มาตรฐานการบัญชีและนโยบายการบัญชี PDF
Document Details
Uploaded by FresherNephrite8960
เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
Tags
Summary
เอกสารนี้เป็นเอกสารเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชีและนโยบายการบัญชี รวมถึงประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับแนวคิด แบบจำลอง และกระบวนการในการกำหนดและใช้มาตรฐานการบัญชี
Full Transcript
มาตรฐานการบัญชีและนโยบายการบัญชี เนื้อหา 1. แนวคิดเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 2. แบบจาลองทางการบัญชี 3. มาตรฐานการบัญชีในต่างประเทศและในประเทศไทย 4. กระบวนการการจัดทามาตรฐานการรายงานทางการเงิน 5. นโยบายการบัญชี มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรี ยกว่า “หลักการบัญชี...
มาตรฐานการบัญชีและนโยบายการบัญชี เนื้อหา 1. แนวคิดเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 2. แบบจาลองทางการบัญชี 3. มาตรฐานการบัญชีในต่างประเทศและในประเทศไทย 4. กระบวนการการจัดทามาตรฐานการรายงานทางการเงิน 5. นโยบายการบัญชี มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรี ยกว่า “หลักการบัญชีที่รับรองโดยทัว่ ไป (Generally Accepted Accounting Principle : GAAP) GAAP ประกอบด้วย ธรรมเนียมประเพณี นิยม (Convention) กฎ ข้อบังคับ (Rule) และวิธีปฏิบตั ิ (Procedure) ที่จาเป็ นเพื่อกาหนดว่าสิ่ งใดเป็ นแนว ปฏิบตั ิ (Practice) ทางการบัญชีที่ยอมรับและรับรองโดยทัว่ ไป (GAAP คล้ายกับกฎหมาย ที่ตอ้ งปฏิบตั ิในการรายงานทางการเงิน) สภาวิชาชีพบัญชีฯ ได้ให้ความหมายของคาศัพท์ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ หลักการบัญชี (Accounting Principle) หรื อ “มาตรฐานการบัญชี” หมายถึง แนวทางที่ แนะนาให้นกั บัญชีใช้ยดึ ถือเป็ นหลักปฏิบตั ิในการรวบรวม จดบันทึก จาแนก สรุ ปผล และ รายงานเหตุการณ์เกี่ยวกับการเงิน หลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป (General Accepted Accounting Principle: GAAP) หมายถึง แนวทางที่ได้รับการรับรองและยอมรับเป็ นส่ วนใหญ่จากผูม้ ีอานาจหน้าทีใ่ นวิชาชีพการ บัญชี เพื่อให้นกั บัญชียดึ ถือเป็ นหลักปฏิบติในการรวบรวม จดบันทึก จาแนก สรุ ปผล และ จาทางบการเงิน อย่างมีหลักเกณฑ์ ความหมายของมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการบัญชี (Accounting Standards) หมายถึง หลักการบัญชีและวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีที่ รับรองทัว่ ไป หรื อ มาตรฐานการบัญชีที่กาหนดตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น (พรบ.การบัญชี พ.ศ.2543) ดังนั้น มาตรฐานการบัญชีจึงมีความหมายเหมือนกับหลักการบัญชีที่รับรองโดยทัว่ ไป มาตรฐานการรายงานทางการเงิน (Financial Reporting Standards) หมายถึง มาตรฐานและการ ตีความที่ออกโดยคณะกรรมการกาหนดมาตรฐานการบัญชี ซึ่งประกอบด้วย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี หลักการทีร่ ับรองโดยทั่วไป ➔ มาตรฐานการบัญชี ➔ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ความสาคัญของมาตรฐานการบัญชี (มีความสาคัญอย่างมากต่อการจัดทางบการเงิน) 1.