4-ทักษะและเจตคติทางวิทยาศาสตร์.pdf.crdownload

Full Transcript

ทักษะและเจตคติทางวิทยาศาสตร์ Topic  วิธีการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะกระบวนการขั้นพื้นฐาน  ทักษะกระบวนการขั้นสู ง  เจตคติทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 5 ขั้นตอน 1. ขั้นกาหนดปัญหา (State Problem) ปั ญหาเกิดจ...

ทักษะและเจตคติทางวิทยาศาสตร์ Topic  วิธีการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะกระบวนการขั้นพื้นฐาน  ทักษะกระบวนการขั้นสู ง  เจตคติทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 5 ขั้นตอน 1. ขั้นกาหนดปัญหา (State Problem) ปั ญหาเกิดจากการสังเกตซึ่ งเป็ นขั้นตอนที่สาคัญนาไปสู่ ขอ้ เท็จจริ ง และทาให้เกิดการระบุปัญหา Penicillium chrysogenum Alexander Fleming เชื้อแบคทีเรี ยStaphylococcus aureus Penicillin วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 5 ขั้นตอน 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (Formulation of Hypothesis) ต้องเป็ นสมมติฐานที่เข้าใจง่าย มักนิยมใช้วลี "ถ้า… ดังนั้น" และ เป็ นสมมติฐานที่แนะลู่ทางที่จะตรวจสอบได้ เช่น ถ้ าอุณภูมิของน้ าสู งขึ้น ดังนั้นจะทาให้น้ าระเหยเร็ วขึ้น วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 5 ขั้นตอน 3. ขั้นตรวจสอบสมมุตฐิ าน(การทดลอง) การสังเกต การทดลอง การออกแบบการทดลอง  ตัวแปรอิสระหรื อตัวแปรต้น (Independent Variable or Manipulated Variable)  ตัวแปรตาม (Dependent Variable)  ตัวแปรที่ตอ้ งควบคุม (Control Variable) การปฏิบัติการทดลอง การบันทึกผลการทดลอง วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 5 ขั้นตอน 4. ขั้นวิเคราะห์ ข้อมูล (Analysis of Data) เป็ นขั้นที่นาข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การค้นคว้า การทดลองหรื อ การรวบรวมหรื อข้อเท็จจริ งมาทาการวิเคราะห์ผลแล้วนาไปเปรี ยบเทียบกับสมมติฐานที่ต้ งั ไว้วา่ สอดคล้องกับ สมมติฐานข้อใด วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 5 ขั้นตอน 5. ขั้นสรุ ปผล (Conclusion of Result) เป็ นขั้นตอนที่นาเอาข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนของการรวบรวมข้อมูลแล้ว มาสรุ ป พิจารณาว่า ผลสรุ ปนั้นเหมือนกับสมมติฐานที่ต้ งั ไว้หรื อไม่ ถ้าเหมือนกับสมมติฐานที่ต้ งั ไว้ สมมติฐาน จะกลายเป็ นทฤษฎี และทฤษฎีน้ นั ก็สามารถนาไปอธิ บายข้อเท็จจริ งหรื อเหตุการณ์ต่างๆ ได้อย่างกว้างขวาง topic  วิธีการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะกระบวนการขั้นพื้นฐาน  ทักษะกระบวนการขั้นสู ง  เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะ กระบวนการ ความชานาญและความสามารถ ในการใช้ก ารคิ ด และกระบวนการ ความชานาญ ลาดับการกระทาซึ่ ง คิ ด เพื่ อ ค้ น หาความรู ้ ร วมทั้ งการ ดาเนินต่อเนื่องกัน แก้ปัญหา ไป จนสาเร็ จลงใน ระดับหนึ่ง topic  วิธีการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะกระบวนการขั้นพืน้ ฐาน  ทักษะกระบวนการขั้นสู ง  เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. ทักษะการสั งเกต (Observation) เป็ นการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เพื่อหารายละเอียดของสิ่ งนั้นๆ ซึ่ งได้ขอ้ มูลจากการสังเกต  ข้อมูลเชิงคุณภาพ  ข้อมูลเชิงปริ มาณ  ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง แบบฝึ กทักษะการสั งเกต จงบอกว่าการสังเกตต่อไปนี้เป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพหรื อข้อมูลเชิงปริ มาณ และใช้ประสาทสัมผัสใด ประเภทข้อมูล ประสาทสัมผัสที่ใช้ ไม้แท่งนี้มีฐานเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยม คุณภาพ....................... ตา............................... ดินสอยาวประมาณ 12 เซนติเมตร ปริ มาณ....................... ตา............................... ส้มมีรสหวาน คุณภาพ....................... ลิ้น............................... กระดาษแผ่นนี้ผวิ หยาบ คุณภาพ....................... ผิวกาย............................... เทียนแท่งนี้มีกลิ่นหอม คุณภาพ....................... จมูก............................... ดินน้ ามันก้อนนี้หนักประมาณ 30 กรัม ปริ มาณ....................... มือ............................... เย็นวันนี้เมฆลอยต่า คุณภาพ....................... ตา............................... ลูกโป่ งพองตัวขึ้นเมื่อดารงเป่ าลมเข้าไป เปลี่ยนแปลง....................... ตา............................... มะพร้าวต้นนี้ให้น้ ามีรสหวาน คุณภาพ....................... ลิ้น............................... วัวฝูงนี้มีประมาณ 50 ตัว ปริ มาณ....................... ตา............................... ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2. ทักษะการวัด (Measurement) คือ ความสามารถในการใช้ เครื่ องมือวัดหาปริ มาณของสิ่ งต่างๆ ได้อย่างถูกต้องโดยมีหน่วย กากับและรวมไปถึงการใช้เครื่ องมืออย่างถูกต้อง แบบฝึ กหัดการวัด จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง เส้นตรง AB ยาว.............เซนติเมตร เส้นคด CD ยาว..................เซนติเมตร ไม้บรรทัด เครื่ องมือที่ใช้วดั คือ.................................... ไม้บรรทัด เครื่ องมือที่ใช้วดั คือ.................................... ยาว รู ปสี่ เหลี่ยม ABCD มีความกว้าง..............เซนติเมตร กว้าง ความยาว..............เซนติเมตร ไม้บรรทัด เครื่ องมือที่ใช้วดั คือ.................................... แบบฝึ กหัดการวัด ให้บอกชื่อเครื่ องมือที่ใช้วดั ปริ มาณของสิ่ งต่อไปนี้ เทอร์โมมิเตอร์ อุณหภูมิของน้ าในแก้ว.................................................................................................. กระบอกตวง ปริ มาตรของน้ าในแก้ว................................................................................................. เครื่ องชัง่ มวลของน้ าในแก้ว....................................................................................................... เครื่ องชัง่ น้ าหนักของผลส้ม 6 ผล............................................................................................. ไม้บรรทัด ความสู งของต้นถัว่........................................................................................................ ตลับเมตร ความยาวของห้อง........................................................................................................ ไม้เมตร