Policy Capacity: A Scoping Review of Definitions
Document Details
Uploaded by Deleted User
Mahasarakham University
2024
Prasongchai Setthasuravich
Tags
Related
- Tariff Policy PDF 2006
- Ministry of Power Tariff Policy 2016 PDF
- The Deadlock of Democracy in Brazil (2001) PDF - Introduction
- Philippine Disaster Risk Reduction and Management Act of 2010 PDF
- Plan de transition de l’Éducation au Burundi PDF
- SGSC Police Department Policy on Persons of Diminished Capacity 2024 PDF
Summary
This document is a research article reviewing policy capacity definitions, frameworks, and applications. It surveys various perspectives on the topic, including historical context, theoretical frameworks, and practical applications within Thai contexts.
Full Transcript
CL302322 การวิเคราะห์และประเมินนโยบายสาธารณะ ความสามารถของนโยบาย (Policy Capacity) ดร. ประสงค์ชัย เศรษฐสุรวิชญ์ 13 สิงหาคม 2567 1 ดร. ประสงค์ชย ั เศรษฐสุรวิชญ์ Prasongchai Setthasuravich, D...
CL302322 การวิเคราะห์และประเมินนโยบายสาธารณะ ความสามารถของนโยบาย (Policy Capacity) ดร. ประสงค์ชัย เศรษฐสุรวิชญ์ 13 สิงหาคม 2567 1 ดร. ประสงค์ชย ั เศรษฐสุรวิชญ์ Prasongchai Setthasuravich, Dr. Eng. Doctor of Engineering (Civil Engineering) The University of Tokyo, Japan รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองและการจัดการปกครอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รัฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินย ิ มอับดับ 2) รัฐประศาสนศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ความสนใจทางวิชาการ การวางแผนและนโยบายการขนส่ง (Transportation Planning and Policy) ช่องว่างทางดิจิทัลในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนา (The Digital Divide in Developing Countries) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการพัฒนา (Information and Communications Technologies for Development: ICT4D) วิศวกรรมนโยบายสาธารณะ (Public Policy Engineering) Email: [email protected] Website: https://www.setthasuravich.com/ Scopus: https://www.scopus.com/authid/detail.uri?authorId=57218570415 2 [IJ-06] Robru, K., Setthasuravich, P., Pukdeewut, A., & Wetchakama, S. (2024). Internet Use for Health-Related Purposes Among Older People in Thailand: An Analysis of Nationwide Cross-Sectional Data. Informatics, 11 (3), 55. (DOI: 10.3390/informatics11030055) [Scopus/ESCI, IF=3.4 (2023)] [IJ-05] Setthasuravich, P., Sirikhan, K., & Kato, H. (2024). Spatial econometric analysis of the digital divide in Thailand at the sub-district level: Patterns and determinants. Telecommunications Policy, 48, 102818. (DOI: https://doi.org/10.1016/j.telpol.2024.102818) [SCIE/SSCI, IF=5.9 (2023)] [IJ-04] Denfanapapol, S., Setthasuravich, P., Rattanakul, S., Pukdeewut, A., & Kato, H. (2024). The digital divide, wealth, and inequality: An examination of socio- Selected economic determinants of collaborative environmental governance in Thailand through provincial-level panel data analysis. Sustainability, 16(11), 4658. Publications (DOI:https://doi.org/10.3390/su16114658) )[SCIE/SSCI, IF=3.3 (2023)] [Inter] [IJ-03] Del Barrio Alvarez, D., Setthasuravich, P., & Pukdeewut, A. (2024). Regional cooperation in the power sector in the Greater Mekong Subregion: A historical process. Energy and Decarbonisation in Southeast Asia Compendium. ISEAS - Yusof Ishak Institute [PM] *in press* [IJ-02] Setthasuravich, P., & Kato, H. (2022). Does the digital divide matter for short-term transportation policy outcomes? A spatial econometric analysis of Thailand. Telematics and Informatics, 72, 101858. (DOI: https://doi.org/10.1016/j.tele.2022.101858) [SSCI, IF=8.5] [IJ-01] Setthasuravich, P., & Kato, H. (2020). The mediating role of the digital divide in outcomes of short-term transportation policy in Thailand. Transport Policy, 97, 161–171. (DOI: https://doi.org/10.1016/j.tranpol.2020.07.008) [SSCI, IF=4.674] 3 [TJ-06] Laosit, T., & Setthasuravich, P. (2024). Adoption of Drone Technology for Flood Response in Mahasarakham Province: Analyzing Attitudes and Intentions of Disaster Prevention and Mitigation Officers. Local Administration Journal, 17(4) (in Thai) [TCI 1] (Accepted) [TJ-05] Kongpod, R., & Setthasuravich, P. (2024). Factors