ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2563 PDF
Document Details
Uploaded by QuickerStatueOfLiberty
2563
พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา
Tags
Related
- ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน PDF พ.ศ. ๒๕๓๔
- Thai Procurement Law PDF
- Thai Government Administrative Regulations (PDF)
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Thai PDF)
- ประกาศกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยขยะมูลฝอย พ.ศ. 2567 PDF
- พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 PDF
Summary
เอกสารนี้เป็นระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2563 ระบุถึงวิธีการจัดทำงบประมาณและอำนาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่งบประมาณ ครอบคลุมประเด็นต่างๆ เช่น งบประมาณรายจ่าย เงินนอกงบประมาณ และวิธีการควบคุมงบประมาณ
Full Transcript
หนา้ ๑ เลม่ ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๗๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น...
หนา้ ๑ เลม่ ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๗๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2563 โดยที่ เ ป็ น การสมควรปรับ ปรุง ระเบี ย บกระทรวงมหาดไทยว่า ด้วยวิธี การงบประมาณของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๗๖ แห่ ง พระราชบัญญัติ องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖๙ และมาตรา ๗๗ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๘๘ แห่งพระราชบัญญัติสภาตาบลและ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบล พ.ศ. ๒๕๓๗ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงมหาดไทยจึ ง ออกระเบี ย บไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบี ย บนี้ เ รีย กว่า “ระเบีย บกระทรวงมหาดไทยว่า ด้ว ยวิธีก ารงบประมาณของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2563” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก (๑) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔1 (๒) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2543 (๓) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 ข้อ 4 ในระเบียบนี้ “งบประมาณ” หมายความว่า แผนงาน หรืองานสาหรับประมาณการด้านรายรับและรายจ่าย แสดงในรูปตัวเลข จานวนเงิน การตั้งงบประมาณ คือ การแสดงแผนดาเนินงานออกเป็นตัวเลขจานวนเงิน “แผนงาน” หมายความว่ า ภารกิ จ แต่ ล ะด้ า นที่ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มี ห น้ า ที่ ตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ “งาน” หมายความว่า กิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยงานที่กาหนดไว้ในแต่ละแผนงาน “องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ” หมายความว่ า องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล “สภาท้ อ งถิ่ น ” หมายความว่ า สภาองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สภาเทศบาล สภาองค์การบริหารส่วนตาบล หนา้ ๒ เลม่ ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๗๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ “งบประมาณรายจ่า ย” หมายความว่า งบประมาณที่ส ภาท้อ งถิ่นให้ค วามเห็น ชอบและ ผู้ ว่ า ราชการจัง หวัด หรื อนายอ าเภอให้ ค วามเห็นชอบหรือ อนุมั ติ แล้ ว แต่ก รณี ตามที่ กาหนดไว้ใน กฎหมายว่าด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ ทั้งนี้ รวมทั้งงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมและ การโอนการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคาชี้แจงงบประมาณด้วย “เงินนอกงบประมาณ” หมายความว่า เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น นอกจากเงินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจ่าย “ปี ง บประมาณ” หมายความว่ า ระยะเวลาตั้ ง แต่ วันที่ 1 ตุ ล าคม ของปี ห นึ่ งถึงวัน ที่ 30 กันยายน ของปีถัดไปและให้ใช้ปี พ.ศ. ที่ถัดไปนั้นเป็นชื่อสาหรับปีงบประมาณนั้น “หนี้” หมายความว่า ข้อผูกพันที่ต้องจ่าย หรืออาจจะต้องจ่ายเป็นเงิน สิ่งของหรือบริการ ไม่ ว่ า จะเป็ น ข้ อ ผู ก พั น อั น เกิ ด จากการกู้ ยื ม การค้ าประกั น การซื้ อ หรื อ การจ้ า งโดยวิ ธีใ ช้ เ ครดิต หรือจากการอื่นใด “หน่วยงาน” หมายความว่า สานัก กอง หรื อส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามโครงสร้าง ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ “ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ” หมายความว่ า นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวัด นายกเทศมนตรี และนายกองค์การบริหารส่วนตาบล “เจ้าหน้ าที่งบประมาณ” หมายความว่า ปลัด องค์การบริหารส่วนจังหวัด ปลัด เทศบาล และปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล ข้อ 5 บรรดารู ป แบบและเอกสารใด ๆ รายละเอี ย ดของหมวดรายได้ แ ละงบรายจ่ า ย ตลอดจนระบบและวิธกี ารงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามที่อธิบดีกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่นกาหนด ข้อ 6 ในกรณี ที่ ง บประมาณรายจ่ า ยประจ าปี อ อกใช้ ไ ม่ ทั น ปี ง บประมาณใหม่ ให้ ใ ช้ งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณที่ล่วงแล้วไปพลางก่อน การเบิกจ่ายเงินโดยอาศัยงบประมาณรายจ่ายประจาปีที่ล่วงมาแล้วนั้น ให้นาเงินงบประมาณ รายจ่ายเพิ่มเติมและที่ได้มีการโอนเพิ่มหรือโอนลดรวมเข้าไปด้วย โดยให้ถือเป็นยอดเงินสูงสุ ดจะพึง ถือจ่ายได้และให้กระทาได้เฉพาะรายจ่ายในงบกลาง งบบุคลากร งบดาเนินงาน และงบเงินอุดหนุน ที่จ่ายจากเงินอุดหนุนที่ได้รับจากรัฐบาล เช่น ค่าอาหารกลางวัน ข้อ 7 ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้และมีอานาจตีความวินิจฉัยปัญหา ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบนี้ กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเพื่อดาเนินการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ปลัดกระทรวงมหาดไทย อาจมอบอานาจเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามวรรคหนึ่งให้ผู้ว่าราชการจังหวัดได้ หนา้ ๓ เลม่ ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๗๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ หมวด 1 อานาจหน้าทีข่ องเจ้าหน้าทีง่ บประมาณ ข้อ 8 ให้ เจ้าหน้ าที่งบประมาณมีอานาจหน้าที่จัดทางบประมาณกับปฏิบัติการอื่นตามที่ กาหนดไว้ในระเบียบนี้ และให้มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับงานงบประมาณ ดังต่อไปนี้ด้วย (๑) เรียกให้หน่วยงานต่าง ๆ เสนอประมาณการรายรับ และรายจ่ายตามแบบและหลักเกณฑ์ พร้อมด้วยรายละเอียดที่กาหนดตามระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่งหรือหนังสือสั่งการกระทรวงมหาดไทย (๒) วิเคราะห์งบประมาณและการจ่ายเงินของหน่วยงานต่าง ๆ (๓) สั่งการ ควบคุม กากับ ดูแล เจ้าหน้าที่จัดทาเอกสารงบประมาณ และรวบรวมเป็น