อไป เพื่อให้คนในชุมชนเกิด ความตระหนักถึงคุณค่า เกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมและสร้าง จิตสํานึกรักบ้านเกิดของตน ที่มา: https://news.mthai.com/pr-news/687701.html ๔. ตัวอย่างการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ในชุมชน ๔.๑) การรวมกลุ่ม เช่น จัดตัง้ สหกรณ์เพื่อการผลิต การตลาด การจัดการ การมีสวัสดิการด้านการศึกษา และการพัฒนาสังคม โดยมุง่ เน้นความพอเพียงระดับชุมชนและองค์กร ที่มา: https://www.sanook.com/women/11210/ ๔.๒) การสร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพและทํากิจกรรมในพืน้ ทีใ่ ห้ หลากหลาย ที่มา: http://www.culture.go.th/culture_th/hall/rule.html ๔.๓) การมีสวัสดิการทีจ่ าํ เป็ นในชุมชน ได้แก่ สถานีอนามัย กองทุนกูย้ ืม ที่มา: https://www.ayutthayacity.go.th/th/news/detail/93.html ที่มา: https://cities.trueid.net/bangkokกองทุนหมู่บา้ น-แหล่งเงินกูด้ อกเบีย้ ถูก-ที่ควรศึกษา-trueidintrend_130535 ๔.๔) การส่งเสริมการศึกษา เช่น ทุนการศึกษา จัดตัง้ โรงเรียน มีหอ้ งสมุดเพื่อการเรียนรู ้ ที่มา: https://www.isranews.org/isranews/3299-นพ-ประเวศ-หนุนสร้างชมรมรักการอ่าน-ผุดห้องสมุดหมู่บา้ นที่อดั แน่นไปด้วยหนังสือดี.html ที่มา: http://www.educationnews.in.th/26272.html ๔.๕) ส่งเสริมและพัฒนาด้านคุณธรรมในการดําเนินชีวติ ๔.๖) ส่งเสริมให้มตี ลาดนัดในชุมชนเพือ่ เป็ นแหล่งแลกเปลี่ยน จําหน่ายสินค้าในชุมชน ที่มา: https://district.cdd.go.th/samrongthap/services/ฐานข้อมูลรวมกลุม่ เป้าห/ ๕. การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประเทศ เศรษฐกิจพอเพียงแบบพืน้ ฐานในขัน้ ที่ ๓ การสร้างเครือข่ายซึง่ เป็ นความพอเพียงแบบก้าวไกล เป็ นการพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทัง้ มิติดา้ นวัตถุ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถพัฒนาไปสูก่ ารสร้างเครือข่ายระหว่างชุมชนต่าง ๆ เพื่อให้คนใน ชุมชนได้รบั การพัฒนาให้เข้มแข็ง และมีรายได้เพิ่มขึน้ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศก็จะสามารถเติบโตไปได้อย่างมีเสถียรภาพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงให้ ความสําคัญกับ “การพัฒนาคน” ในการดําเนินชีวิตอย่างมั่นคง บนพืน้ ฐานของการพึง่ ตนเอง พึง่ พาอาศัยกันและกัน นําไปสูก่ าร พัฒนาประเทศชาติท่ยี ่ งั ยืน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ (ฉบับปั จจุบนั พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) ให้ความสําคัญกับการเชื่อมโยงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับเป้าหมาย การพัฒนาที่ย่ งั ยืน การดําเนินกิจกรรมต้องตัง้ อยู่บนฐานความรูโ้ ดยเฉพาะความรอบรูใ้ น “ภูมิสังคม” การดําเนินกิจกรรมร่วมกับการมีคณ ุ ธรรมภายใต้หลักการของ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภมู ิคุ้มกัน เพื่อนําไปสู่ เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ งั ยืน ๖. แนวทางการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในระดับประเทศ ความพอประมาณ โดยการส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน หน่วยงาน ภาครัฐ และธุรกิจภาคเอกชน พึง่ พาตนเอง ไม่ก่อหนีส้ ิน ความมีเหตุผล ในแง่ของการลงทุนเพื่อการพัฒนาของรัฐบาล ต้องมี ความคุม้ ค่า และการกําหนดนโยบายต้องคํานึงถึงผลกระทบระยะยาว มากกว่าระยะสัน้ การมีภมู ิคุ้มกันทีด่ ี เช่น ด้านเศรษฐกิจ จําเป็ นต้องมีแผนรองรับความ เสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ โดยมีระบบเตือนภัยล่วงหน้า ด้านสังคม รัฐต้องมีนโยบายดูแลผูเ้ ดือดร้อนต่าง ๆ เงือ่ นไขความรู้ ควรส่งเสริมให้ประชาชนได้รบั ข้อมูลข่าวสารที่ถกู ต้อง ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ เงือ่ นไขคุณธรรม ได้แก่ การส่งเสริมระบบคุณธรรมความซื่อสัตย์สจุ ริต การลดปั ญหาทุจริตคอร์รปั ชั่นส่งเสริมธรรมภิบาลของภาครัฐ ที่ มา: https://sites.google.com/site/09277patcharaporn/karna-hlak-prachya-sersthkic-phx-pheiyng-ma-chi-ni-kar-darng-chiwit ตัวอย่างการสร้างนโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก” สามารถทําให้ประสบความสําเร็จได้ เนื่องจากประเทศไทยเป็ นประเทศ ผูผ้ ลิตสินค้าทางการเกษตร โดยเฉพาะสินค้าอาหารที่มีตลอดทัง้ ปี สามารถทําในรู ปของธุรกิจทีม่ ีผลตอบแทนกําไรในระยะยาว เนื่องจาก วัตถุดิบส่วนใหญ่มีอยู่แล้วในท้องถิ่น สอดคล้องกับสภาพภูมิสงั คมในท้องถิ่น ที่มา: https://www.thaitradeusa.com/home/?p=25496 ลําดับขั้นของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทีม่ า: สถาบันไทยพัฒน์ (๒๕๖๒) บทส่งท้าย หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาปรับประยุกต์ใช้ในทุก กิจกรรมของชีวิตทัง้ ในระดับบุคคล ระดับชุมชน ระดับองค์กร และระดับประเทศ เน้น “คน” ให้เป็ นศูนย์กลางของการพัฒนาโดยอยู่บนพืน้ ฐานเงื่อนไข ความรูโ้ ดยเฉพาะความรอบรูใ้ น “ภูมิสังคม” การมีคณ ุ ธรรมร่วมกับหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมี ภูมิคมุ้ กันที่พร้อมรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึน้ เช่น การ เปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกาภิวฒ ั น์ท่ีก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่ สังคมไทยในทุกด้าน ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและ สิ่งแวดล้อมก็ตาม