Influencing Technology Acceptance Among Village Health Volunteers in Kalasin Province: A Case Study on the Smart OSM Application. Public Health Policy and Laws Journal, 10(3) (in Thai) [TCI 2] (Accepted) [TJ-04] Setthasuravich, P., & Pukdeewut, A. (2024). Policy capacity: A scoping review of definitions, conceptual frameworks, applications, and future research directions. Local Administration Journal, 17(2), 261–294. https://so04.tci- Selected [TJ-03] thaijo.org/index.php/colakkujournals/article/view/271574 (in Thai) [TCI 1] Pimjanna, K., Seetan, A., Kanla-or, A., Panviset, W., Kaenchompoo, K., Pongkhamsing, Publications N., Kanhasungnoen, P., Nitipongphakin, P., Pukdeewut, A., & Setthasuravich, P. (2023). A study on the scope of research published in the Journal of Politics and Governance [Thai] between 2011-2021 using word cloud. Journal of Politics and Governance, 13(3), 184– 201. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jopag/article/view/270979 (in Thai) [TCI 1] [TJ-02] Setthasuravich, P. (2018). The relations between Thaksin Shinawatra’s policies and the red-shirt movement: Looking at the red-shirt movement in Mahasarakham through cognitive mapping. Journal of Politics and Governance, 8(3), c https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jopag/article/view/162200 (in Thai) [TCI 1] [TJ-01] Setthasuravich, P. (2015). A study of policy agenda setting: Multiple streams model analysis and practice. Journal of Politics Administration and Law, 7(3), 301–331. http://polsci-law.buu.ac.th/journal/document/7-3/10.pdf (in Thai) [TCI 1] 4 Journal Impact Factor (2023) = 2.6 https://onlinelibrary.wiley.com/journal/1099162x 5 รายวิชา CL302322 การวิเคราะห์และประเมินนโยบายสาธารณะ (อ.ดร.ประสงค์ชย ั เศรษฐสุรวิชญ์) ประเด็นการวัดผล สัดส่วน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน (Quiz) 10% One-Page Report (OPR) 20% สอบปลายภาค 30% งานกลุ่ม 40% รวม 100% 6 ภาพรวมแนวคิดความสามารถของนโยบาย (Policy capacity) ความสามารถของนโยบาย (Policy capacity) ่ เป็ นการศึกษาเกียวกั ่ ่งเน้นในเรืองประสิ บกระบวนการนโยบายทีมุ ่ ทธิภาพของผู ้มีสว่ นร่วมกับนโยบายรวมไปถึงประสิทธิภาพ ของนโยบายสาธารณะ ความสามารถของนโยบายนั้นเป็ นการสารวจและประเมินถึง - ความสามารถทีเกี ่ ยวกั ่ บการวิเคราะห ์ (Analytical capacity) - การปฏิบตั งิ าน (Operational capacity) - การเมือง (Political capacity) ่ ้ผสานเข ้ากับทักษะและทร ัพยากรในโครงสร ้างของภาคร ัฐทัง้ 3 ระดับ ได ้แก่ ซึงได - ระดับบุคคล (Individual) - ระดับองค ์กร (Organization) - ระดับโครงสร ้างหรือระบบ (System) ี่ ยวข โดยงานวิจยั ส่วนใหญ่ทเกี ่ ้ กมาจากประเทศทีพั ้องกับแนวคิดนีมั ่ ฒนาแล ้ว ่ ขณะทีในประเทศไทยและกลุ ม ้ งมีอยูค ่ ประเทศกาลังพัฒนา งานวิจยั ในด ้านนียั ่ อ ่ นข ้างจากัด 7 ความสาคัญของแนวคิดความสามารถของนโยบาย (Policy capacity) ่ านมาเนื่ องจากการบริหารงานของภาคร ัฐในปัจจุบน ความสามารถของนโยบายได ้ร ับความสนใจอย่างกว ้างขวางในช่วงสองทศวรรษทีผ่ ั ่ ความซ ับซ ้อน (Complexity) เพิมขึ เผชิญกับความท ้าทายทีมี ่ น้ รวมถึงความคาดหวังของประชาชน (Citizen expectations) ที่ ่ น้ โดยมีความคาดหวังว่าภาคร ัฐจะสามารถตอบสนองต่อความต ้องการของสาธารณะได ้อย่างมีประสิทธิภาพผ่านนโยบายต่าง ๆ เพิมขึ ่ การศึกษาเกียวกั ้ บความสามารถของนโยบายยังเป็ นพืนฐานทางทฤษฎี ่ วยให ้นักวิจยั ทางร ัฐประศาสนศาสตร ์และนโยบาย สาคัญทีช่ สาธารณะ สามารถพัฒนากรอบความคิด (Framework) และตัวแบบ (Model) อธิบายกระบวนการตัดสินใจนโยบาย (Peters, 2015) การใช ้ความสามารถของนโยบายเป็ นกรอบวิเคราะห ์ช่วยให ้มองเห็นและเปรียบเทียบประสิทธิผลของนโยบายต่าง ๆ ในหน่ วยงานแต่ละ ่ าไปสูค แห่ง โดยช่วยระบุปัจจัยทีน ่ วามสาเร็จ (Policy success) หรือความล ้มเหลว (Policy failure) ของนโยบายนั้น ๆ ้ งสามารถวิเคราะห ์บทบาทของระบบการเมืองและการบริหารในการกาหนดผลลัพธ ์ของนโยบาย แนวคิดนี ยั นอกจากนี ยั ้ งเป็ นเครืองมื ่ อใน การวิเคราะห ์ความสัมพันธ ์ระหว่างการกาหนดนโยบาย (Policy formulation) และการนาไปปฏิบต ั ิ (Policy implementation) ทา ให ้สามารถระบุจด ุ แข็ง (Strength) และจุดอ่อน (Weakness) ในกระบวนการนโยบายได ้ (Anderson, 1996) 8 ความเชื่อมโยงระหว่างความสามารถของนโยบายกับรัฐประศาสนศาสตร์ การวิเคราะห ์ความสามารถของนโยบายช่วยให ้ภาคร ัฐสามารถจัดการกับความท ้าทายในการบริหารประเทศทีมี ่ ความ ่ นได ซ ับซ ้อนยิงขึ ้ ้อย่างมีประสิทธิผล โดยเน้นการเพิมความชอบธรรมและการสร ่ ้างการยอมร ับในนโยบาย การกระตุ ้นให ้ ่ าไปสูก เกิดการปร ับตัว และ สร ้างความร่วมมือระหว่างประชาชนกับภาคร ัฐ เพือน ่ ประสิทธิภาพสูง ่ ารบริหารประเทศทีมี ่ น้ ยิงขึ ้ โดยกรอบแนวคิดนี จะประกอบไปด ้วยมิตด ิ ้านความสามารถในการวิเคราะห ์ ความสามารถในการดาเนินงาน และ ความสามารถทางการเมือง ผนวกกับโครงสร ้างระดับบุคคล ระดับองค ์กร และระดับโครงสร ้าง เมือน ่ ามาผสานกันอย่าง เหมาะสม จะช่วยให ้ภาคร ัฐมีศก ่ ั ยภาพในการขับเคลือนนโยบายให ้บรรลุวต ่ ั ถุประสงค ์ได ้อย่างราบรืน ่ อสาคัญในการประเมินและวิเคราะห ์ศักยภาพของภาคร ัฐในการกาหนด แนวคิดความสามารถของนโยบายยังเป็ นเครืองมื และดาเนินนโยบาย ช่วยให ้สามารถระบุจด ่ าไปสูก ุ อ่อน จุดแข็งในแต่ละมิติ เพือน ่ ารปร ับปรุงและพัฒนาอย่างเป็ นระบบต่อไป ความสามารถของนโยบายยังเป็ นกรอบในการทาความเข ้าใจกระบวนการนโยบาย การวิเคราะห ์ประสิทธิภาพ การประเมิน ่ ผลลัพธ ์ และการให ้คาแนะนาเพือการปร ่ ับปรุงนโยบาย การประยุกต ์และการนาองค ์ความรู ้เกียวกั บความสามารถของ ่ าคัญสาหร ับการสร ้างสังคมทีสามารถยื นโยบายไปใช ้เป็ นสิงส ่ ดหยุ่น มีความเสมอภาค และความยังยื ่ นยิงขึ ่ น้ 9 ปัญหาในการนิยาม “ความสามารถของนโยบาย (Policy capacity)” หนึ่งในปัญหาหลักของแนวคิดความสามารถของนโยบายในปัจจุบน ั คือความไม่ช ัดเจน (Unclear) ในการนิ ยามคา ่ อให ้เกิดผลเสียหลายประการหากไม่มก จากัดความ (Definitions) ทีก่ ่ ้ได ้คานิ ยามทีช ี ารศึกษาวิจยั เพือให ่ ัดเจนและ ่ เป็ นทียอมร ับร่วมกัน ความคลุมเครือ (Ambiguity) ในการนิ ยามความหมายของคาว่า “ความสามารถของนโยบาย” มีโอกาสทาให ้เกิด ่ ความสับสน (Confusion) และการตีความทีแตกต่ างกันในหมู่นักวิจยั (Researchers) และผูป้ ฏิบต ั ิ (Practitioners) นักวิจยั บางกลุม ่ กวิจยั ่ อาจมองจากมุมมองของภาคร ัฐ (Public sector perspective) เพียงอย่างเดียว ในขณะทีนั บางกลุม ่ ่ ให ้คานิ ยามทีครอบคลุ ้ งผลให ้ มไปถึงภาคเอกชน (Private sector) ด ้วย ความหลากหลายในการนิ ยามนี ส่ ขอบเขตความหมายและองค ์ประกอบของแนวคิดความสามารถของนโยบายมีความซ ับซ ้อน (Complexity) และทับ ซ ้อนกัน (Overlapping) จากความไม่ช ัดเจนในการนิ ยามของแนวคิดนี ้ ย่อมส่งผลเสียต่อการนาแนวคิดนี ไปใช ้ ้ ้ในทังระดับนโยบาย (Policy level) และการบริหารจัดการ (Management level) ความไม่ช ัดเจนในการนิ ยามอาจทาให ้องค ์กรหรือหน่ วยงาน ่ ตีความความหมายในแบบทีแคบเฉพาะหรื อกว ้างเกินไป ส่งผลให ้การนาแนวคิดไปใช ้ไม่มปี ระสิทธิผล บิดเบือนจาก ้ ความตังใจเดิ ม หรือนาไปสูก ั ท ่ ารปฏิบต ี่ ิ คลาดเคลื ่ อนได ้ 10 นิยามของความสามารถของนโยบาย (1) กลุ่มที่ 1: ความสามารถในการตัดสินใจของภาครัฐ Painter & Pierre (2005) กล่าวว่าเป็ นความสามารถของภาคร ัฐในการรวบรวมทร ัพยากรทีจ่ าเป็ นเพือการตั ่ ดสินใจเลือก อย่างชาญฉลาดและกาหนดทิศทางของการจัดสรรทร ัพยากรทีมี ่ อยู่อย่างจากัดให ้ไปสูเ่ ป้ าหมายร่วมกันของสาธารณะ (Shared public values) และความสามารถในการปร ับตัวของนโยบาย (Policy adjustment) เมือสภาพแวดล่ ้อมที่ ่ นโยบายถูกนาไปใช ้มีความเปลียนแปลง Allred et al., (2021) กล่าวว่าเป็ นทักษะและความสามารถทีจ่ าเป็ นในการทาหน้าทีด ่ ้านนโยบาย เช่น การกาหนดรูปแบบ การตัดสินใจ และการนาไปปฏิบต ั ิ โดยความรู ้และความสามารถของผูม้ อ ี านาจตัดสินใจในนโยบายจะมีสว่ นช่วยให ้ผลลัพธ ์ ่ ้องการได ้ สร ้างผลลัพธ ์เชิงนโยบายทีต Brenton et al., (2023) นิ ยามคาว่า ความสามารถของนโยบายคือความสามารถในการคาดการณ์และมีอท ิ ธิพลต่อการ ่ เปลียนแปลงและเป็ ่ นการตัดสินใจอย่างชาญฉลาดเกียวกั บนโยบาย สร ้างวิธก ่ าเนิ นการตามนโยบาย แสวงหาและ ี ารเพือด จัดการทร ัพยากร และประเมินสภาพการณ์ในปัจจุบน ่ นแนวทางในการดาเนิ นการในอนาคต ั เพือเป็ พบไดว้ ่าการนิ ยามแนวคิดความสามารถของนโยบายในกลุ่มนี ้ จะเน้นการอธิบายแนวคิดทีเกี ่ ยวข ่ อ้ งกับบทบาท ในการตัดสินใจของภาคร ัฐเป็ นหลัก เช่น การตัดสินใจเลือกและกาหนดวิธก ี ารของการนานโยบายไปปฏิบต ั ิ หรือการ ตัดสินใจเลือกอย่างชาญฉลาดในการจัดสรรทร ัพยากรทีมี ่ อยู่อย่างจากัดให ้ไปสูเ่ ป้ าหมายร่วมกันของสาธารณะ 11 นิยามของความสามารถของนโยบาย (2) กลุ่มที่ 2: บทบาทในการวิเคราะห์และความร่วมมือจากผูม ้ ส ี ว ่ นร่วมทางการเมือง Gleeson et al., (2011) ได ้กล่าวว่าเป็ นความสามารถสาหร ับการพัฒนาและการนานโยบายไปใช ้อย่างมีประสิทธิผล ่ บสนุ นให ้เกิด ความสามารถด ้านนโยบายของหน่ วยงานต่าง ๆ อย่างเช่นโครงสร ้างองค ์กร กระบวนการ และวัฒนธรรมทีสนั การพัฒนาและการนานโยบายทีมี ่ ประสิทธิภาพไปใช ้จริง ่ มบทบาทของผูม้ ส Forest et al., (2015) ได ้ขยายขอบเขตของคานิ ยามโดยเพิมเติ ่ ยวข ี ว่ นร่วมทางการเมืองทีเกี ่ ้องกับ นโยบาย โดยเสนอว่า ความสามารถของนโยบายสามารถกล่าวได ้ว่าเป็ นความสามารถของภาคร ัฐและผูม้ บ ี ทบาท “สาธารณะ” อืน ่ ๆ ในการวางแผน พัฒนา ดาเนิ นการ และประเมินแนวทางแก ้ไขทีมี ่ เป้ าหมายเพือแก ่ ้ปัญหาส่วนรวม Brenton et al., (2023) นิ ยามคาว่า ความสามารถของนโยบายคือความสามารถในการคาดการณ์และมีอท ิ ธิพลต่อการ ่ เปลียนแปลงและเป็ ่ นการตัดสินใจอย่างชาญฉลาดเกียวกั บนโยบาย สร ้างวิธก ่ าเนิ นการตามนโยบาย แสวงหาและ ี ารเพือด จัดการทร ัพยากร และประเมินสภาพการณ์ในปัจจุบน ่ นแนวทางในการดาเนิ นการในอนาคต ั เพือเป็ Denis et al., (2015) อธิบายว่าความสามารถของนโยบายเป็ นมากกว่าความสามารถในการวิเคราะห ์ของภาคร ัฐเพียง ้ ความเข ้าใจทางการเมือง ความรู ้เชิงปฏิบต ฝ่ ายเดียวแต่ประกอบด ้วยองค ์ประกอบต่าง ๆ ตังแต่ ั ก ิ าร ไปจนถึงความรู ้ทาง ่ บสนุ นกระบวนการนโยบายทังหมด วิทยาศาสตร ์และทางเทคนิ ค ทีสนั ้ 12 นิยามของความสามารถของนโยบาย (3) กลุ่มที่ 2: บทบาทในการวิเคราะห์และความร่วมมือจากผูม ้ ส ี ว ่ นร่วมทางการเมือง (ต่อ) Wu et al., (2017) มองว่า ความสามารถของนโยบายนั้นเป็ นสมรรถนะและความสามารถทีส ่ าคัญต่อการกาหนดนโยบาย ่ นผลมาจากการผสานทักษะและทร ัพยากรในโครงสร ้างของภาคร ัฐทัง้ 3 ระดับ ได ้แก่ระดับบุคคล (Individual) ระดับ ซึงเป็ องค ์กร (Organization) ระดับโครงสร ้างหรือระบบ (System) ทาให ้การสร ้างนโยบายมีความสมเหตุสมผลจากการ จัดสรรทร ัพยากรให ้สอดคล ้องกับการดาเนิ นนโยบาย จึงทาให ้นโยบายมีประสิทธิภาพและได ้ร ับการสนับสนุ นทางการเมือง Cunha Saddi et al. (2018) ได ้ให ้นิ ยามของความสามารถของนโยบายว่าเป็ นความสามารถทีเกี่ ยวกั ่ บการวิเคราะห ์ ่ ้ (Analytical capacity) การดาเนิ นงาน (Operational capacity) และการเมือง (Political capacity) โดยสามสิงนี ่ เชือมโยงกั ้ บองค ์ประกอบ แต่ละส่วนภายในบริบทของนโยบายและครอบคลุมขันตอนทั ้ งหมดของกระบวนการนโยบาย พบได ้ว่าการนิ ยามแนวคิดความสามารถของนโยบายในกลุม ่ นี ้ เน้นไปทีบทบาทในการวิ ่ เคราะห ์และความร่วมมือจากผูม้ ี ส่วนร่วมทางการเมืองโดยไม่จากัดอยู่เฉพาะภาคร ัฐ แต่ขยายไปถึงการประสานความรู ้และความสามารถจากฝ่ ายต่าง ๆ ่ เพือผลักดันเป้ าหมายร่วมในการแก ้ไขปัญหาสาธารณะ งานวิจยั ทีเกี ่ ยวข ่ ้องได ้ระบุถงึ ส่วนประกอบสาคัญ 3 ประการ คือ ความสามารถในการวิเคราะห ์ (Analytical capacity) การดาเนินงาน (Operational capacity) และการเมือง (Political capacity) ซึงทั่ งหมดนี ้ ้ อมโยงกั เชื ่ นในบริบทของนโยบายผ่านหน่ วยงานต่าง ๆ และกระบวนการนโยบาย 13 นิยามของความสามารถของนโยบาย (4) สรุปการนิยามของนักวิชาการทั้งสองกลุ่ม ่ ในอดีตนักวิจยั มักมุ่งเน้นไปทีความสามารถของภาคร ่ ัฐในการรวบรวมทร ัพยากรและการตัดสินใจเพือการก าหนดนโยบาย ่ ประสิทธิผล ตัวอย่างเช่น Painter & Pierre (2005) ทีมองในแง่ ทีมี ่ ของการรวบรวมทร ัพยากรและการตัดสินใจเลือกอย่าง ่ ชาญฉลาด เป็ นต ้นต่อมา Wu et al., (2017) ได ้ขยายความเข ้าใจใหม่เกียวกั บแนวคิดความสามารถของนโยบาย โดยรวมถึงการมีสว่ นร่วมของตัวแสดงทางการเมือง ซึงท ่ าให ้เกิดการผสานความสามารถของภาคส่วนต่าง ๆ เพือผลั ่ กดัน นโยบายให ้บรรลุเป้ าหมายอย่างมีประสิทธิผล Cunha Saddi et al., (2018) ยังได ้ขยายขอบเขตของความสามารถของนโยบายไปยังมิตท ี่ ยวข ิ เกี ่ ้องกับการวิเคราะห ์ การปฏิบตั งิ าน และการเมือง แสดงให ้เห็นว่าความสามารถของนโยบายไม่เพียงแต่อยู่ในการตัดสินใจและการจัดสรร ทร ัพยากรของภาคร ัฐเท่านั้น แต่ยงั รวมถึงการร่วมมือและการมีสว่ นร่วมของผูเ้ ล่นรายอืนในกระบวนการนโยบายอี ่ กด ้วย สรุปได ้ว่าความสามารถของนโยบาย หมายถึง “การรวมกันของทักษะและความสามารถหลากหลายทีจ่ าเป็ นสาหร ับ กระบวนการนโยบายทังหมด ้ ้ ทังในด ้านการตัดสินใจและจัดสรรทร ัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพของภาคร ัฐ รวมไปถึงความ ร่วมมือและการวิเคราะห ์จากผู ้มีส่วนร่วมทางการเมืองทัง้ จากภาคร ัฐ ภาคเอกชน ประชาสังคม และภาคสาธารณะอืน ่ ๆ ้ ความสามารถนี รวมความสามารถที ่ ยวกั เกี ่ บ การวิเคราะห ์ (Analytical capacity) การดาเนิ นงาน (Operational capacity) และการเมือง (Political capacity) ซึงช่ ่ วยให ้ภาคร ัฐสามารถสร ้าง ดาเนิ นการ และปร ับปรุงนโยบายได ้อย่างเหมาะสมเพือ ่ ตอบสนองต่อเป้ าหมายร่วมของสาธารณะและสภาพแวดล ้อมทีเปลี ่ ยนแปลง ่ ้ งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ ายใน พร ้อมทังส่ กระบวนการนี เพื้ อเพิ ่ มประสิ ่ ทธิภาพและความยังยื ่ นของนโยบาย” 14 กรอบแนวคิดความสามารถของนโยบาย (1) กรอบการวิเคราะห์ความสามารถของนโยบายของ Wu et al., (2017) Levels of resources and Skills and competences (มิตข ิ องทักษะและความสามารถ) capabilities (โครงสร ้างการทางานของ Analytical Operational Political ภาคร ัฐ) (ด ้านการวิเคราะห ์) (ด ้านการดาเนิ นการ) (ด ้านการเมือง) Individual operational Individual analytical capacity Individual political