ร่างงบประมาณรายจ่ายประจาปี หมวด 2 ลักษณะของงบประมาณ ข้อ 9 เงินรายจ่ายประจาปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้จัดทาเป็นงบประมาณรายจ่าย ประจาปี และให้มีประมาณการรายรับประกอบงบประมาณรายจ่ายประจาปีด้วย ข้อ 10 งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี ข ององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น อาจจ าแนกเป็ น งบประมาณรายจ่ายทั่วไป และงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ ข้อ 11 องค์ ก รปกครองส่ว นท้องถิ่น อาจจั ด ทางบประมาณรายจ่ ายเฉพาะการได้ ทั้ งนี้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากสภาท้องถิ่นและผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นชอบหรือนายอาเภออนุมัติ แล้วแต่กรณี ตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ ข้อ 12 ในกรณีที่มีเหตุผลความจาเป็น อาจสนับสนุนงบประมาณรายจ่ายทั่วไปไปตั้งจ่าย ในงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ หรือสนับสนุนงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการไปตั้งจ่ายในงบประมาณ รายจ่ายทั่วไปได้ ข้อ 13 งบประมาณรายจ่ายทั่วไปขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย รายจ่ายงบกลาง และรายจ่ายตามแผนงาน ข้อ ๑4 รายจ่ายตามแผนงาน จาแนกเป็นสองลักษณะ คือ (1) รายจ่ายประจา ประกอบด้วย (ก) งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคลากรท้องถิ่น ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะเงินเดือน ค่าจ้างประจา และค่าจ้างชั่วคราว (ข) งบดาเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจา ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค หนา้ ๔ เลม่ ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๗๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ (ค) งบเงินอุดหนุน หมายถึง เงินที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งงบประมาณอุดหนุน ให้แก่หน่วยงานที่ขอรับเงินอุดหนุนเพื่อให้ดาเนินการตามภารกิจที่อยู่ในอานาจหน้าที่ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นตามกฎหมาย (ง) งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายที่กาหนดให้ใช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้ (2) รายจ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ งบลงทุน ซึ่งเป็นรายจ่ายในลักษณะค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง รวมถึงรายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว รายละเอียดประเภทรายจ่ายงบกลาง งบรายจ่ายต่าง ๆ และเงินนอกงบประมาณให้เป็นไป ตามที่อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกาหนด ข้อ 15 งบประมาณรายจ่ายซึ่งตั้งจ่ายจากเงินอุดหนุนทั่วไป ตามกฎหมายว่าด้วยการกาหนด แผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือเงินประเภทอื่นที่ต้องนามา ตั้งงบประมาณรายจ่าย ให้จาแนกลักษณะรายจ่ายตามข้อ ๑4 ข้อ 16 การตั้งงบประมาณรายจ่ายเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้กระทา ตามที่มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง หรือหนังสือสั่งการกระทรวงมหาดไทยกาหนด ข้อ 17 ประมาณการรายรับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย หมวดรายได้ ซึ่งจาแนกเป็น (1) หมวดภาษีอากร (2) หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับและใบอนุญาต (3) หมวดรายได้จากทรัพย์สิน (4) หมวดรายได้จากสาธารณูปโภค และกิจการพาณิชย์ (5) หมวดเงินอุดหนุน (6) หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด ข้อ 18 รายละเอียดของหมวดรายได้ และงบรายจ่ายตามงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามที่อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกาหนด ข้อ ๑9 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะกาหนดให้มีเงินสารองจ่ายในงบกลาง เพื่อกรณีฉุกเฉิน ที่มีเหตุสาธารณภัยเกิดขึ้น หรือกรณีการป้องกันและยับยั้งก่อนเกิดสาธารณภัย หรือคาดว่าจะเกิด สาธารณภัย หรือกรณีฉุกเฉินเพื่อบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนเป็นส่วนรวมได้ การใช้เงินสารองจ่ายตามวรรคหนึ่งเป็นอานาจของผู้บริหารท้องถิ่น ข้อ 20 งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมให้ตราเป็นงบประมาณรายจ่ายเช่นเดียวกับงบประมาณ รายจ่ายประจาปี หนา้ ๕ เลม่ ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๗๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ข้อ 21 การตรางบประมาณรายจ่ า ยเพิ่ ม เติ ม จะกระท าได้ ต่ อ เมื่ อ งบประมาณรายจ่ า ย ประจาปีที่ได้รับความเห็นชอบหรืออนุมัติแล้วไม่พอแก่การใช้จ่าย หรือมีความจาเป็นต้องตั้งรายจ่ายขึ้นใหม่ ทั้งนี้ ต้องแสดงให้ปรากฏในงบประมาณรายจ่ายดังกล่าวด้วยว่า จะจ่ายจากเงินรายได้ที่มิได้ตั้งรับไว้ ในประมาณการรายรับหรือจากเงินรายได้ที่เกินยอดรวมทั้งสิ้นของประมาณการรายรับประจาปี หมวด 3 วิธีการจัดทางบประมาณ ข้อ 22 ให้ใช้แผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นแนวทางในการจัดทางบประมาณ ให้หัวหน้าหน่วยงานจัดทาประมาณการรายรับ และประมาณการรายจ่ายและให้หัวหน้าหน่วยงานคลัง รวบรวมรายงานการเงินและสถิติต่าง ๆ ของทุกหน่วยงานเพื่อใช้ประกอบการคานวณขอตั้งงบประมาณ เสนอต่อเจ้าหน้าที่งบประมาณ ข้อ 23 ให้เจ้าหน้าที่งบประมาณทาการพิจารณาตรวจสอบ วิเคราะห์ และแก้ไขงบประมาณ ในชั้นต้น แล้วเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่น เมื่อผู้บริหารท้องถิ่น ได้พิจารณาอนุมัติให้ตั้งเงินงบประมาณยอดใดเป็นงบประมาณประจาปีแล้ว ให้เจ้าหน้าที่งบประมาณรวบรวมและจัดทาเป็นร่างงบประมาณรายจ่ายเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นอีกครั้งหนึ่ง เพื่อผู้บริหารท้องถิ่นได้นาเสนอต่อสภาท้องถิ่นภายในวันที่ 15 สิงหาคม ข้อ 24 ในกรณีที่ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่สามารถนาร่างงบประมาณรายจ่าย ประจาปีเสนอต่อสภาท้องถิ่นได้ทันภายในวันที่ 15 สิงหาคม ให้ผู้บริหารท้องถิน่ รายงานให้สภาท้องถิน่ ทราบ โดยอาจก าหนดระยะเวลาที่ ค าดหมายว่ า จะเสนอร่ างงบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี ใ ห้ ส ภาท้ องถิ่น เพื่อให้ความเห็นชอบด้วยก็ได้ แล้วให้ผู้บริหารท้องถิ่นรายงานให้ผู้กากับดูแลทราบด้วย ทั้งนี้ เพื่อให้ ร่างงบประมาณรายจ่ายประจาปีสามารถใช้บังคับได้ทันในวันเริ่มต้นปีงบประมาณ ข้อ 25 การพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างงบประมาณรายจ่ายของสภาท้องถิ่นและการพิจารณา ให้ความเห็นชอบหรืออนุมัติร่างงบประมาณรายจ่ายของผู้มีอานาจให้ความเห็นชอบหรืออนุมัติให้เป็นไป ตามที่กาหนดไว้ในกฎหมาย ระเบียบ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ หมวด 4 การโอนและการแก้ไขเปลี่ยนแปลงงบประมาณ ข้อ 26 การโอนเงินงบประมาณรายจ่ายต่าง ๆ ให้เป็นอานาจอนุมัติของผู้บริหารท้องถิ่น ข้อ 27 การโอนเงิน งบประมาณรายจ่ายในงบลงทุน โดยการโอนเพิ่ม โอนลด ที่ทาให้ ลักษณะ ปริมาณ คุณภาพเปลี่ยน หรือโอนไปตั้งจ่ายเป็นรายการใหม่ ให้เป็นอานาจอนุมัติของสภาท้องถิ่น ข้อ 28 การแก้ ไ ขเปลี่ ย นแปลงค าชี้ แ จงประมาณการรายรั บ หรื อ งบประมาณรายจ่ า ย ให้เป็นอานาจอนุมัติของผู้บริหารท้องถิ่น หนา้ ๖ เลม่ ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๗๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ข้อ 29 การแก้ไ ขเปลี่ยนแปลงคาชี้แจงงบประมาณรายจ่ายในงบลงทุน ที่ทาให้ลักษณะ ปริมาณ คุณภาพเปลี่ยน หรือเปลี่ยนแปลงสถานที่ก่อสร้าง ให้เป็นอานาจอนุมัติของสภาท้องถิ่น ข้อ 30 การแก้ ไ ขเปลี่ ย นแปลงค าชี้ แ จงงบประมาณรายการที่ ไ ด้ กั น เงิ น หรื อ ขยายเวลา การเบิ ก จ่ า ยเงิ น ไว้ แ ล้ ว จะกระท าได้ ต่ อ เมื่ อ ได้ รั บ อนุมั ติ จ ากผู้ มี อ านาจให้ กั น เงิ น หรื อ ขยายเวลา การเบิกจ่ายเงิน ข้อ 31 การแก้ไขเปลี่ยนแปลงคาชี้แจงงบประมาณรายการที่ได้ก่อหนี้ผูกพันไว้แล้วหากมิได้เพิ่มวงเงิน ให้เป็นอานาจอนุมัติของผู้บริหารท้องถิ่น ข้อ 32 ภายใต้บังคับข้อ 38 การโอนเงินงบประมาณรายจ่าย หรือการแก้ไขเปลี่ยนแปลง คาชี้แจงประมาณการรายรับและงบประมาณรายจ่าย เมื่อได้รับอนุมัติจากผู้มีอานาจแล้วให้ประกาศ โดยเปิดเผยเพื่อให้ประชาชนทราบ แล้วแจ้งการประกาศให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อทราบ ภายในสิบห้าวัน สาหรับองค์การบริหารส่วนตาบลให้แจ้งแก่นายอาเภอ หมวด 5 การควบคุมงบประมาณ ข้อ 33 ให้ ผู้ บ ริ ห ารท้อ งถิ่ น และเจ้ าหน้า ที่ ง บประมาณรับผิ ด ชอบร่ วมกั นในการควบคุม งบประมาณรายจ่ายและเงินนอกงบประมาณ เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ค าสั่ ง หรื อ หนั ง สื อ สั่ ง การของกระทรวงมหาดไทย โดยมี หั ว หน้ า หน่ ว ยงานคลั ง เป็ น ผู้ ช่ ว ยเหลื อ และให้มีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ด้วย คือ (1) ควบคุมการรับ และการเบิกจ่ายเงิน (2) ควบคุมบัญชี รายงาน และเอกสารอื่นเกี่ยวกับการรับจ่ายเงิน และหนี้ (3) ตรวจเอกสารการรับจ่ายเงิน การขอเบิกเงิน และการก่อหนี้ผูกพัน ข้อ 34 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะจ่ายเงิน หรือก่อหนี้ผูกพันได้ตามข้อความที่กาหนดไว้ ในงบประมาณรายจ่ายประจาปีห รืองบประมาณรายจ่ ายเพิ่มเติม ทั้งนี้ ต้องมีกฎหมาย ระเบียบ ข้ อ บั ง คั บ ค าสั่ ง หรื อ หนั ง สื อ สั่ ง การกระทรวงมหาดไทยอนุ ญ าตให้ จ่ า ย และมี เ งิ น รายได้ เ พี ย งพอ ที่จะเบิกจ่ายได้ ข้อ 35 การใช้จ่ายเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เงินกู้ เงินสะสม หรือเงินอุดหนุนจากกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดที่มีลักษณะให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการตามที่ระบุไว้ เป็นการเฉพาะโดยไม่มีเงื่อนไข ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพิจารณาดาเนินการตามที่ระบุไว้โดยไม่ต้องตรา เป็นงบประมาณรายจ่ายตามระเบียบนี้ เงินที่ได้รับในลักษณะค่าชดใช้ความเสียหาย หรือสิ้นเปลืองแห่งทรัพย์สิน และจาเป็นจะต้องจ่าย เพื่อบูรณะทรัพย์สิน หรือจัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมา ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพิจารณาดาเนินการ ตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยไม่ต้องตราเป็นงบประมาณรายจ่ายตามระเบียบนี้ หนา้ ๗ เลม่ ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๗๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ เงินรายรับที่เป็นสถานพยาบาล สถานศึกษา หรือสถานอื่นใดที่อานวยบริการเป็นสาธารณประโยชน์ หรือประชาสงเคราะห์ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ หรือหนังสือสั่งการ เพื่อการนี้ ข้อ 36 เมื่ อ สิ้ น ปี ง บประมาณ หากงบประมาณรายจ่ า ยมี เ หลื อ อยู่ และได้ มี ก ารกั น เงิน หรือขยายเวลาการเบิกจ่ายเงินไว้แล้ว ให้เบิกจ่ายได้โดยอาศัยงบประมาณรายจ่ายฉบับเดิมต่อไปได้อีก ภายในระยะเวลาที่ขอกันเงิน หรือขยายเวลาการเบิกจ่ายเงินไว้ ข้อ 37 องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น อาจก่ อ หนี้ ผู ก พั น งบประมาณรายจ่ า ยมากกว่ า หนึ่งปีงบประมาณได้ โดยความเห็นชอบของสภาท้องถิ่นภายใต้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (1) เป็นโครงการที่ไม่อาจแยกงบประมาณตั้งจ่ายเพื่อดาเนินการในแต่ละปีงบประมาณได้ (2) มีรายได้ไม่เพียงพอที่จะดาเนินการในปีงบประมาณเดียว หรือมีความจาเป็นต้องก่อหนี้ผูกพัน งบประมาณรายจ่ายมากกว่าหนึ่งปีงบประมาณ (3) จัดทาเป็นงบประมาณรายจ่ายตามขั้นตอนของกฎหมาย โดยจะต้องระบุในงบประมาณ รายจ่ายปีปัจจุบัน และงบประมาณรายจ่ายปีถัดไป ที่จะก่อหนี้ผูกพันให้ชัดเจน (4) ให้ก่อหนี้ผูกพันได้ไม่เกินสามปีงบประมาณ เว้นแต่ กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี ระเบียบ ประกาศของกระทรวงมหาดไทยกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น หมวด 6 การรายงาน ข้อ 38 ให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น จั ด ส่ ง ส าเนางบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี แ ละ งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมที่ได้รับความเห็นชอบหรืออนุมัติให้ประกาศใช้แล้วไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด ส าหรั บ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตาบลให้ ส่ ง นายอ าเภอ เพื่ อ ทราบ ภายในระยะเวลาไม่ เ กิ น สิ บห้าวัน นับแต่วันสิ้นสุดการประกาศโดยเปิดเผยเพื่อให้ประชาชนทราบ ณ สานักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และให้เผยแพร่ทางเว็บไซต์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วย ข้อ 39 เมื่อสิ้นปีงบประมาณ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประกาศรายงานการรับ - จ่ายเงิน ประจ าปี ง บประมาณที่ สิ้ น สุ ด นั้ น ทั้ ง งบประมาณรายจ่ า ยและเงิ น นอกงบประมาณไว้ โ ดยเปิ ด เผย ณ สานักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนทราบภายในกาหนดสามสิบวันตามแบบ ที่อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกาหนด แล้วส่งสาเนารายงานการรับ - จ่ายเงินดังกล่าวไปให้ ผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อทราบและเก็บเป็นข้อมูลระดับจังหวัด ภายในระยะเวลาสิบห้าวันหลังจากนั้ น แล้วให้จังหวัดรายงานกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทราบ หนา้ ๘ เลม่ ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๗๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ บทเฉพาะกาล ข้อ 40 วิธีการงบประมาณที่อยู่ในระหว่างดาเนินการ และยังไม่แล้วเสร็จ ในวันที่ระเบียบนี้ ใช้บังคับ ให้ดาเนินการต่อไปตามระเบียบ หรือหลักเกณฑ์ที่ใช้บังคับอยู่เดิมจนกว่าจะแล้วเสร็จ ข้อ 41 บรรดารู ป แบบและเอกสารใด ๆ ตลอดจนระบบและวิ ธี ก ารงบประมาณของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่อยู่ระหว่างดาเนินการและยังไม่แล้วเสร็จ ให้ใช้แบบเดิมไปพลางก่อน จนกว่า จะได้กาหนดให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖3 พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย