หน่วย 6 บรรยากาศ 2 PDF
Document Details
![ThinnerOctagon2542](https://quizgecko.com/images/avatars/avatar-12.webp)
Uploaded by ThinnerOctagon2542
Silpakorn University
Tags
Summary
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องบรรยากาศ เล่ม 2 หน่วยที่ 6 โดยให้ข้อมูลเกี่ยวกับพายุฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน รวมถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
Full Transcript
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ที่มา NOAA การหยุดนิ่งอยู่กับที่หรือการเคลื่อนที่ของอากาศ เรียกว่า เสถียรภาพของอากาศ (air stability) สภาวะดังกล่าวจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิ ความดัน ความชื้น ลม และปัจจัยอื่น ๆ ก้อนอากาศไม่เสถียร (ยกตัว) ก้อนอากาศไม่เสถียร (จมตัว) ก้อนอากาศเสถ...
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ที่มา NOAA การหยุดนิ่งอยู่กับที่หรือการเคลื่อนที่ของอากาศ เรียกว่า เสถียรภาพของอากาศ (air stability) สภาวะดังกล่าวจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิ ความดัน ความชื้น ลม และปัจจัยอื่น ๆ ก้อนอากาศไม่เสถียร (ยกตัว) ก้อนอากาศไม่เสถียร (จมตัว) ก้อนอากาศเสถียร (ลอยนิ่ง) การยกตัว จมตัว และลอยนิ่งของก้อนอากาศ พายุฝนฟ้าคะนอง (thunder storm) เกิดจากเมฆคิวมูโลนิมบัส (cumulonimbus) มีขอบเขตการก่อตัวแคบ คงอยู่ไม่นาน มีฝนตก ลมกระโชก และฟ้าผ่า สามารถพบทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะฤดูร้อนและฤดูฝน 1 2 3 ระยะเกิดเมฆ ระยะเกิดพายุ ระยะสลายตัว ก้อนอากาศที่มีไอน้าลอยสูงขึ้น เมฆมีสีคล้า เกิดลมกระโชก เมฆมีสีอ่อนลง ขนาดเล็กลง และก่อตัวเป็นเมฆขนาดใหญ่ กระแสอากาศพัดขึ้น-ลงอย่างรวดเร็ว กระแสอากาศและหยาดน้าฟ้า อาจมีหยาดนา้ ฟ้าและฟ้าผ่า อ่อนกาลังลง ฟ้าผ่า (lightning) คือการถ่ายโอนประจุไฟฟ้าภายในก้อนเมฆ ระหว่างก้อนเมฆ และระหว่างก้อนเมฆกับพื้นดิน แสงวาบของฟ้าผ่าเรียกว่า ฟ้าแลบ (flash) ส่วนเสียงดังของฟ้าผ่าเรียกว่า ฟ้าร้อง (thunder) ฟ้าผ่าภายในก้อนเมฆ ฟ้าผ่าจากยอดเมฆลงสู่พื้นดิน ฟ้าผ่าระหว่างก้อนเมฆ ฟ้าผ่าจากฐานเมฆลงสู่พื้นดิน ประเภทของฟ้าผ่า พายุฝนฟ้าคะนองขนาดใหญ่ที่มีการ หมุนเวียนของอากาศภายในอย่างปั่นป่วน สามารถแยกตัวออกเป็นพายุฝนฟ้าคะนอง ที ่ ม ี ข นาดเล็ ก ลงจ านวน 2 ลู ก เรี ย กว่ า การแยกตัวของพายุ (splitting storm) ที่มา NOAA Android IOS https://www.aksorn.com/interactive3D/i600122 พายุหมุนเขตร้อน (tropical cyclone) ก่อตัวเหนือมหาสมุทรที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 26 องศาเซลเซียส มีความชื้น มาก และมีการเคลื่อนที่ของอากาศรอบจุดศูนย์กลางที่เหมาะสม พายุหมุนเขตร้อนจะมีขนาดใหญ่ คงอยู่เป็นเวลานาน และสามารถมองเห็นได้จากอวกาศ อากาศร้อนลอยตัวขึ้น อากาศบริเวณรอบข้างไหลเข้ามาแทนที่ พายุหมุนเขตร้อนประกอบด้วยแกนของอากาศที่กาลังหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว โดยมีกลุ่มเมฆ กระแสลม และแถบฝนล้อมอยู่โดยรอบ บริเวณศูนย์กลางของพายุหมุนเขตร้อนจะมีท้องฟ้าโปร่ง เมฆน้อย และลมพัดเบา มวลอากาศร้อน มวลอากาศเย็น กำแพงตำพำยุ eye wall) ( กาแพงตาพายุ (eye wall) ตำพำยุ ( eye) ตาพายุ (eye) แถบฝน ( rainbands) แถบฝน (rainbands) ดีเปรสชันเขตร้อน พายุโซนร้อน พายุไต้ฝุ่น (tropical depression) (tropical storm) (typhoon) มีความเร็วไม่เกิน 33 นอต มีความเร็วลม 34 – 63 นอต มีความเร็วลม 64 นอต ขึ้นไป (61 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) (62 – 117 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) (118 กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป) พายุหมุนเขตร้อนได้รับอิทธิพลจากการหมุนรอบตัวเองของโลก การเคลื่อนที่จึงไม่เป็นเส้นตรง เมื่อมองจากอวกาศ พายุหมุนเขตร้อนจะหมุนทวนเข็มนาฬิกาที่ซีกโลกเหนือและหมุนตามเข็มนาฬิกาที่ซีกโลกใต้ พายุหมุนเขตร้อนที่ซีกโลกเหนือ หมุนทวนเข็มนาฬิกา พายุหมุนเขตร้อนที่ซีกโลกใต้ หมุนตามเข็มนาฬิกา ทิศทางการหมุนรอบตัวเองของโลก พายุหมุนเขตร้อนทาให้เกิดลมกระโชก ผิวน้าทะเลนูนขึ้น และคลื่นสูง เรียกว่า น้าขึ้นจากพายุ (storm surge) ซึ่งเป็นสาเหตุอย่างหนึ่งที่ทาให้เกิดการกัดเซาะชายหาดและชายฝั่ง (beach and coastal erosion) ลมกระโชก จากพายุหมุนเขตร้อน น้าขึ้นจากพายุ ระดับน้าทะเลขณะน้าขึ้น ระดับน้าทะเลปานกลาง ชายหาดที่มีสิ่งก่อสร้างจะได้รับผลกระทบจากคลื่นทะเลอย่างรวดเร็วเมื่อเทียบกับชายหาดที่ไม่มีสิ่งก่อสร้าง เนื่องจากคลื่นขนาดใหญ่ที่เข้ากระทบสิ่งก่อสร้างอย่างรุนแรงจะเกิดการสะท้อนกลับ แล้วลากตะกอนบนชายหาดลง สู่ทะเล ชายหาดจึงได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง ส่วนชายหาดที่ไม่มีสิ่งก่อสร้างจะค่อย ๆ ลดแรงปะทะของคลื่น ทาให้คลื่นสลายไปอย่างช้า ๆ คลื่นพายุซัดฝั่ง ที่มา NOAA คลื่นกัดเซาะถนนบนหาดทราย พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่จะมีพลังงานลดลงเมื่อเคลื่อนที่ขึ้นฝั่ง เพราะบนพื้นดินมีความชื้นน้อยและมีสิ่งกีดขวางมาก ความเสียหายน้อย พายุหมุนเขตร้อนบางลูกจะมีพลังงานเท่าเดิม เพราะบนพื้นดินมีความชื้นมากและมีสิ่งกีดขวางน้อย เรียกว่า ปรากฏการณ์ มหาสมุทรสีน้าตาล (brown ocean effect) ความเสียหายมาก เมื่อพายุหมุนเขตร้อน 2 ลูกเคลื่อนที่เข้าใกล้กันเป็นระยะทางน้อยกว่า 1,400 กิโลเมตร