ผูใ้ ช้งบการเงินมีหลายฝ่ าย แต่ละฝ่ ายมีความต้องการใช้ขอ้ มูลแตกต่างกัน แต่ มีความต้องการบางส่ วนร่ วมกัน ซึ่งงบการเงินที่จดั ทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ ทัว่ ไปสามารถตอบสนองความต้องการนี้ได้ 2.หากไม่มีมาตรฐานการบัญชี แต่ละกิจการต่างกาหนดมาตรฐานการบัญชี ของตนขึ้นมาเองทาให้งบการเงินของแต่ละกิจการไม่สามารถเปรี ยบเทียบ กันได้ 3.ช่วยให้ผสู ้ อบบัญชีสามารถแสดงความเห็นต่องบการเงินว่าจัดทาอย่าง ถูกต้องในสาระสาคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปได้ 4.มาตรฐานการบัญชีมีผลกระทบต่อคุณภาพของข้อมูลทางการบัญชีและมี บทบาทอย่างสาคัญยิง่ ต่อการจัดสรรทรัพยากรอันจากัด 5.มาตรฐานการบัญชีมีส่วนช่วยในการพัฒนาตลาดเงินและตลาดทุน ส่ วนประกอบของมาตรฐานการบัญชี คานิยาม (Definition) คือ คาจากัดความของคาศัพท์หรื อรายการโดยเฉพาะที่จะกล่าวถึงในมาตรฐานการ บัญชี เพื่อให้ผอู ้ ่านเข้าใจตรงกัน และพิจารณาว่ารายการที่กาลังพิจารณาเป็ นไปตามคานิ ยามศัพท์หรื อไม่ การรับรู ้รายการ (Recognition) คือ การพิจารณาว่ารายการที่กาลังพิจารณาเป็ นไปตามคานิ ยมของ องค์ประกอบของงบการเงิน (สิ นทรัพย์ หนี้สิน ส่ วนของเจ้าของ รายได้ หรื อค่าใช้จ่าย) และระบุเกณฑ์ การรับรู ้รายการไว้อย่างไร การตัดรายการ (Derecognition) คือ การพิจารณาว่ารายการที่รับรู ้ไปแล้ว ต่อมากิจการจะนาออกจากงบ การเงินเมื่อใด การวัดมูลค่ารายการ (Measurement) คือ การพิจารณาว่าจะวัดมูลค่าองค์ประกอบของงบการเงินด้วย มูลค่าเท่าใด การนาเสนอรายการและการเปิ ดเผยข้อมูล (Presentation and Disclosure) คือ การพิจารณาถึงวิธีการ แสดงรายการในงบการเงิน ซึ่ งรวมถึงการเปิ ดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินด้วย แบบจาลองทางการบัญชี 1. แบบจาลองอังกฤษ-อเมริ กนั (British-American Model) หรื อ แอลโกลแซกซอน (Anglo-Saxon) หรื อ อังกฤษ-อเมริ กาเหนือ-ดัช ➔ สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริ กา เนเธอร์แลนด์ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เม็กซิโก โคลัมเบีย อินเดีย ฮ่องกง สิ งคโปร์ มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ และอินโดนีเซีย (ตลาดหลักทรัพย์พฒั นา แล้ว) ➔ มุ่งเน้นความต้องการของผูล้ งทุนและเจ้าหนี้ในการใช้ขอ้ มูลเพื่อการ ตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจ 2. แบบจาลองภาคพื้นทวีป (Continental Model) ➔ ประเทศในแถบยุโรป (ออสเตรี ย เบลเยีย่ ม นอร์เวย์ สวีเดน ฟิ นแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมัน และสเปน) ญี่ปุ่นและกลุ่มประเทศแถบอัฟริ กา (กิจการมีความสัมพันธ์กบั ธนาคารใน ประเทศ) ➔ ลักษณะการบัญชีเป็ นข้อบังคับ เน้นหลักความระมัดระวัง ไม่เน้น วัตถุประสงค์ดา้ นการตัดสิ นใจของเจ้าของหรื อผูล้ งทุน แต่เป็ นการตอบสนอง ความต้องการตามข้อกาหนดของรัฐ (การคานวณภาษี การกากับดูแลของภาครัฐ) แบบจาลองทางการบัญชี 3. แบบจาลองอเมริ กาใต้ (South America Model) ➔ ประเทศในแถบอเมริ กาใต้ เช่น อาร์เจนตินา บราซิล เปรู โบลิเวีย (ประสบปัญหาเงินเฟ้อรุ นแรง) ➔ มุ่งเน้น วิธีการบัญชีเพื่อปรับปรุ งผลจากภาวะเงินเฟ้อ ➔ มุ่งสนองความต้องการของผู ้ วางแผนของรัฐบาย ➔ วิธีปฏิบตั ิเป็ นแบบแผนเดียวกันเพื่อบังคับหน่วยธุรกิจ 4. แบบจาลองเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy Model) ➔ อัลบาเนีย ฮังการี โปแลนด์ เซอร์เบีย รัสเซีย ➔ มีระบบบัญชี 2 ระบบ คือ 1) แบบจาลองที่มีลกั ษณะเฉพาะ เพื่อการวางแผนทางเศรษฐกิจที่เข้มงวดที่ ใช้ในการวางแผนงบประมาณ และ 2) แบบจาลองที่เน้นระบบตลาดแบบทุนนิยม นาแบบจาลองของอังกฤษ- อเมริ กนั มาใช้ แบบจาลองทางการบัญชี 5. แบบจาลองที่เกิดใหม่ (Emerging Model) มีแบบจาลองทางการบัญชีอีก 2 แบบ คือ 1) แบบจาลองอิสลาม (Islamic Model) ➔ มีรากฐานมาจากความเชื่อ และข้อห้ามทางศาสนา เช่น การคิดดอกเบี้ยเงินกู้ 2) แบบจาลองมาตรฐานระหว่างประเทศ ➔ มาจากการปรับการบัญชี ระหว่างประเทศให้สอดคล้องกัน ซึ่งงมีบทบาทอย่างมากกับบริ ษทั ข้ามชาติ และมีส่วนร่ วมในตลาดการเงินระหว่างประเทศ มาตรฐานการบัญชีในต่างประเทศ ประเทศ ชื่ อมาตรฐาน คณะกรรมการ สมาคมผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตใน Statement of Standards and คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี สหราชอาณาจักร (The Institute of Practices (SSAP) (Accounting Standards Board: ASB) Chartered Accountants in England **ปัจจุบนั รับมาตรฐานการบัญชี and Wales: ICAEW) ระหว่างประเทศ (IFRS) มาใช้ สมาคมผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตใน Statement of Financial คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี สหรัฐอเมริ กา (The American Accounting Standards (SFAS) (Financial Accounting Standards Institute of Certified Public Board : FASB) Accountants: AICPA) ผูก้ าหนดหลักการบัญชีที่ยอมรับกัน International Financial คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี ในระดับโลก (World Class) Reporting Standards (IFRS) ระหว่างประเทศ (International หรื อ International Accounting Accounting Standard Board: IASB) Standard: IAS เดิม) ความหลากหลายของมาตรฐานการบัญชีในแต่ละประเทศ สาเหตุของความแตกต่างทางการบัญชีและการรายงานทางการเงินเกิดจาก 3 ประการ ดังนี้ 1. ปัจจัยด้านสิ่ งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทางบัญชี เช่น เศรษฐกิจ การเมือง กฎหมายและสังคม 2. การยึดแบบจาลองทางการบัญชีที่แตกต่างกัน 3. แนวทางและกระบวนการในการกาหนดมาตรฐานการบัญชีของแต่ละประเทศ สาเหตุของความแตกต่างในวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชี ในช่วงปี ค.