ความลึกของหลุมที่ขดุ.................................................................................................. กระบอกตวง ปริ มาตรของเกลือในขวด.............................................................................................. ตาชัง่ น้ าหนักของกระเป๋ าเสื้ อผ้า............................................................................................. ปรอทวัดไข้ อุณหภูมิร่างกายของเด็กหญิงแดง................................................................................. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. ทักษะการคานวณ หรื อ การใช้ ตัวเลข (Using numbers) คือ ความสามารถในการบวก ลบ คูณ หาร ตัวเลขที่ แสดงค่าปริ มาณของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง แบบฝึ กหัดการคานวณและใช้ ตัวเลข  รถจักรยานหนึ่งคัน แล่นได้ระยะทาง 150 กิโลเมตร ในเวลา 3 ชัว่ โมง จงหาว่ารถจักรยานคันนี้แล่นด้วย ความเร็ วชัว่ โมงละกี่กิโลเมตร ตอบ 150 = 50 km/hr 3  ในการทดลองหาค่าความเร่ ง เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ได้ทาการทดลอง 8 ครั้งได้ค่าจากการทดลอง ดังนี้ 9.6 , 9.5, 9.9, 9.7 , 9.7 , 9.9, 10.3 และ 9.0 เมตรต่อวินาทีกาลังสอง จงหาค่าเฉลี่ยของความเร็ วเนื่องจาก แรงโน้มถ่วงของโลก ตอบ 9.6 + 9.5 + 9.9 + 9.7 + 9.7 + 9.9 + 10.3 + 9.0 8 = 9.7 m/s 2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. ทักษะการจาแนกประเภท (Classification) คือ ความสามารถในการจัดจาแนกหรื อเรี ยงลาดับวัตถุหรื อสิ่ งที่ อยูใ่ นปรากฏต่างๆ ออกเป็ นหมวดหมู่โดยมีเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณา 3 ประการ คือ ความเหมือน ความ แตกต่าง และความสัมพันธ์ แบบฝึ กหัดการจัดจาแนก สัตว์มี 2 พวก 5 4 4 5 มีกระดูกสันหลัง ไม่มีกระดูกสันหลัง 4 4 5 2 1 ปลา 2 ครึ่ งบกครึ่ งน้ า 5 4 4 5 3 เลื้อยคลาน 4 สัตว์ปีก 5 เลี้ยงลูกด้วยนม 4 3 5 3 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Space/Space relationship and Space/time relationship) คือ ความสามารถในระบุความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งต่อไปนี้ ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 มิติกบั 3 มิติ สิ่ งที่อยูห่ น้ากระจกเงากับ ภาพในกระจกเป็ นซ้ายขวาของกันและกันอย่างไร ตาแหน่งที่อยูข่ องวัตถุหนึ่ งกับอีกวัตถุหนึ่ ง การเปลี่ยนแปลงตาแหน่งที่อยู่ ของวัตถุกบั เวลาหรื อมิติของวัตถุที่เปลี่ยนแปลงไปกับเวลา มิติของวัตถุ สเปส 1 มิติ มีความยาวและความกว้าง อย่างเดียว เช่น เส้นตรง ลวด ทองแดง สเปส 2 มิติ มีความกว้าง ความยาว ความหนาน้อยมาก (มีรูปร่ าง) เช่น แผ่นกระดาษ สเปส 3 มิติ มีความกว้าง ความยาว ความหนา แบบฝึ กหัดความสั มพันธ์ ระหว่ างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา 1 มิติ 2 มิติ 3 มิติ 1. ภาพคนในแผ่นฟิ ล์ม 2. ตัวหนังสื อทาจากแผ่นโฟม 3. อนุสาวรี ยพ์ ระบรมรู ปทรงม้า 4. ส่ วนของเส้นตรง 5. ดินสอ 6. ผ้าสาหรับตัดผ้า 7. กระจกเงา 8. กล่องกระดาษ 9. ปริ ซึม 10. วงกลม แบบฝึ กหัดความสั มพันธ์ ระหว่ างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา บ้านฉันอยูใ่ นคลองที่แยกจากแม่น้ าเจ้าพระยาเข้าไป 1 กิโลเมตร บ้านเพื่อนของฉันอยูร่ ิ มแม่น้ าเจ้าพระยาห่ างจาก ปากคลองฉันไป 4/3 กิโลเมตร วันหนึ่ งขณะน้ านิ่ งในคลอง ฉันพายเรื อจากบ้านไปหาเพื่อนใช้เวลาทั้งหมดครึ่ ง ชัว่ โมง โดยสังเกตเห็นว่าช่วงเวลาที่พายเรื อจากบ้านถึงปากคลองกับปากคลองถึงบ้านเพื่อนใช้เวลาเท่ากันพอดี 1 ฉันพายเรื อกลับจากบ้านเพื่อนถึงบ้านฉันจะใช้เวลากี่นาที 30 นาที 2 ถ้าฉันพายเรื อทวนน้ าจะได้ชวั่ โมงละกี่กิโลเมตร 4.6 กิโลเมตร แม่น้ าเจ้าพระยา 4/3 km ระยะทางจากบ้านฉันไปบ้านเพื่อน 1 + 1.3 = 2.3 กิโลเมตร บ้ านเพื่อน แสดงว่าฉันเดินทางจากบ้านฉันไปบ้านเพื่อนด้วยระยะทาง 2.3 1 km บ้ านฉัน กิโลเมตร ภายในเวลา 30 นาที แสดงว่าพายเรื อคิดเป็ น 4.6 กิโลเมตร ต่อชัว่ โมง คลอง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. ทักษะการจัดกระทาและสื่ อความหมายข้ อมูล (Organization data and communication) คือ ความสามารถ ในการนาข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การวัด การทดลองและจากแหล่งอื่นๆ มาจัดใหม่ โดยวิธีการต่างๆ โดยการ นาเสนอในรู ปตาราง แผนภูมิ แผนภาพ กราฟ แบบฝึ กหัดการสื่ อความหมาย ให้นกั เรี ยนสื่ อความหมายของข้อมูลในรู ปแผนภูมิแท่ง จากคาถามต่อไปนี้ ตาชมมีสวนขนาดหนึ่ ง ซึ่ งปลูกต้นไม้ไว้หลายชนิด เช่น ทุเรี ยน 150 ต้น มังคุด 200 ต้น ส้ม 100 ต้น มะละกอ 100 ต้น ชมพู่ 350 ต้น ต้ นไม้ 400 350 300 250 200 150 100 50 0 ทุเรียน มังคุด ส้ ม มะละกอ ชมพู่ ต้ น แบบฝึ กหัดการสื่ อความหมาย ให้นกั เรี ยนสื่ อความหมายของข้อมูลในรู ปวัฏจักร จากคาถามต่อไปนี้ คนและสัตว์ใช้ก๊าชออกซิ เจนในกายหายใจ แล้วคายก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในการสังเคราะห์แสง แล้วได้ก๊าซ ออกซิ เจนออกมา คนและสัตว์ คาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิ เจน สังเคราะห์แสง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 7. ทักษะการลงความเห็นจากข้ อมูล (Inferring) คือ ความสามารถในการนาเสนออธิ บายข้อมูลที่มีอยูซ่ ่ ึ งได้มา จากการสังเกต การวัด การทดลอง โดยเชื่อมโยงกับความรู ้เดิมหรื อประสบการณ์เดิม เพื่อสรุ ปความเห็น เกี่ยวกับข้อมูลนั้นๆ ข้อความข้างล่างนี้ ข้อใดเป็ นการสังเกต และข้อใดเป็ นการลงความคิดเห็นให้ขีดเครื่ องหมาย / ลงใน ( ) ที่คิด ว่าถูกต้องพร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆ ประกอบคาตอบด้วย 1. น้ ามันลอยน้ าเพราะมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ า ( ) เป็ นการสังเกต ( ) เป็ นการลงความคิดเห็น เพราะ.......................................................................................................... ได้จากการสังเกตการทดลองแล้วนามาอธิบายโดยใช้ความรู ้เดิม 2. ผูช้ ายที่สวมหมวกสี ขาว ใสแว่นตาดา เป็ นคนตาบอด ( ) เป็ นการสังเกต ( ) เป็ นการลงความคิดเห็น ได้จากการสังเกตและใช้ประสบการณ์เดิมในการลงความเห็น เพราะ.......................................................................................................... 