พายุหมุนเขตร้อนทั้ง 2 ลูกจะ สามารถเคลื่อนที่มารวมกันและมีขนาดใหญ่ขึ้น เรียกว่า ปรากฏการณ์ฟูจิวาระ (Fujiwhara Effect) สิ่งที่ควรปฏิบัติ ก่อนเกิดพายุ ขณะเกิดพายุ หลังเกิดพายุ เรียนรู้วิธีปฏิบัติตนขณะเกิดพายุ มีสติ ไม่ตื่นตระหนก ตรวจสอบความปลอดภัยของตนเอง จัดเตรียมสิ่งของที่จาเป็น หลบอยู่ในสถานที่ปลอดภัย และคนรอบข้าง ติดตามข่าวสารการพยากรณ์อากาศ ปิดอุปกรณ์ที่อาจทาให้เกิดอันตราย ตรวจสอบความปลอดภัยของสถานที่ หลบภัย ติดต่อขอความช่วยเหลือ ติดตามข่าวสาร ตัวอย่างการปฏิบัติตนขณะมีฟ้าผ่าและลมกระโชก ไม่หลบอยู่ใต้ต้นไม้ เสาไฟฟ้า หรือป้ายโฆษณา เมื่ออยู่กลางแจ้งควรนั่งยองและปิดหู ควรหลบอยู่ในบ้านที่แข็งแรง Android IOS https://www.aksorn.com/interactive3D/ib00101 จับคู่รูปภาพกับข้อความให้ถูกต้อง พายุหมุนเขตร้อน เมฆคิวมูโลนิมบัส การกัดเซาะชายฝั่ง ฟ้าผ่าจากฐานเมฆสู่พื้นดิน การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาข้างหน้า การพยากรณ์อากาศ จะมีความแม่นยามากขึ้นหากทราบสภาพอากาศอย่างครอบคลุมในพื้นที่นั้น ๆ รวมถึงสภาพอากาศในช่วงเวลาที่ผ่านมา เกณฑ์อุณหภูมิอากาศ เกณฑ์อากาศร้อน ใช้อุณหภูมิสูงสุดของวันในหน่วยองศาเซลเซียสของช่วงฤดูร้อนเป็นเกณฑ์ อากาศร้อน (hot) อากาศร้อนจัด (very hot) 35 – 39.9 40.0 ขึ้นไป การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาข้างหน้า การพยากรณ์อากาศ จะมีความแม่นยามากขึ้นหากทราบสภาพอากาศอย่างครอบคลุมในพื้นที่นั้น ๆ รวมถึงสภาพอากาศในช่วงเวลาที่ผ่านมา เกณฑ์อุณหภูมิอากาศ เกณฑ์อากาศเย็น ใช้อุณหภูมิต่าสุดของวันในหน่วยองศาเซลเซียสของช่วงฤดูหนาวเป็นเกณฑ์ อากาศเย็น (cool) อากาศค่อนข้างหนาว อากาศหนาว (cold) อากาศหนาวจัดมาก 18.0 – 22.9 (moderately cold) 8.0 – 15.9 (very cold) 16.0 – 17.9 7.9 ลงไป น้อยกว่า 20 ฝนบางพื้นที่ (% ของพื้นที)่ การกระจายของฝน 20-40 ฝนกระจายบางพื้นที่ เกณฑ์สถานะของทะเล 40-60 ฝนกระจาย 60-80 ฝนเกือบทั่วไป เกณฑ์การกระจายของฝน 80 เป็นต้นไป ฝนทั่วไป ลักษณะ ปริมาณฝน (มิลลิเมตร) 0.1-10.0 ฝนเล็กน้อย 10.1-35.0 ฝนปานกลาง 35.1-90.0 ฝนหนัก เกณฑ์ปริมาณฝน 90.1 ขึ้นไป ฝนหนักมาก ลักษณะ เกณฑ์การกระจายฝนและปริมาณฝน แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของคลื่นบนผิวน้าทะเลกับลักษณะของทะเล ความสูงของคลื่น (เมตร) ลักษณะทะเล เกณฑ์ปริมาณเมฆบนท้องฟ้า การแบ่งท้องฟ้าทีม่ องเห็นออกเป็น 10 ส่วน แล้วสังเกตปริมาณเมฆที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า แบ่งออกเป็นหลายระดับ ได้แก่ ท้องฟ้าแจ่มใส ท้องฟ้าโปร่ง ท้องฟ้ามีเมฆบางส่วน น้อยกว่า 1/10 ของท้องฟ้า มากกว่า 1/10 ถึง 3/10 มากกว่า 3/10 ถึง 