capacity Individual capacity (ความสามารถในการ (ความสามารถทาง (ระดับปัจเจกบุคคล) (ความสามารถในการ วิเคราะห ์ของบุคคล) การเมืองของบุคคล) ดาเนิ นการของบุคคล) Organizational analytical Organizational operational Organizational political Organizational capacity capacity capacity (ระดับองค ์กร) (ความสามารถในการ (ความสามารถในการ (ความสามารถทาง วิเคราะห ์ขององค ์กร) ดาเนิ นงานขององค ์กร) การเมืองขององค ์กร) Systemic analytical capacity Systemic operational capacity Systemic political capacity Systemic (ความสามารถในการ (ความสามารถในการ (ความสามารถทาง (ระดับโครงสร ้างหรือระบบ) วิเคราะห ์อย่างเป็ นระบบ) ดาเนิ นงานอย่างเป็ นระบบ) การเมืองของระบบ) 15 กรอบแนวคิดความสามารถของนโยบาย (2) กรอบการวิเคราะห์ความสามารถของนโยบายของ Wu et al., (2017) มิตค ิ วามสามารถด ้านการวิเคราะห ์ ระดับปัจเจกบุคคล: ประกอบด ้วยความสามารถในการวิเคราะห ์และใช ้ความรู ้ใหเ้ กิด ประโยชน์สงู สุดในกระบวนการวางแผนและการนานโยบายไปปฏิบต ้ ั ิ พร ้อมทังการใช ้ ่ บเคลือนนโยบาย ทร ัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพเพือขั ่ ระดับ องค ก์ ร: ความพร ้อมของบุค ลากรที่มีท ก ั ษะการวิเ คราะห ์ การมีร ะบบการ ่ ประสิทธิภาพ และความมุ่งมั่นขององค ์กรในการสร ้างและดาเนิ น วิเคราะห ์ขอ้ มูลทีมี นโยบาย ระดับโครงสร ้าง: การมีฐานความรู ้จากหลากหลายศาสตร ์ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล และการศึกษาปรากฏการณ์สงั คม ทาใหผ ้ ูก้ าหนดนโยบายสามารถเขา้ ถึงขอ้ มูล ่ เคราะห ์และสร ้างนโยบายได ้อย่างมีประสิทธิภาพ สาคัญเพือวิ 16 Political Capacity (ความสามาร างการเมอง) Individual (ระดับบุคคล) Organization (ระดับองค์กร) System Analytical Capacity Operational Capacity (ระดับโครงสราง) (ความสามาร นการวิเคราะห์) (ความสามาร นการดาเนินงาน) แผนภาพที่ 1 ความสัมพันธ ์ของโครงสร ้างการทางานของภาคร ัฐและมิตข ิ องความสามารถ (ปร ับปรุงจาก Wu et al, 2017) 17 กรอบแนวคิดความสามารถของนโยบาย (3) กรอบการวิเคราะห์ความสามารถของนโยบายของ Wu et al., (2017) มิตค ิ วามสามารถด ้านการดาเนินงาน ระดับ ปั จ เจกบุ ค คล: ความสามารถของผู ป ั ิง านที่เกี่ยวข อ้ งกับ การ ้ ฏิบ ต จัด การสาธารณะมีค วามส าคัญ อย่ า งมากต่อ ความสามารถดา้ นนโยบาย โดยรวมของภาคร ัฐ ระดับ องค ก์ ร: วิธ ีก ารปฏิบ ต ั ิง านและค่ า นิ ย มของหน่ วยงานภาคร ฐั และ สภาพแวดล อ้ มภายในองค ก์ รสามารถสะท อ้ นถึง ผลลัพ ธ ์การด าเนิ น งาน นโยบาย ระดับโครงสร ้าง: ความร่วมมือระหว่างภาครฐั และภาคเอกชนในการแกไ้ ข ้ ปัญหาอย่างรวมมือ ส่งผลให ้สภาพแวดล ้อมของนโยบายขยายกว ้างขึนและ ่ ดความสามารถของนโยบาย เพิมขี 18 กรอบแนวคิดความสามารถของนโยบาย (4) กรอบการวิเคราะห์ความสามารถของนโยบายของ Wu et al., (2017) มิตค ิ วามสามารถด ้านการเมือง ระดับ ปั จ เจก: ผู ก ้ าหนดนโยบายต อ้ งมีค วามรู ้และความเฉี ย บแหลมทาง การเมืองในการทีจะก่ าหนดนโยบายให ้ตรงต่อ ความตอ้ งการของสังคมและ แก ้ไขปัญหาอย่างตรงจุด ระดับองค ์กร: ภาครฐั ตอ้ งเปิ ดรบั ความเห็ นของทุกฝ่ ายใหม้ ส ี ่วนร่วมในการ บอกกล่าวถึงปัญหาและหาทางออกของปัญหานั้นซึงจะช่ ่ วยให ้ประชาชนมี อิทธิพลต่อผลลัพธ ์ทางการเมืองได ้มากขึน้ ระดับโครงสร ้าง: การสร ้างสภาพแวดลอ้ มของนโยบายทีมี ่ พนฐานจากการ ื้ มีส่ ว นร่ว ม จะเป็ นสิ่งที่สร ้างความชอบธรรมให แ้ ก่นโยบายและการได ร้ บ ั ความไว ้วางใจจากประชาชน 19 กรอบแนวคิดความสามารถของนโยบาย (5) กรอบการวิเคราะห์ความสามารถของนโยบายของ Wu et al., (2017) ้ ขันตอนที ่ 1 การสร ้างความเข ้าใจในกรอบแนวคิด: การวิจยั เริมต ่ ้นด ้วยการทาความเข ้าใจอย่างลึกซึงในกรอบแนวคิ ้ ดที่ ่ เกียวข ้องกับความสามารถของนโยบาย โดยเฉพาะอย่างยิงในมิ ่ ตค ้ ิ วามสามารถทังสามประเภท (การวิเคราะห ์ การ ดาเนิ นงาน และการเมือง) และการผสานมิตเิ หล่านี เข้ ้ากับโครงสร ้างการทางานของภาคร ัฐ ้ ขันตอนที ่ 2 การรวบรวมข ้อมูล: ขันตอนนี ้ ้ นไปทีการรวบรวมข เน้ ่ ้อมูลทีจ่ าเป็ นเพือประเมิ ่ นความสามารถของนโยบายใน บริบทของ การวิจยั โดยอาจใช ้วิธก ้ ขึ ี ารต่าง ๆ เช่น การสารวจ การสัมภาษณ์ หรือการวิเคราะห ์เอกสาร ทังนี ้ นอยู ้ ่กบั ่ าหนด วัตถุประสงค ์การวิจยั และบริบททีก ้ ขันตอนที ่ 3 การวิเคราะห ์ข ้อมูล: นักวิจยั จะวิเคราะห ์ข ้อมูลทีรวบรวมได ่ ่ ้เพือประเมิ ้ นความสามารถของนโยบาย ขันตอนนี ้ ่ รวมถึงการใช ้เทคนิ คการวิเคราะห ์ทีเหมาะสมเพื ่ อระบุ จด ่ ม ุ แข็งและจุดอ่อนในกระบวนการนโยบาย และเสนอแนวทางเพือเพิ ่ ศักยภาพและการปร ับปรุงกระบวนการดังกล่าว ้ ขันตอนที ่ 4 การให ้ข ้อเสนอแนะและการตีความผลการวิจยั : จากผลการวิเคราะห ์ นักวิจยั จะตีความและสรุปความสามารถ ของนโยบายในบริบทการวิจยั ทีเกี ่ ยวข ่ ้ งรวมถึงการให ้คาแนะนาหรือข ้อเสนอแนะทีเป็ ้อง นอกจากนี ยั ่ นประโยชน์เพือ่ เสริมสร ้างและพัฒนาความสามารถของนโยบาย เพือด ่ าเนิ นการปร ับปรุงและยกระดับผลลัพธ ์ของนโยบายให ้ดียงขึ ิ่ น้ 20 Intersection of supply / demand กรอบแนวคิดความสามารถของนโยบาย (6) ( ุด ัด องอุปสงค์ อุป าน) Competencies (ความสามาร ) Constraints ( อ ากัด) กรอบการวิเคราะห์ความสามารถของนโยบายของ Brenton et al., (2023) Contingent Political Expectations / Satisfaction Management (ความคาดหวัง ความ ง อ ม อ าครัฐ) (การ ัดการกับปราก การณ์ างการเมอง อา เกิด น) Sufficient expectations of public & others satisfied to maintain confidence & legitimacy Throughput / (ความคาดหวังและความ ง อ องประชาชน policy delivery goal นามา งความมัน และความชอบธรรม อง (ปริมาณงาน าครัฐ) เปาหมายการสงมอบนโยบาย) Administrative Capital ( น ุ นการบริหาร) Budgets / Distributions (งบประมาณ การแ ก าย) Resources : human; organizational; financial; physical; political ( รั ยากร : มนุษย์, องค์กร, งบประมาณ, กาย า , การเมอง) varies temporally & cross-sectionally demand (แ ก างกัน ป ามอุปสงค์ เกิด น นบางชวง) (ความกดดันและ อเรยกรอง างการเมอง) Sufficient Low ( า) High (สง) (เ ยง อ) (ความสามาร นการกระ ายงบประมาณ) competencies budgets/distribution lower limit of policy capacity Under ‘hollowed out’ state ( ุด าสุด องความสามาร อง ( ากวา) (รัฐกลวง) นโยบาย) Constraints Sufficient Weak civil society Policy Onset of crisis response ( อ ากัด) (เ ยง อ) ( าคประชาสังคม ออนแอ) Capacity (การเริม น อบสนอง อวิก )ิ Too much bureaucracy / Upper limit of policy capacity Over Too much state intervention ( ุดสงสุด องความสามาร อง (เกินกวา) (ระบบราชการ หญโ และการแ รกแ ง มาก นโยบาย) เกิน ป) 21 Varies supply (ระดับ องอุป าน แ ก างกัน) กรอบแนวคิดความสามารถของนโยบาย (7) กรอบการวิเคราะห์ความสามารถของนโยบายของ Brenton et al., (2023) ประกอบด้วย ทุนในการบริหาร (Administrative capital) หมายถึงความสามารถของระบบบริหารภาคร ัฐในการบริหารจัดการ ้ ทร ัพยากร การจัดสรรงบประมาณ และการดาเนิ นการนโยบายต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ทุนในการบริหารจึงเป็ นพืนฐาน ่ าคัญในการสร ้างและดาเนิ นนโยบายสาธารณะทีมี ทีส ่ ประสิทธิผล ่ ดขึน้ (Contingent political management) คือ ความสามารถใน การจัดการกับปรากฏการณ์ทางการเมืองทีอาจเกิ ่ คาดคิด รวมถึงการนาเสนอนโยบายทีตอบสนองต่ การตอบสนองและจัดการกับเหตุการณ์ทางการเมืองทีไม่ ่ อความ ่ ักษาความชอบธรรมและการสนับสนุ นจากประชาชน ต ้องการและความคาดหวังของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ เพือร ่ ตอ ความคาดหวัง / ความพึงพอใจทีมี ่ ภาคร ัฐ (Expectations/Satisfaction) มิตน ้ ิ ี สะท ้อนถึงความต ้องการและความ คาดหวังของประชาชนต่อการดาเนิ นงานของภาคร ัฐ รวมถึงความพึงพอใจในผลลัพธ ์ของนโยบายสาธารณะ มิตน ้ นยา้ ิ ี เน้ ่ ถึงความสาคัญของการสือสารและการมี สว่ นร่วมของประชาชนในกระบวนการกาหนดนโยบาย ทัง้ 3 มิตข ิ ้างต ้นนี ล้ ้วนเกียวข ่ ่ ้องกับอุปสงค ์ทีหมายถึ งความกดดันและข ้อเรียกร ้องทางการเมือง (Pressing public and Political demands) และอุปทานทีหมายถึ ่ งข ้อจากัด (Constraints) ความสามารถในการกระจายงบประมาณ (Competencies budgets/Distribution) ในระบบนโยบาย 22 กรอบแนวคิ ดความสามารถของนโยบาย (8) กรอบแนวคิดวามสามารถของนโยบาย กรอบการวิเคราะห์ความสามารถของนโยบายของ Brenton et al., (2023) ความสัมพันธ ์ของทัง้ 3 มิติ สามารถทาความเข ้าใจได ้ตามส่วนประกอบของกราฟทีแสดงความสั ่ มพันธ ์ระหว่างความ ต ้องการด ้านนโยบายจากประชาชนและการเมือง กับ “ทุนในการบริหาร” ทุนทางการบริหาร หมายถึง ทร ัพยากรทีร่ ัฐบาลหรือหน่ วยงานมีอยู่ (แกนนอนของกราฟ) แสดงถึงทร ัพยากรต่าง ๆ ที่ ้ ้านบุคลากร โครงสร ้างองค ์กร งบประมาณ ตลอดจนอานาจทางการเมือง ซึง่ จาเป็ นสาหร ับ การดาเนิ นนโยบาย ทังด ้ นตัวกาหนดพืนฐานของขี ปริมาณของทร ัพยากรเหล่านี เป็ ้ ดความสามารถในการจัดทาและบังคับใช ้นโยบายของภาคร ัฐ ้ ทุนทางการบริหารเหล่านี จะแปรผั ้ นตามความต ้องการด ้านนโยบายของประชาชนและการเมือง (แกนตังของกราฟ) โดย ้ ถ ้ามีความต ้องการสูงก็จะต ้องใช ้ทุนทางการบริหารมากขึนในการตอบสนองความต ้องการนั้น ซึงจุ ่ ดตัดของเส ้นอุปสงค ์และ อุปทานในกราฟคือ “ระดับความคาดหวังและความพึงพอใจของประชาชนและผูม้ ส ี ว่ นได ้ส่วนเสีย” ต่อนโยบาย ถ ้าร ัฐบาลสามารถจัดสรรทุนในการบริหารได ้อย่างเหมาะสมกับความต ้องการ ก็จะทาให ้ประชาชนและผูม้ ส ี ว่ นไดส้ ว่ นเสียมี ความพึงพอใจและให ้ความชอบธรรมกับนโยบายนั้น ซึงจะน่ าไปสูค ่ ตอ ่ วามไว ้วางใจทีมี ่ ร ัฐบาล (Trust in government) ้ กลางของกราฟแสดงถึ สุดท ้ายคือบริเวณพืนที ่ ้ ความสามารถของนโยบาย” ง “พืนที ่ ่ นอยู ซึงขึ ้ ่กบั การประสานกันของ ทร ัพยากรการบริหารและความคาดหวังของสาธารณะ หากมีทร ัพยากรเพียงพอและสอดคล ้องกับความคาดหวัง จะทาให ้ นโยบายมีความสามารถในการบรรลุเป้ าหมายได ้ 23 กรอบแนวคิดความสามารถของนโยบาย (9) กรอบการวิเคราะห์ความสามารถของนโยบายของ Brenton et al., (2023) ่ สาหร ับในส่วนล่างของแผนภาพจะเป็ นตารางทีแสดงความสั มพันธ ์ระหว่างปริมาณการจัดสรร ทุนทางการบริหารกับระดับความสามารถในการกาหนดนโยบาย โดยแบ่งเป็ น 3 ระดับ 1. ทุนในการบริหารต่า (Under) จะส่งผลให ้เกิดภาวะ “Lower limit of policy capacity” หรือความสามารถในการกาหนดนโยบายอยู่ในระดับต่าสุด เนื่องจากมี ข ้อจากัดด ้านทร ัพยากรต่าง ๆ และมักจะนาไปสูส ่ ่ ภาวะทีภาคประชาสั งคมมีความ อ่อนแอ 2. ทุนในการบริหารในระดับพอเพียง (Sufficient) จะทาให ้ร ัฐบาลหรือหน่ วยงานมี ความสามารถในการกาหนดนโยบายได ้อย่างเต็มที่ สามารถตอบสนองความต ้องการ ของประชาชนและบริหารจัดการได ้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ทุนในการบริหารมากเกินไป (Over) อาจจะนาไปสูภ ่ หน้าทีและอ ่ าวะทีมี ่ านาจของระบบ ่ ้นเกินและอาจจะเกิดวิกฤตการณ์ขน ราชการทีล ึ ้ หรือถ ้ามากจนเกินไปจะถึงจุดสูงสุด ่ ของขีดความสามารถ (Upper limit of policy capacity) ซึงจะมี ปัญหาเช่นมีระบบ ่ ราชการทีใหญ่ ่ โตเกินไปหรือการแทรกแซงจากร ัฐทีมากเกิ นไป เป็ นต ้น 24 การวัดความสามารถของนโยบาย (เสนอโดย Hartley และ Zhang, 2018) ตารางวัดความสามารถของนโยบาย มิติความสามารถด้านการวิเคราะห์ มิตค ิ วามสามารถกับโครงสร ้าง ระดับปัจเจก ระดับองค ์กร ระบบโครงสร ้าง ภาคร ัฐ (Individual) (Organizational) (System) ความสามารถในการวิเคราะห ์ ความสามารถด ้านข ้อมูล ความสามารถด ้านองค ์ความรู ้ นโยบาย (Organizational Information (Knowledge System (Policy analytical capacity) Capacity) Capacity) ่ ้ การจัดเก็บข ้อมูล ความรู ้เกียวกั บเนื อหาของ การมีทฝึี่ กอบรมคุณภาพสูง (Storing information) มิตค ิ วามสามารถด ้านการ นโยบาย (Presence of high quality วิเคราะห ์ (Knowledge of policy educational and training การบริการข ้อมูล (Analytical capabilities) substance) institutions) (Service utilization) การจัดทางบประมาณ การจัดการ ่ าได ้องค ์ความรู ้ โอกาสทีจะน เทคนิ คการวิเคราะห ์นโยบาย และ ่ ทร ัพยากรมนุ ษย ์ การบริการทาง มา สู่การปฏิบต ั ิ ทักษะการสือสาร อิเล็กทรอนิ กส ์ (Opportunities for (Analytical techniques (Budgeting, human resource knowledge generation, and Communication skills) management, and e-services) mobilization, and use) 25 การวัดความสามารถของนโยบาย (เสนอโดย Hartley และ Zhang, 2018) ตารางวัดความสามารถของนโยบาย มิติความสามารถด้านการดาเนินงาน มิตค ิ วามสามารถกับโครงสร ้าง ระดับปัจเจก ระดับองค ์กร ระบบโครงสร ้าง ภาคร ัฐ (Individual) (Organizational) (System) ความสามารถและหน้าที่ ความสามารถในการจัดการ ร ับผิดชอบ ทร ัพยากรในการบริหาร (Managerial expertise (Accountability and (Administrative resource capacity) capacity) Responsibility system capacity) การจัดการเชิงกลยุทธ ์ (Strategic management) มิตค ิ วามสามารถด ้านการ ่ ระดับของการสือสาร การปรึกษาหารือ ่ ระดับความโปร่งใสของระบบ ดาเนิ นงาน ความเป็ นผูน้ า ความสามารถในการ และการสือสารภายในหรื อระหว่างหน่ วยงาน ยุตธิ รรม (Operational capabilities) ่ สือสาร การเจรจาต่อรอง และการ (Levels of intra- and inter-agency (Transparent adjudicative จัดการกับความขัดแย ้ง communication, Consultation, and and Career systems) (Leadership, Competences Coordination) communication, Negotiation, and Conflict resolution) การจัดการงบประมาณ งบประมาณและการจัดหาบุคลากร การมีหลักนิ ตธิ รรม (Financial management and (Funding and Staffing) (Presence of rule of law) budgeting) 26 การวัดความสามารถของนโยบาย (เสนอโดย Hartley และ Zhang, 2018) ตารางวัดความสามารถของนโยบาย มิติความสามารถด้านการเมือง มิตค ิ วามสามารถกับโครงสร ้าง ระดับปัจเจก ระดับองค ์กร ระบบโครงสร ้าง ภาคร ัฐ (Individual) (Organizational) (System) ความสามารถทางการเมืองขององค ์กร ความสามารถในการวิเคราะห ์นโยบาย ความเฉี ยบแหลมทางการเมือง (Organizational political (Political-economic system (Political acumen capacity) capacity) capacity) ความเข ้าใจในความต ้องการและบทบาท ความชอบธรรมและการไว ้วางใจของ ระดับความไว ้วางใจระหว่างองค ์กรและ ของผูม้ ส ี ่วนได ้ส่วนเสียของนโยบาย ่ ประชาชน การสือสาร (Understanding of the needs and (Presence of public legitimacy (Levels of inter-organizational มิตค ิ วามสามารถด ้านการเมือง positions of different and trust) trust and