3. มะพร้าวต้นนี้สูงประมาณ 1 เมตร ( ) เป็ นการสังเกต ( ) เป็ นการลงความคิดเห็น มีการสังเกตเชิงปริ มาณ แต่ไม่ได้ลงความเห็นว่าสู งเท่ากับอะไรหรื อสู งมากสู งน้อย เพราะ.......................................................................................................... ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 8. ทักษะการพยากรณ์ (Prediction) คือ ความสามารถทานายหรื อคาดคะเนสิ่ งที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า โดยอาศัย การสังเกตปรากฏการณ์ซ้ าๆ และนาความรู ้ที่เป็ นหลักการ กฎหรื อทฤษฎีในเรื่ องนั้นๆ มาช่วยในการทานาย การทานายทาได้โดย  การพยากรณ์ในขอบเขตของข้อมูล (Interpolating)  การคาดคะเนปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นจากข้อมูลที่ได้จากการสังเกตในอดีต  การพยากรณ์ภายนอกขอบเขตของข้อมูล (Extrapolating)  การคาดคะเนว่า การเพาะเมล็ด พื ช ชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง มี อ ัต ราการงอกไม่ ต่ า กว่า ร้ อ ยละ 70 จาก ประสบการณ์การเพาะเมล็ดพืชชนิดอื่นในอดีต แบบฝึ กหัดการพยากรณ์ แผนกวิจยั ตลาดของบริ ษทั เฮงเฮง จากัด ต้องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างยอดขายสิ นค้ากับค่าใช้จ่ายในการ โฆษณาของบริ ษทั จึงเก็บรวบรวมข้อมูลในช่วง 8 ปี ที่ผา่ นมาพบว่าเป็ นดังนี้ ปี ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 ค่าใช้จ่ายในการโฆษณา (ล้านบาท) 5 6 10 12 15 14 18 20 ยอดขายสิ นค้า (ล้านบาท) 40 45 65 75 90 85 105 115 จากข้อมูลข้างต้น ให้นกั ศึกษาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าใช้จ่ายในการโฆษณา (ล้านบาท) กับยอดขาย สิ นค้า (ล้านบาท) โดยให้ค่าใช้จ่ายในการโฆษณา แทนแกนนอน และยอดขายสิ นค้า แทนแกนตั้ง แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ แบบฝึ กหัดการพยากรณ์ 1) เมื่อมีค่าใช้จ่ายในการโฆษณา 25 ล้านบาท จะมียอดขายสิ นค้ากี่ลา้ นบาท ปี ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ค่าใช้จ่ายในการโฆษณา (ล้านบาท) 5 6 10 12 15 14 18 20 25 ยอดขายสิ นค้า (ล้านบาท) 40 45 65 75 90 85 105 115 ? ยอดขาย (ล้ านบาท) ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 1 ล้านบาท จะทาให้ยอดขายเพิ่มขึ้น 5 ล้านบาท 5 ถ้าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 5 ล้านบาท ยอดขายต้องเพิ่มขึ้น 25 ล้านบาท 160 25 140 115 + 25 = 140 120 100 80 2) ถ้าต้องการมียอดขายสิ นค้า 130 ล้านบาทจะมีค่าใช้จ่ายในการโฆษณากี่ลา้ นบาท 60 40 ยอดขายเปลี่ยนแปลง 5 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 1 ล้านบาท 20 ถ้าต้องการยอดขายเปลี่ยนแปลง 15 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 3 ล้านบาท 0 5 6 10 12 15 14 18 20 25 20 ? 25 ยอดขาย (ล้ านบาท) 115 130 140 topic  วิธีการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะกระบวนการขั้นพื้นฐาน  ทักษะกระบวนการขั้นสู ง  เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. ทักษะการตั้งสมมติฐาน หมายถึง ความสามารถในการให้คาอธิ บายซึ่ งเป็ นคาตอบล่วงหน้า ก่อนที่จะ ดาเนินการทดลอง เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง สมมติฐานจะกล่าวในลักษณะที่บอกความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรต้น กับตัวแปรตาม มักขึ้นต้นด้วย “ถ้า” ต่อ ด้วยคาว่า “ดังนั้น” ถ้า…………………………ดังนั้น…………………. แบบฝึ กหัดการตั้งสมมติฐาน จากภาพ ก ข ค และ ง เป็ นภาชนะที่ภายในบรรจุของเหลว เมื่อหย่อนวัตถุต่าง ๆ ตามภาพลงในภาชนะทั้ง 4 พร้อมปรากฏว่าก้อนวัตถุที่อยูภ่ ายในเคลื่อนที่ลงก้นด้วยความเร็ ว แตกต่างกันดังภาพ ปัญหา : ความเร็ วของวัตถุที่ตกลงไปในของเหลวขึ้นอยูก่ บั อะไรบ้าง 1. บอกลักษณะของวัตถุซ่ ึ งอาจจะมีผลต่อความเร็ วของวัตถุน้ นั เมื่อตกลงไปในของเหลว 2. บอกชนิดและสิ่ งแวดล้อม ซึ่ งอาจจะมีผลต่อความเร็ วของวัตถุน้ นั เมื่อตกลงไปในของเหลว 3. ให้ผเู ้ รี ยนตั้งสมมติฐานหลังจากสามารถบอกชนิ ดของตัวแปรจากปั ญหาข้างต้น 2 สมมติฐาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2. ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ หมายถึง ความสามารถในการกาหนดความหมายและขอบเขตของคา หรื อตัวแปรต่างๆ ให้เข้าใจตรงกันและสามารถสังเกต และวัดได้ แบบฝึ กหัดการให้ นิยามปฏิบัติการของตัวแปร 1. จงพิจารณานิยามของสิ่ งต่าง ๆ ต่อไปนี้วา่ นิยามข้อใดเหมาะสมที่จะเป็ นนิยามปฏิบตั ิการ 1.1 ก๊าซออกซิ เจนเป็ นก๊าซไม่มีกลิ่น แต่ละโมเลกุลประกอบด้วยธาตุออกซิ เจน 2 อะตอม 1.2 ตัวนาไฟฟ้า คือ วัตถุหรื อสิ่ งต่าง ๆ ที่เมื่อนาเครื่ องตรวจสอบการนาไฟฟ้ามาแตะแล้วไฟติด 1.3 เป็ ด เป็ นสัตว์ปีกชนิดหนึ่งมี 2 ขา ไม่สามารถบินได้ 1.4 แคลลอรี่ คือ หน่วยวัดปริ มาณความร้อน 1.5 ความหนาแน่น คือ ผลที่ได้จากการหาค่ามวลวัตถุซ่ ึ งมีหน่วยเป็ นกรัมต่อปริ มาตร 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. ทักษะกาหนดและควบคุมตัวแปร หมายถึง ความสามารถที่ช้ ีบ่งได้วา่ ตัวแปรตัวใดเป็ นตัวแปรต้น ตัวแปรใด เป็ นตัวแปรตาม ตัวแปรใดเป็ นตัวแปรควบคุมในการหาความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างตัวแปรสมมติฐานหนึ่ ง หรื อในปรากฏการณ์หนึ่ง 3.1 ตัวแปรต้นหรื อตัวแปรอิสระ (Independent variable) หมายถึงสิ่ งที่เป็ นต้นเหตุของการเปลี่ยนแปลงไม่อยูใ่ น ความควบคุมของสิ่ งใด ต้องจัดให้แตกต่างกันตามความต้องการ 3.2 ตัวแปรตาม (Dependent variable) หมายถึง สิ่ งที่เปลี่ยนแปลงไปตามการจัดเปลี่ยนตัวแปรต้น เป็ นสิ่ งที่ตอ้ ง เฝ้าศึกษาติดตามในขณะทาการทดลอง 3.3 ตัวแปรที่ตอ้ งควบคุม (Controlled variable) หมายถึง สิ่ งอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้นที่เป็ นสาเหตุทา ให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อนได้ถา้ หากไม่มีการควบคุมให้เหมือนกัน แบบฝึ กหัดการกาหนดและการควบคุมตัวแปร เมื่อน้ ามีอุณหภูมิสูงขึ้น ไข่ที่ตม้ จะสุ กเร็ วขึ้น อุณหภูมิของน้ า ตัวแปรต้น คือ......................................................................................................................................... ไข่สุก ตัวแปรตาม คือ....................................................................................................................................... ตัวแปรที่ตอ้ งควบคุม.............................................................................................................................. เวลาในการต้ม ปริ มาณน้ า ความสู งของต้นถัว่ ขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณของน้ าที่ตน้ ถัว่ ได้รับ ปริ มาณของน้ าที่ตน้ ถัว่ ได้รับ ตัวแปรต้น คือ......................................................................................................................................... ความสู งของต้นถัว่ ตัวแปรตาม คือ....................................................................................................................................... ปุ๋ ย แสงแดด ความชื้น ตัวแปรที่ตอ้ งควบคุม.............................................................................................................................. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. ทักษะการทดลอง หมายถึง ความสามารถในการดาเนินการตรวจสอบสมมติฐานด้วยการทดลอง โดยการ ทดลองแบ่งออกเป็ น 3 ขั้นตอน คือ  การออกแบบการทดลอง  การปฏิบตั ิการทดลอง  การบันทึกผลการทดลอง แบบฝึ กหัดการทดลอง จงออกแบบการทดลองจากปัญหาต่อไปนี้ 1. น้ าจะระเหยเร็วขึ้นหรื อไม่ ถ้าพื้นผิวหน้าของน้ าถูกอากาศมากขึ้น น้ าระเหยเร็ว ปัญหา................................................................................................................................................... น้ าระเหยเร็ว เมื่อพื้นผิวของน้ าถูกอากศมากขึ้น สมมติฐาน................................................................................................................................................................ ขนาดของพื้นผิวหน้าที่ถูกอากาศ ตัวแปรต้น คือ......................................................................................................................................... การระเหยของสาร ตัวแปรตาม คือ....................................................................................................................................... อุณหภูมิของน้ าและสิ่ งแวดล้อม ตัวแปรที่ตอ้ งควบคุม.............................................................................................................................. อุปกรณ์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………. 1. ภาชนะใส่น้ า ขวด แก้ว ถังน้ า 2. น้ า …………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. นาฬิกาจับเวลา ……………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. กระบอกตวง …………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ไมบรรทัดวัดเส้นผ่านศูนย์กลาง แบบฝึ กหัดการทดลอง วิธีการทดลอง 1. ตวงน้ าใส่ ในภาชนะที่เตรี ยมไว้ บันทึกปริ มาตรน้ าในแต่ละภาชนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. วัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของภาชนะทั้งหมด และคานวณพื้นที่ผวิ สัมผัส บันทึก ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จับเวลา ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. เมื่อครบ 1 วัน วัดปริ มาตรน้ าที่เหลือ ……………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกผลการทดลอง ภาชนะ ปริ มาตรก่อนทดลอง ปริ มาตรหลัง 1 วันผ่านไป พื้นที่ผวิ สัมผัส ขวดน้ า แก้วน้ า ถังน้ า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. ทักษะการตีความหมายข้ อมูลและการลงข้ อสรุ ป หมายถึง ความสามารถในการบอกความหมายของข้อมูลที่ ได้จดั กระทา และอยูใ่ นรู ปแบบที่ใช้ในการสื่ อความหมาย ซึ่ งอาจจะอยูใ่ นตาราง กราฟ แผนภูมิหรื อรู ปภาพ รวมทั้งบอก ความหมายของข้อมูลเชิงสถิติ ลงข้อสรุ ปโดยการนาเอาความหมายของข้อมูลที่ได้ท้ งั หมด สรุ ป เห็นความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ตอ้ งการศึกษาภายในขอบเขตการทดลองนั้นๆ แบบฝึ กหัดการตีความหมายข้ อมูลและลงสรุปข้ อมูล ที่สโมสรกุ๊กไก่ มีแม่ไก่ 7 ตัว ชื่อ กุก๊ กิ๊ก ก๊าบ ก๊อบ แก๊บ กู๊ด และโก๊ส กาลังคุยกันอย่างออกรสชาติ ให้นกั ศึกษาทายว่าไก่ตวั ไหนชื่อ อะไรบ้างจากข้อมูลต่อไปนี้ - กุ๊กกับกิ๊กชอบฟัง MP3 อยูเ่ ป็ นประจา กิ๊ก - กิ๊ก ก๊าบ และก๊อบ จะสวมแว่นตาเพราะสายตาสั้น แก๊บ ก๊าบ - แก๊บจะนัง่ อยูร่ ะหว่างกิ๊กกับกู๊ด - ส่ วนก๊อบจะไม่เคยถอดสร้อยคอที่โก๊สให้เป็ นของขวัญเลย ก๊อบ กู๊ด กุ๊ก โก๊ส topic  วิธีการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะกระบวนการขั้นพื้นฐาน  ทักษะกระบวนการขั้นสู ง  เจตคติทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ คือ บุคคลทีมีลกั ษณะที่แสดงว่ามีวธิ ี คิดหรื อพฤติกรรมที่แสดงต่อหลักวิชาการและ กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ความรู ้หรื อหลักการทางวิทยาศาสตร์ มาประกอบการพิจารณา องค์ประกอบของเจตคติ 1.ความคิด บุคคลที่มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2.ความรู ้สึก 1.มีเหตุผล 3.พฤติกรรม 2.ความอยากรู ้อยากเห็น 3.ใจกว้าง 4.ซื่ อสัตย์ 5.ความเพียรพยายาม 6.ความมีระเบียบรอบคอบ สรุ ป  วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 5 ขั้น 1. ขั้นกาหนดปั ญหา (State Problem) 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (Formulation of Hypothesis) 3. ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล (หรื อการทดลอง) (Data Collection) 4. ขั้นวิเคราะห์ขอ้ มูล (Analysis of Data) และ 5. ขั้นสรุ ปผล (Conclusion of Result) สรุ ป  ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะกระบวนการขั้นพื้นฐาน 1. การสังเกต 2. การวัด 3. การใช้ตวั เลข 4. การจาแนกประเภท 5. การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา 6. การจัดกระทาและสื่ อความหมายข้อมูล 7. การลงความคิดเห็นจากข้อมูล 8. การพยากรณ์ สรุ ป  ทักษะกระบวนการขั้นสู ง 1. การตั้งสมมติฐาน 2. การกาหนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการ 3. การกาหนดและควบคุมตัวแปร 4. การออกแบบและดาเนินการทดลอง 5. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุ ป งาน คิดการทดลองทางวิทยาศาสตร์ 1 การทดลอง และระบุหวั ข้อดังต่อไปนี้ 1. ตั้งสมมติฐานของการทดลอง 2. การกาหนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการ (ถ้ามี) 3. การกาหนดและควบคุมตัวแปรของการทดลอง 4. การออกแบบและดาเนินการทดลอง 5. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุ ป (ถ้ามี) และออกมานาเสนอหน้าห้องในรู ปแบบที่เหมาะสมกับการทดลองของตนเอง หาหัวข้อโครงการที่สนใจศึกษา 1. ชื่อโครงการ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (ใช้แก้ไขปัญหาเรื่องอะไร) 4. มีแนวทางการศึกษาอย่างไร