ศ. 1929-1930 (ภาวะเศรษฐกิจตกต่า) กิจการในสหรัฐเลือกใช้วิธีการบัญชีใดก็ ได้ที่เห็นว่าเหมาะสม โดยรัฐไม่ได้ออกข้อกาหนดด้านบัญชี ➔ ทาให้เกิดการตกแต่งงบ การเงิน (Window Dressing) เพื่อให้ฐานะการเงินและผลการดาเนินงานดูดี หลังจากภาวะเศรษฐกิจตกต่า คณะกรรมการของหน่วยงานทางวิชาชีพบัญชีของแต่ละ ประเทศได้จดั ทามาตรฐานการบัญชีเพื่อกาหนดหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปใช้ในประเทศ วิธีการกาหนดมาตรฐานการบัญชีของแต่ละประเทศมีความแตกต่างกัน เช่น ภาคเอกชน ของสหราชอาณาจักรมีบทบาทอย่างมากในการกาหนดมาตรฐานบัญชี ซึ่งเป็ นการกาหนด หลักการอย่างกว้าง ๆ ในขณะที่คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ของ สหรัฐอเมริ กามีอิทธิพลอย่างมากต่อการกาหนดมาตรฐานการบัญชี สาเหตุของความแตกต่างในวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชี (ต่อ) ประเทศที่พฒั นาแล้วต่างมีหน่วยงานที่ทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานการบัญชีและค่อนข้าง ประสบความสาเร็ จ จึงทาให้วิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีในประเทศนั้น ๆ เป็ นไปในทิศทาง เดียวกัน แต่ความแตกต่างของวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีระดับประเทศยังคงอยู่ ประเด็นที่ยงั มีความแตกต่างกันของวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีระดับประเทศ ได้แก่ การรับรู ้ (Recognition) การวัดมูลค่า (Measurement) และการเปิ ดเผยข้อมูล (Disclosure) ตัวอย่างของวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีที่แตกต่างกัน 1. เงินบานาญ ➔ โครงการเงินบานาญ (Pension Plan) มีความแตกต่างกัน บางประเทศ ระบุถึงเงินสมทบที่นายจ้างต้องจ่ายต่องวดและเงินสะสมที่ลูกจ้างจะได้รับเมื่อ เกษียณอายุ แต่บางประเทศระบุผลประโยชน์ที่ลูกจ้างจะได้รับโดยนายจ้างตกลงจะ จ่ายเงินจานวนหนึ่งแก่ลูกจ้างที่เกษียณอายุในอนาคต ➔ เช่น ในสหรัฐอเมริ กากาหนดให้มีการวัดมูลค่าภาระหนี้สินภายใต้โครงการเงิน บานาญทุกปี จึงทาให้กาไรสุ ทธิของกิจการในสหรัฐอเมริ กาต่ากว่าประเทศอื่น ๆ เนื่องจากมี การรับรู ้หนี้สินตามโครงการเงินบานวณค้างจ่าย และรับรู ้ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เงินบานาญ ตัวอย่างของวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีที่แตกต่างกัน (ต่อ) 2. การเปลีย่ นแปลงในระดับราคา ➔ การเปลี่ยนแปลงในระดับราคาขึ้นอยูก่ บั ภาวะเงินเฟ้อ และระดับ ราคาที่เปลี่ยนแปลงในประเทศนั้น ๆ ซึ่ งการยึดหลักราคาทุนเดิมของกิจการที่ต้ งั อยูใ่ นประเทศที่ค่าของ เงินมีเสถียรภาพ หรื อเงินมีค่าคงที่ อาจเป็ นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับมูลค่าที่แท้จริ ง แต่สาหรับกิจการที่ต้ งั อยู่ ในประเทศที่เกิดภาวะเงินเฟ้อที่รุนแรงจะทาให้การยึดหลักราคาทุนเดิมไม่เหมาะสม ➔การบัญชีสาหรับการเปลี่ยนแปลงในระดับราคามี 2 แนวทาง 1. การบัญชีระดับราคาทัว่ ไป (General Price Level Accounting) หรื อ การบัญชีระบบเงินคงที่ (Constant Dollar Accounting) ➔ สิ นทรัพย์และหนี้สินทุกรายการที่บนั ทึกด้วยราคาทุนถูกปรับมูลค่าตามการ เปลี่ยนแปลงของอานาจซื้ อทัว่ ไป (ดัชนีราคา) 2. การบัญชีราคาทุนปั จจุบนั (Current Cost Accounting) ➔ รายการในงบฐานะการเงินและงบกาไรขาดทุน ถูกปรับให้เป็ นราคาทุนปั จจุบนั ** การบัญชีสาหรับการเปลี่ยนแปลงระดับราคามีความแตกต่างกันแต่ประเทศ โดยหลักการบัญชีตามราคาทุน ยังคงเป็ นเกณฑ์หลักในการจัดทางบการเงิน