communication) (Political capabilities) stakeholders) ่ ยงพอ ระบบการคลังทีเพี การคาดคะเนความเป็ นไปได ้ทาง การสนับสนุ นของนักการเมือง (Adequate fiscal system to fund การเมืองต่อการกาหนดนโยบาย (Politicians’ support for the programs and projects) (Judgment of political Feasibility) agency programs and projects) ่ ความสามารถด ้านการสือสาร การเจรจาต่อรองในระบบราชการ การเข ้าถึงข ้อมูล (Communication skills) (Effective civil service Bargain) (Access to information) 27 การวัดความสามารถของนโยบาย (เสนอโดย Hartley และ Zhang, 2018) วิธก ี ารใช้ตารางวัดความสามารถของนโยบาย แบ่งเป็น 6 ขั้นตอน ได้แก่ ้ ขันตอนที ่ 1 ระบุวต ั ถุประสงค ์ของนโยบาย ก่อนอืนผู ่ ว้ จิ ยั ต ้อมีเป้ าหมายและวัตถุประสงค ์ของนโยบายทีต่ ้องการวัด ความสามารถอย่างช ัดเจน และพิจารณาว่านโยบายนี มี ้ ผลกระทบอย่างไรต่อระบบการบริหารภาคร ัฐ ้ ขันตอนที ่ 2 เลือกมิตข ิ องความสามารถทีต ่ ้องจะวัด โดยระบุมต ิ ห ิ รือแง่มุมต่าง ๆ ของความสามารถนโยบายทีเกี ่ ยวข ่ ้องกับ บริบทนโยบาย มิตเิ หล่านี อาจรวมถึ ้ ้ งขันตอนอาจรวมไปถึ ้ งขันตอนการก าหนดนโยบาย การนานโยบายไปปฏิบต ั ิ การมี ส่วนร่วมของผูม้ ส ี ว่ นได ้ส่วนเสีย การจัดสรรทร ัพยากร และการประเมินนโยบาย ้ ขันตอนที ่ 3 ดาเนินการรวบรวมข ้อมูลทีเกี ่ ยวข่ ้องกับมิตค ิ วามสามารถทีเลื ่ อกไว ้ ข ้อมูลนี อาจมาจากการวิ ้ เคราะห ์สถิติ การ สารวจ หรือการสัมภาษณ์เพือได ่ ้ข ้อมูลทีน่่ าเชือถื ่ อและสาคัญสาหร ับการวัด ขันตอนที ้ ่ 4 ให ้คะแนน ผูว้ จิ ยั กาหนดคะแนนสาหร ับแต่ละมิตข ิ องความสามารถ โดยคะแนนเหล่านี มี ้ ตงแต่ ้ั 0 ถึง 9 ่ หลังจากให ้คะแนนทุกมิตแิ ล ้ว รวมคะแนนเพือหาคะแนนความสามารถของนโยบายโดยรวม ขันตอนที ้ ่ 5 ตีความและประเมินผล ผูว้ จิ ยั วิเคราะห ์ผลลัพธ ์เพือท ่ าความเข ้าใจถึงจุดแข็ง จุดอ่อน และความสามารถ โดยรวมของนโยบาย และพิจารณาว่านโยบายสามารถบรรลุวต ้ ั ถุประสงค ์ได ้มากน้อยเพียงใด รวมทังระบุ ด ้านทีต่ ้องการ ปร ับปรุง ขันตอนที ้ ่ 6 การเสริมด ้วยการวิเคราะห ์เชิงคุณภาพ การใช ้ข ้อมูลเชิงปริมาณเพียงอย่างเดียวอาจมีข ้อจากัดในเรืองของ ่ ความครบถ ้วนของข ้อมูล โดยอาจต ้องทาการวิเคราะห ์เชิงคุณภาพ เช่นการสัมภาษณ์ การใช ้กรณี ศก ึ ษา หรือการ ้ วิเคราะห ์เนื อหาของนโยบาย 28 กรณีศก ึ ษาการประยุกต์แนวคิดความสามารถของนโยบาย (1) การประยุกต์ใช้กับประเด็นด้านระบบสาธารณสุข Gen และ Wright (2015) ความสามารถในการกาหนดนโยบายเป็ นหัวใจสาคัญของการปฏิรป ู ระบบสาธารณสุข ่ งการวิเคราะห ์อย่างมีเหตุผล และการมีสว่ นร่วมของสาธารณะ เพือตอบสนองต่ โดยเฉพาะการตัดสินใจทีอิ ่ อแรงกดดันและ ่ การเปลียนแปลงทางการเมื อง ่ Tan (2019) ทาการศึกษาเกียวกั บความเป็ นอิสระภายในระบบราชการและความสามารถในการจัดสรรงบประมาณสาหร ับ ้ นฐานในจั ระบบดูแลสุขภาพขันพื ้ งหวัดชวากลาง (Jawa Tengah) ประเทศอินโดนี เซีย พบว่าการเป็ นอิสระในระบบราชการ ่ ช่วยเพิมความสามารถในการจั ดสรรงบประมาณและคุณภาพของบริการสาธารณสุข โดยเน้นการตรวจสอบและประเมินผล อย่างสม่าเสมอ ้ อในการวิ Husain et al. (2023) ได ้ใช ้แนวคิดนี เพื ่ ่ ดการกับความเปลียนแปลงที จยั เพือจั ่ ่ ดขึนอย่ เกิ ้ างรวดเร็วและมีความ ซ ับซ ้อนในระบบสาธารณสุขของประเทศจีน พบว่าความสามารถในการกาหนดนโยบายในประเทศจีนช่วยให ้ระบบ ่ สาธารณสุขปร ับตัวตามการเปลียนแปลงที ่ ับซ ้อนและไม่แน่ นอน โดยเน้นการวิเคราะห ์และปร ับตัวตามสถานการณ์ ซ การประยุกต ์ใช ้แนวคิดความสามารถของนโยบายในภาคส่วนสาธารณสุข จะมุ่งเน้นใหห้ น่ วยงานสาธารณสุขมีความยืดหยุ่นในการนา ่ อยู่มาใช ้เชิงกลยุทธ ์เพือแก ทร ัพยากรและความรู ้ทีมี ่ ้ไขปัญหาสุขภาพในพืนที ้ และสถานการณ์ ่ เฉพาะ ความส าเร็จ ของการนาแนวคิดนี ไปปร ้ ้ ่ และการได ร้ บั การสนั บสนุ น ทาง บั ใช ้มีปั จ จัย ส าคัญ ได แ้ ก่ การมีส่ว นร่ว มของชุม ชนในพืนที ่ น การเมือง เพือให ้ โยบายสามารถตอบสนองความต ้องการของประชาชนได ้ โดยขอ้ โตแ้ ยง้ ทีส ่ าคัญคือแนวคิดนี อาจจะเหมาะสมกั ้ บการ ้ แกป้ ั ญหาเฉพาะหน้าและระยะสันมากกว่ าการวางแผนและกาหนดนโยบายระยะยาว ซึงต ่ อ้ งมีการวิเคราะห ์และประเมินผลอย่างลึกซึง้ มากกว่าการแก ้ปัญหาแบบเร่งด่วน 29 กรณีศก ึ ษาการประยุกต์แนวคิดความสามารถของนโยบาย (2) การประยุกต์ใช้กับการจัดการปกครองด้านสิง่ แวดล้อม ้ Williams (2012) สารวจการนาแนวคิดนี มาประยุ ่ กต ์ใช ้ในการตอบสนองต่อการเปลียนแปลงสภาพภู มอ ิ ากาศในแคนาดา โดยเน้นถึงความสาคัญของการจัดการเชิงบูรณาการระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ เพือเพิ ่ มประสิ ่ ทธิผลในการจัดการกับการ ่ เปลียนแปลงสภาพภู มอ ิ ากาศ Craft และ Howlett (2012) การศึกษาความสามารถของนโยบายใน 5 มิตห ิ ลัก ได ้แก่ งบประมาณ โครงสร ้างพืนฐาน ้ ้ ้เห็นถึงความสาคัญของการพัฒนาคว?