5/10 ลมพัดสอบ (convergence) ฟ้าหลัว (haze) ลม 2 บริเวณใกล้พื้นผิวโลกที่เบียดตัวกัน ทาให้ ลักษณะอากาศที่มีอนุภาคเกลือทะเล ควันไฟ หรือ อากาศลอยขึ้นด้านบน มักจะเกิดเมฆและฝน ฝุ่นละอองจานวนมาก คุณภาพอากาศและทัศนวิสัย ในการมองเห็นจึงลดลงจากค่าปกติ บริเวณความกดอากาศสูง (high pressure area, H) บริเวณความกดอากาศต่า (low pressure area, L) บริเวณที่มีน้าหนักของอากาศสูงกว่าบริเวณรอบข้าง บริเวณที่มีน้าหนักของอากาศต่ากว่าบริเวณรอบข้าง ลมมีทิศพัดออกจากจุดศูนย์กลาง มักจะมีอากาศแจ่มใส ลมมีทิศพัดเข้าสู่จุดศูนย์กลาง มักจะมีเมฆมากและฝนตก บริเวณความกดอากาศต่า (L) ที่ซีกโลกเหนือ บริเวณความกดอากาศสูง (H) ที่ซีกโลกเหนือ ลมจะหมุนทวนเข็มนาฬิกา ลมจะหมุนตามเข็มนาฬิกา บริเวณความกดอากาศสูง (H) ที่ซีกโลกใต้ บริเวณความกดอากาศต่า (L) ที่ซีกโลกใต้ ลมจะหมุนทวนเข็มนาฬิกา ลมจะหมุนตามเข็มนาฬิกา ร่องมรสุม (monsoon trough) อาจเรียกว่า ร่องฝน หรือร่องความกดอากาศต่า หมายถึงบริเวณที่หย่อมความกดอากาศต่าหลายแห่งพาด เรียงต่อกันเหนือพื้นผิวโลก ทาให้มีเมฆมากและฝนตกชุก ร่องมรสุมช่วงฤดูหนาว เคลื่อนที่ลงตามแนวโคจร ร่องมรสุมช่วงฤดูร้อน เคลื่อนที่ขึ้นตามแนวโคจร ของโลกรอบดวงอาทิตย์ ของโลกรอบดวงอาทิตย์ การตรวจอากาศจะถูกดาเนินการตั้งแต่ระดับพื้นผิวโลก บนท้องฟ้า ไปจนถึงนอกโลก โดยอาศัยอุปกรณ์ต่าง ๆ แล้ว แสดงผลออกมาในรูปของข้อมูลที่เข้าใจง่าย ได้แก่ เรดาร์ตรวจอากาศ แผนที่กลุ่มฝน ที่มา กรมอุตุนิยมวิทยา สถานีตรวจอากาศ แผนที่อากาศผิวพื้น ที่มา กรมอุตุนิยมวิทยา บอลลูนตรวจอากาศ แผนที่ลมชั้นบน ที่มา NOAA ที่มา กรมอุตุนิยมวิทยา ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ภาพถ่ายดาวเทียม ที่มา กรมอุตุนิยมวิทยา คือ แผนที่แสดงลักษณะของลมฟ้าอากาศด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ สัญลักษณ์บ่งบอกปริมาณเมฆ ทิศทางและความเร็วลม ทิศทำงลม ทิศทางลม ปริมำณเมฆ ปริมาณเมฆ ควำมเร็วลม ความเร็วลม อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ตัวเลขแสดงค่าอุณหภูมิอากาศที่วัดได้ เขียนไว้ด้านบน มวลอากาศที่กดทับบนพื้นผิวโลก แบ่งออกเป็นความกดอากาศสูง ของสัญลักษณ์ปริมาณเมฆ (H) และความกดอากาศต่า (L) เส้นที่ลากผ่านจุดที่มีความกดอากาศ เท่ากัน เรียกว่า เส้นความกดอากาศเท่า หรือ เส้นไอโซบาร์ (isobar) เส้นไอโซบาร์ แผนที่อากาศของผิวพื้นของวันที่ 14 มีนาคม 2566 วิธีแนวโน้ม (trend method) อาศัยลักษณะของลมฟ้าอากาศ ณ ปัจจุบัน พยากรณ์อากาศไม่กี่ชั่วโมงหรือไม่กี่วันข้างหน้า วิธีภูมิอากาศ (climate method) อาศัยข้อมูลภูมิอากาศในช่วงหลายปีที่ผ่านมา พยากรณ์อากาศหลายวันข้างหน้า วิธีเชิงตัวเลข (numerical method) อาศัยแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ พยากรณ์อากาศไม่เกิน 14 วันข้างหน้า ระยะเวลาของการพยากรณ์อากาศ แบ่งออกเป็น การพยากรณ์ระยะสั้น มีขอบเขตไม่เกิน 3 วัน การพยากรณ์อากาศระยะปานกลาง มีขอบเขตระหว่าง 3 - 10 วัน การพยากรณ์อากาศระยะนาน มีขอบเขตมากกว่า 10 วัน ทาไมบางครั้งการพยากรณ์อากาศจึงแม่นบ้าง ไม่แม่นบ้าง? ระบบอากาศของโลกมีขนาดใหญ่ ซับซ้อน และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ข้อมูลเกี่ยวกับบรรยากาศโลกและประสิทธิภาพของแบบจาลอง มีจากัด จานวนสถานีตรวจวัด ช่วงเวลาที่ตรวจวัด และความแม่นยาของการตรวจวัด มีจากัด ข้อมูลจากการพยาการณ์อากาศสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในหลายด้าน เช่น วางแผนการเดินทาง กักเก็บน้าสาหรับทานา เตือนภัยก่อนเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง บันทึกลักษณะลมฟ้าอากาศเพื่อพยากรณ์ภูมิอากาศในอนาคต การตรวจสอบสมมติฐาน ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน แล้วศึกษารายงานการพยากรณ์อากาศจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ เว็บไซต์ แอปพลิเคชัน ที่น่าเชื่อถือ แล้วบันทึกลักษณะของลมฟ้าอากาศ ณ ช่วงเวลาเดียวกันใน ภูมิภาคที่นักเรียนอาศัยอยู่ เป็นระยะเวลา 6 วันติดต่อกัน การตรวจสอบสมมติฐาน วิเคราะห์ลักษณะของลมฟ้าอากาศที่บันทึกได้ แล้วพยากรณ์ล่วงหน้าว่าลมฟ้าอากาศของวันพรุ่งนี้จะเป็นอย่างไร การตรวจสอบสมมติฐาน นาเสนอผลการพยากรณ์อากาศที่นักเรียนวิเคราะห์ที่หน้าชั้นเรียน แล้วเปรียบเทียบกับลักษณะของลมฟ้า อากาศตามความเป็นจริง ว่าเหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร การรวบรวมข้อมูล ภูมิภาคที่อาศัยอยู่ ขึ้นอยู่กับสถานที่ที่ทากิจกรรม แหล่งข้อมูลทีส่ ืบค้น ขึ้นอยู่กับแหล่งข้อมูลที่เลือก วัน/เดือน/ปี อุณหภูมิต่าสุด อุณหภูมิสูงสุด ความชื้น (%) การกระจายของฝน ความสูงของคลื่น (องศาเซลเซียส) (องศาเซลเซียส) (%) (เมตร) 1/1/66 21 36 64 18 - 2/1/66 22 36 68 11 - 3/1/66 23 35 61 12 - 4/1/66 24 37 65 15 - 5/1/66 25 35 66 16 - 6/1/66 26 34 69 17 - ค่าของข้อมูลขึ้นอยู่กับสถานที่และช่วงเวลาที่ทากิจกรรม การวิเคราะห์ข้อมูล แนวตอบ: ลักษณะลมฟ้าอากาศในวันที่ 7 น่าจะมีค่าใกล้เคียงกับวันที่ 6 เนื่องจากทาการเก็บข้อมูลในสถานที่และช่วงเวลาเดียวกัน ลักษณะลมฟ้าอากาศของวันที่ 7 ตามความเป็นจริง วัน/เดือน/ปี อุณหภูมิต่าสุด อุณหภูมิสูงสุด ความชื้น (%) การกระจายของฝน ความสูงของคลื่น (องศาเซลเซียส) (องศาเซลเซียส) (%) (เมตร) 7/1/66 23 33 71 19 - ค่าของข้อมูลขึ้นอยู่กับสถานที่และช่วงเวลาที่ทากิจกรรม การสรุปผล แนวตอบ: ลักษณะลมฟ้าอากาศแต่ละวันในสถานที่และช่วงเวลาเดียวกันจะมีแนวโน้มคล้ายกัน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (climate change) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงรูปแบบลักษณะของลมฟ้าอากาศ (weather) ที่เคยดาเนินอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 30 ปี ที่มา SEEC สำเหตุจ ำกธรรมชำติ สาเหตุจากมนุษย์ สาเหตุจากธรรมชาติ การทาลายป่า การผลิตไฟฟ้า การทาอุตสาหกรรม การคมนาคมและการขนส่ง สำเหตุจ ำกมนุษย ์ สาเหตุจากมนุษย์ สาเหตุจากธรรมชาติ การปะทุของภูเขาไฟ การตกปะทะของอุกกาบาต การเปลี่ยนแปลงวงโคจรของโลก การเปลี่ยนแปลงปริมาณแสงอาทิตย์ อุณหภูมิของบรรยากาศโลกเกิดจากการรับและการปล่อยพลังงานความร้อนทีม่ าจากดวงอาทิตย์ โดยพลังงานที่โลกได้รับจะมีค่า เท่ากับพลังงานที่โลกปล่อยออกมา แสงอาทิตย์สะท้อนกับเมฆ แสงอาทิตย์สะท้อนกับพื้นผิวโลก แสงอาทิตย์ถูกพื้นผิวโลกดูดกลืน พื้นผิวโลกคายรังสีความร้อนออกสู่บรรยากาศ บรรยากาศดูดกลืนรังสีความร้อนแล้วคายกลับสู่พื้นผิวโลก ปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) คือสภาวะที่แก๊สต่าง ๆ ในบรรยากาศช่วยดูดกลืนพลังงานความร้อน จากดวงอาทิตย์เอาไว้ แล้วคายพลังงานความร้อนส่วนหนึ่งกลับคืนสู่อวกาศ ท าให้อุณหภูมิของโลกมีค่าค่อนข้างคงที่ หากไม่มีปรากฏการณ์ดังกล่าว อุณหภูมิของพื้นผิวโลกจะลดต่าลงจนเหลือประมาณ -18 องศาเซลเซียส การเปรียบเทียบปรากฏการณ์เรือนกระจกภายในเรือนเพาะชา (ซ้าย) กับบรรยากาศโลก (ขวา) ที่มา NASA/JPL-Caltech Android IOS https://www.aksorn.com/simulation/sci07006 สภาวะที่อุณหภูมิเฉลี่ยของบรรยากาศโลกมีค่าสูงขึ้นจนส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ภาวะโลกร้อน อาจมีสาเหตุมาจากธรรมชาติหรือกิจกรรมของมนุษย์ก็ได้ แต่หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ พบว่า การปล่อยแก๊สเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์คือสาเหตุหลักของภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน กิจกรรมของมนุษย์ทาให้เกิดการปล่อยสารเคมีจาพวกคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (chlorofluorocarbon หรือ CFCs) ชั้นโอโซนบางส่วน จึงถูกทาลาย เรียกว่า รูโหว่โอโซน (ozone hole) ทาให้รังสียูวีจากดวงอาทิตย์สอ่ งลงมาถึงพื้นผิวโลกมากขึ้น การวัดปริมาณแก๊สโอโซน ในบรรยากาศจะรายงานด้วยหน่วยด็อบสัน (Dobson unit) รูโหว่โอโซนบริเวณขั้วโลกใต้ รังสียูวีเข้าสู่ผิวโลกมากขึ้นผ่านรูโหว่โอโซน อุณหภูมิเฉลี่ยของบรรยากาศโลก อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป (องศาเซลเซียส) ปริมาณ CO2 (ต่อล้านส่วน) ปริมาณ CO2 ระดับน้าทะเล ระดับน้าทะเล (เมตร) เวลา (พันปีก่อนถึงปัจจุบัน) ที่มา John Englander แผ่นดิน บรรยากาศ มหาสมุทร ไฟป่า พายุที่รุนแรง อุณหภูมิน้าทะเลสูงขึ้น น้าท่วม / น้าแล้ง ความแปรปรวนของหยาดน้าฟ้า การเป็นกรดของมหาสมุทร การกัดเซาะชายฝั่ง คลื่นความร้อน การพร่องออกซิเจนของมหาสมุทร ธารน้าแข็ง สิ่งมีชีวิต การละลายของธารน้าแข็ง การลดลงของถิ่นอาศัยตามธรรมชาติ การเพิ่มขึ้นของระดับน้าทะเล การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ พื้นที่สะท้อนแสงอาทิตย์ลดลง การสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ภาคประชาชน ประหยัดไฟฟ้า อุปโภค-บริโภคสินค้าที่ผลิตในท้องถิ่น ภาคประชาชน ลดการบริโภคเนื้อสัตว์ ลดการทิ้งขยะ ภาคประชาชน เดิน ปั่นจักรยาน หรือเดินทาง เลือกบ้านที่ประหยัดพลังงาน ด้วยระบบขนส่งสาธารณะ ภาครัฐบาล ลดการใช้พลังงานฟอสซิล เพิ่มการใช้พลังงานหมุนเวียน ภาครัฐบาล ออกแบบเมืองให้เหมาะสมกับภูมิอากาศ ควบคุมการเผาพื้นที่ทางการเกษตร ภาครัฐบาล อนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นที่ธรรมชาติ พัฒนาเทคโนโลยีดักจับคาร์บอน ไฟป่า พายุที่รุนแรง คลื่นความร้อน น้าท่วม ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ที่มา NOAA เกิดทุกภูมิภาคในช่วงฤดูร้อน เกิดจากเมฆคิวมูโลนิมบัส ก่อตัวในบริเวณแคบ ๆ เป็นระยะเวลาสั้น ๆ มีฝนตกหนัก ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า เกิดบริเวณเหนือมหาสมุทรที่อุ่น ก่อตัวเป็นบริเวณกว้าง คงอยู่เป็นเวลานาน หมุนทวนเข็มนาฬิกาที่ซีกโลกเหนือ หมุนตามเข็มนาฬิกาที่ซีกโลกใต้ ทาให้เกิดน้าขึ้นจากพายุ น้าท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ก่อนเกิดพายุ ขณะเกิดพายุ หลังเกิดพายุ เรียนรู้วิธีปฏิบัติตนขณะเกิดพายุ มีสติ ไม่ตื่นตระหนก ตรวจสอบความปลอดภัยของตนเองและ จัดเตรียมสิ่งของที่จาเป็น หลบอยู่ในสถานที่ปลอดภัย คนรอบข้าง ติดตามข่าวสารการพยากรณ์อากาศ ปิดอุปกรณ์ที่อาจทาให้เกิดอันตราย ตรวจสอบความปลอดภัยของสถานที่หลบภัย ติดต่อขอความช่วยเหลือ ติดตามข่าวสาร เกณฑ์อุณหภูมิอากาศ เกณฑ์ลักษณะของฝน เกณฑ์สถานะของทะเล เกณฑ์ปริมาณเมฆบนท้องฟ้า เกณฑ์อากาศร้อน เกณฑ์การกระจายฝน ลักษณะทะเลเปลี่ยนแปลง แบ่งท้องฟ้าออกเป็น 10 ส่วน เกณฑ์อากาศเย็น เกณฑ์ปริมาณฝน ตามความสูงของคลื่น แผนที่แสดงลักษณะของลมฟ้าอากาศในช่วงระยะเวลาหนึ่ง 14 ใช้ตัวเลขแสดงค่าอุณหภูมิที่วัดได้ โดยเขียนไว้ด้านบนของสัญลักษณ์ปริมาณเมฆ เรียกตามทิศของเข็มทิศ เหนือ ตะวันตกเฉียงเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันตก ตะวันออก ตะวันตกเฉียงใต้ ตะวันออกเฉียงใต้ ใต้ สัญลักษณ์ ปริมาณเมฆ สัญลักษณ์ ความเร็วลม (กิโลเมตรต่อวินาที) ท้องฟ้าไม่มีเมฆ