ตัวอย่างของวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีที่แตกต่างกัน (ต่อ) การใช้วิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงระดับราคาของประเทศต่าง ๆ อเมริกาใต้ ➔ ยึดแนวทางการบัญชีระดับราคาทัว่ ไปช่วงภาวะเงินเฟ้ออย่างรุ นแรง เนื่องจาก ประเทศในแถบนี้ตอ้ งเผชิญภาวะเงินเฟ้อที่รุนแรงอย่างต่อเนื่อง โดยกิจการใน ประเทศอาร์เจนตินา โบโลเวีย บราซิล และชิลี ต้องปรับปรุ งงบการเงินโดยใช้ระดับราคาที่ เปลี่ยนแปลง ดังนั้น ประเทศอเมริ กาใต้หลายประเทศยอมรับวิธีการตีราคาใหม่ แต่สิ่งที่น่าสนใจก็ คือในบราซิลและโบโลเวียได้ใช้กาไรสุ ทธิหลักจากการปรับปรุ งผลกระทบจากภาวะเงินเฟ้อ เป็ นฐานในการคานวณภาษีเงินได้นิติบุคคล ตัวอย่างของวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีที่แตกต่างกัน (ต่อ) การใช้วิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงระดับราคาของประเทศต่าง ๆ เนเธอร์ แลนด์ ➔ หลักการบัญชีของประเทศเนเธอร์แลนด์ได้รับอิทธิพลจากภาคธุรกิจ เอกชน เป็ นการใช้วิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีสาหรับการเปลี่ยนแปลงในระดับราคาเพื่อรักษา ความสามารถในการทากาไรระยะยาว ➔ แนวคิดนี้พฒั นามากจาก ศ. ทีโอดอร์ ลิมเพอร์ก (Theodore Limperg) ซึ่งได้ถูกขนานนามว่า “บิดาของทฤษฎีมูลค่าทดแทน (Replacement Value Theory) ซึ่งเป็ นรากฐานของการบัญชีตามราคาทุนปัจจุบนั (Current Cost Accounting) กิจการส่ วนใหญ่ของเนเธอร์แลนด์ยงั คงใช้หลักการบัญชีราคาทุน และเปิ ดเผยข้อมูล เกี่ยวกับราคาทุนปัจจุบนั เพิ่มเติม ตัวอย่างของวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีที่แตกต่างกัน (ต่อ) การใช้วธิ ีปฏิบตั ิทางการบัญชีเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงระดับราคาของประเทศต่าง ๆ สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา ➔ การเปลี่ยนแปลงในระดับราคาที่ผา่ นมาของสหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริ กามีความคล้ายคลึงกันมาก ทั้ง 2 ประเทศต้องเผชิญกับภาวะเงินเฟ้อในทศวรรษ 1970 สหรัฐอเมริ กา ➔ ได้ออกมาตรฐานการบัญชีที่กาหนดให้บริ ษทั มหาชนจากัดเปิ ดเผยข้อมูลโดยจัดทางบการเงิน ตามหลักราคาทุนปั จจุบนั และตามระดับราคาทัว่ ไป แต่หลักการนี้มีขอ้ โต้แย้งว่าเป็ นการสิ้ นเปลืองค่าใช้จ่ายในการ จัดทางบการเงิน และเป็ นข้อมูลที่ไม่มีความน่าเชื่อถือ และไม่คุม้ ค่ากับประโยชน์ที่ได้รับ จึงได้มีการกาหนด มาตรฐานการบัญชีข้ ึนใหม่ ซึ่งกาหนดให้เป็ นการเปิ ดเผยข้อมูลโดยสมัครใจ สหราชอาณาจักร ➔ กาหนดให้บริ ษทั มหาชนจากัดต้องปฏิบตั ิมี 3 วิธี คือ 1. จัดทางบการเงินตามหลักราคาทุนเดิม 2. จัดทางบการเงินตามราคาทุนปั จจุบนั 3. จัดทาเฉพาะงบการเงินตามราคาทุนปั จจุบนั ** ในปี ค.ศ. 1986 คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีจึงกาหนดให้การปฏิบตั ิโดยสมัครใจ ** ปั จจุบนั ใช้มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ฉบับที่ 29 เรื่ อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่ เงินเฟ้อรุ นแรง ผลของความแตกต่างในวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชี มาตรฐานการบัญชีที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศขึ้นอยูก่ บั ทัศนะของผูใ้ ช้งบการเงินแต่ละ กลุ่ม ดังนี้ 1. ผู้บริหาร ➔ ผูบ้ ริ หารในกิจการที่มีการดาเนินงานเฉพาะในประเทศแทบไม่ให้ความ สนใจในความแตกต่างทางการบัญชีระหว่างประเทศ แต่ผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ข้ามชาติ พบว่า การดาเนินธุรกิจภายใต้มาตรฐานการบัญชีของแต่ละประเทศที่ไม่เหมือนกันทาให้บริ ษทั ต้อง มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ซึ่งความหลากหลายทางการบัญชีส่งผลกระทบต่อความสามารถในการ แข่งขันของบริ ษทั ข้ามชาติ ผลของความแตกต่างในวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชี มาตรฐานการบัญชีที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศขึ้นอยูก่ บั ทัศนะของผูใ้ ช้งบการเงินแต่ละ กลุ่ม ดังนี้ (ต่อ) 2. ผู้ลงทุน ➔ ผูล้ งทุน นักวิเคราะห์ต่างประสบปัญหาจากความหลากหลายของมาตรฐาน การบัญชีของแต่ละประเทศ เนื่องจาก บุคคลเหล่านี้ตอ้ งติดต่อสื่ อสารทัว่ โลก และสามารถ เข้าถึงตลาดการเงินระหว่างประเทศได้อย่างรวดเร็ ว ซึ่งความแตกต่างของมาตรฐานการบัญชี แต่ละประเทศทาให้รายงานการเงินไม่สามารถเปรี ยบเทียบกันได้ ผลของความแตกต่างในวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชี มาตรฐานการบัญชีที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศขึ้นอยูก่ บั ทัศนะของผูใ้ ช้งบการเงินแต่ละ กลุ่ม ดังนี้ (ต่อ) 3. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการบัญชีและหน่ วยงานกากับดูแล ➔ สานักงานบัญชีขา้ มชาติ ต้องการให้มีความแตกต่างทางการบัญชี เพราะทาให้มีรายได้ค่าธรรมเนียมจากการให้ คาปรึ กษาแนะนาลูกค้าในการประกอบธุรกิจใหม่ ๆ ในประเทศที่มีความแตกต่างกัน และยัง ได้รับค่าธรรมเนียมในการปรับรายงานทางการเงินที่จดั ทาขึ้นจากมาตรฐานการบัญชีชุดหนึ่ง ให้เป็ นอีกชุดหนึ่ง ความแตกต่างด้านหลักการบัญชีทาให้การสอบบัญชีขา้ มประเทศมีตน้ ทุนสู งขึ้น ทา ให้สานักงานสอบบัญชีสามารถขึ้นค่าธรรมเนียมการสอบบัญชีได้ การปรับความหลากหลายของมาตรฐานการบัญชี การบัญชีได้รับการขนานนามว่าเป็ นภาษาธุรกิจ (Business Language) เนื่องจาก การบัญชี สามารถทาหน้าที่ดา้ นการสื่ อสาร การสื่ อสารอาจเกิดความคลาดเคลื่อนหรื อเข้าใจผิด หากรายงานทางการเงินไม่มีความ ชัดเจน หรื อมีความหลากหลายมากจนไม่สามารถเปรี ยบเทียบกันได้ การปรับความหลากหลายในวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีอาจทาได้หลายทาง ทั้งนี้ เพื่อให้ รายงานทางการเงินเป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้ขอ้ มูลทางการบัญชีในการตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจ วิธีหนึ่งที่ใช้ลดความหลากหลายในวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีได้แก่ การกาหนดและบังคับใช้ มาตรฐานร่ วมกัน สิ่ งช่วยในการปรับความหลากหลายทางการบัญชีให้สอดคล้องกัน ได้แก่ มาตรฐานการบัญชี การปรับความหลากหลายของมาตรฐานการบัญชี (ต่อ) หน่วยงานที่ทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานการบัญชีของประเทศสามารถปรับความ หลากหลายทางการบัญชีที่เกิดขึ้นภายในประเทศได้ แต่ความหลากหลายทางการบัญชียงั มี อยูใ่ นระดับระหว่างประเทศ ความแตกต่างนี้เป็ นผลให้รายงานทางการเงินของประเทศ หนึ่งไม่สามารถเปรี ยบเทียบกับของอีกประเทศหนึ่ง มาตรฐานการบัญชีระดับโลกเกิดจาก 2 กลุ่ม คือ มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ โดย IASB และ มาตรฐานการบัญชีของสหรัฐอเมริ กาโดย FASB โดยหลักการแล้ว มาตรฐาน การบัญชีสองกลุ่มนี้ยงั มีประเด็นที่แตกต่างกันอยูใ่ นบางเรื่ อง จึงทาให้เกิดโครงการการ เปรี ยบเทียบกันได้ (Comparability Project) ในปี ค.ศ.1989 และ Norwalk Project ในปี ค.ศ.2005 เพื่อมุ่งหวังลดข้อแตกต่างที่เกิดขึ้น ทางเลือกในการปรับมาตรฐานการบัญชีให้สอดคล้องกัน ผูใ้ ช้งบการเงินต้องการให้รายงานทางการเงินเปรี ยบเทียบกันได้ ความสามารถในการเปรี ยบเทียบ กันได้ช่วยลดเวลาและค่าใช้จ่ายในการทาความเข้าใจรายงานทางการเงิน ทางเลือกในการปรับวิธีปฏิบตั ิทางการบัญชีให้สอดคล้องกันในระดับภูมิภาคหรื อระดับโลกอาจ แบ่งเป็ น 3 วิธี ดังนี้ วิธีแรก ➔ การใช้ขอ้ ตกลงทวิภาคี (Bilateral Agreements) เป็ นวิธีที่ประเทศตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไป ทาข้อตกลงยอมรับมาตรฐานของอีกประเทศหนึ่ ง โดยยึดหลักถ้อยทีถอ้ ยปฏิบตั ิ วิธีน้ ีมีลกั ษณะเป็ น การเมืองและยากที่จะบรรลุเป้าหมาย หากมาตรฐานของประเทศที่ร่วมตกลงกันมีความแตกต่างกัน มาก วิธีที่สอง ➔ การยอมรับร่ วมกัน (Mutual Recognition) วิธีน้ ีเกิดขึ้นจากความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ โดยใช้การเมืองเป็ นช่องทางในการเจรจาตกลง ดังนั้น ตามวิธีการนี้องค์กรวิชาชีพจะมีบทบาทรอง วิธีที่สาม ➔ การปรับให้สอดคล้องกัน (Harmonization) เป็ นวิธีที่เกิดจากข้อตกลงเกี่ยวกับวิชาชีพ ภาคเอกชน เช่น คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (IASB) โดยมีขอ้ ตกลงเกี่ยวกับ วิชาชีพเป็ นการภายใน แล้วนาข้อตกลงนี้ไปเจรจาให้หน่วยงานที่กากัดดูแลและหน่วยงานทางการ เมืองยอมรับ (เป็ นวิธีทกี่ จิ การข้ ามชาติต้องการ) กระบวนการจัดทามาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชีของนานาประเทศแบ่งเป็ น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. ถือเอามาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศเป็ นมาตรฐานการบัญชีของประเทศ เช่น คูเวต ไซบีเรี ย โอมาน ปากีสถาน ปาปั วนิวกินี และสหภาพยุโรป 2. ถือเป็ นมาตรฐานการบัญชีของประเทศตนขึ้นใช้เอง 3. ถือเอามาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศเป็ นเกณฑ์ในการกาหนดมาตรฐานการบัญชีของประเทศตน โดยมาตรฐานที่กาหนดขึ้นจะมีความสอดคล้องกับ มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ** (ประเทศ ไทย) มาตรฐานการบัญชีในประเทศไทย พ.ศ.2481-2521 พ.ศ.2522-2551 Generally Accepted Accounting Standard: AS พ.ศ.2552-ปัจจุบัน Accounting Principles: GAAP ** กาหนดโดยสมาคมนักบัญชีและผูส้ อบ ** หลักการบัญชีของสหราชอาณาจักรและ บัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย (ส.บช.) Financial Reporting สหรัฐอเมริ กา ผ่านทางตาราเรี ยน และ ผูส้ อนที่สาเร็จการศึกษาจาก 2 ประเทศนี้ (2491-2548) และสภาวิชาชีพบัญชี (2548- Standards: FRS ปัจจุบนั ) ** ปัจจุบนั TAS อ้างอิงตาม IFRS ** ปี 2522-2542 อ้างอิงจาก FASB และ IASB ** หลังจาก 2542 อ้างอิงจาก IASB มาตรฐานการบัญชีในประเทศไทย (ต่อ) ในปี พ.ศ. 2554 สภาวิชาชีพฯ ได้กาหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย โดย แบ่งออกเป็ น 2 ชุด ได้แก่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะ (Thai Financial Reporting Standards for Non-Publicly Accountable Entities: TFRS for NPAEs) มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะ (Thai Financial Reporting Standards for Publicly Accountable Entities: TFRS for PAEs) กระบวนการในการจัดทามาตรฐานการรายงานทางการเงิน 1.ศึกษาและติดตามมาตรฐานการรายงานระหว่างประเทศ (คณะอนุกรรมการศึกษาและ ติดตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน) 2.วางแผนการจัดทามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ให้สอดคล้องกับแผนการจัดทา มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (คณะกรรมการกาหนดมาตรฐานการ บัญชี) 3.จัดทายกร่ างมาตรฐานการรายงานทางการเงินเป็ นภาษาไทย (คณะกรรมการกาหนด มาตรฐานการบัญชี) กระบวนการในการจัดทามาตรฐานการรายงานทางการเงิน 4. จัดสัมมนาทาความเข้าใจหรื อสัมมนาพิจารณาร่ างมาตรานการรายงาน ทางการเงิน (คณะกรรมการกาหนดมาตรฐานการบัญชี) 5. นาเสนอร่ างมาตรฐานการรายงานทางการเงินต่อคณะอนุกรรมการกลัน่ กรอง มาตรฐานการบัญชีคณะกรรมการสภาวิชาชีพบัญชี และคณะกรรมการกากับ ดูแลการประกอบวิชาชีพบัญชี (กกบ.) พิจารณาให้ความเห็นชอบ 6. ประกาศมาตรฐานการรายงานทางการเงินลงในราชกิจจานุเบกษา หลังจาก นั้นคณะอนุกรรมการเทคนิคมาตรฐานการบัญชีจะจัดทาคู่มืออธิบายมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน นโยบายการบัญชี (Accounting Policy) หมายถึง หลักการ หลักเกณฑ์ ประเพณี ปฏิบตั ิ กฎและวิธีปฏิบตั ิที่เฉพาะที่กิจการนามาใช้ ในการจัดทาและนาเสนองบการเงิน หมายความครอบคลุมทั้งนโยบายการบันทึกบัญชี นโยบายการวัดมูลค่า รวมถึงนโยบาย การเปิ ดเผยข้อมูล งานกลุ่ม ความเป็ นมาและองค์ประกอบของมาตรฐานการรายงานทางการเงินแต่ละประเด็น (พัฒนาขึ้นใน ปี ใด มีการปรับปรุ งปี ใดบ้าง ประเด็นของการปรับปรุ ง เนื้อหาของมาตรฐานเฉพาะหัวข้อ) โดย ศึกษามาตรฐานการรายงานทางการเงินดังนี้ (มาตรฐานฯ ละ 2 กลุ่ม 1. มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสี ยสาธารณะ (TFRS for NPAEs) 2. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับสิ นทรัพย์ 3. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับหนี้สิน 4. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับผลการดาเนินงาน ประเด็นการเปิ ดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินของอุตสาหกรรมต่าง ๆ (1-2 กลุ่ม) ** ส่ งเป็ น File PDF ทาง MS team Q&A