บทที่2-น้ำ-ต่อ PDF

Summary

This document, titled บทที่2-น้ำ-ต่อ, details various concepts related to ionic compounds, including their formation, properties and chemical formulas. It explains ionic bonding and provides examples of different ionic compounds and their names.

Full Transcript

+ Sodium Chlorine Sodium chloride Na Cl NaCl โลหะ อโลหะ สารประกอบไอออนิก 2. พันธะไอออนิก (Ionic bond) พันธะไอออนิก หมายถึง แรงยึดเหนี่ยวระหว่ างไอออน บวกและไอออนลบทีม่ ีประจุไฟฟ้าต่ างกัน ซึ่งเกิดจากการให้ และ รับอิเล็กตรอน (เพือ...

+ Sodium Chlorine Sodium chloride Na Cl NaCl โลหะ อโลหะ สารประกอบไอออนิก 2. พันธะไอออนิก (Ionic bond) พันธะไอออนิก หมายถึง แรงยึดเหนี่ยวระหว่ างไอออน บวกและไอออนลบทีม่ ีประจุไฟฟ้าต่ างกัน ซึ่งเกิดจากการให้ และ รับอิเล็กตรอน (เพือ่ ให้ เวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนครบ 8) การเกิดพันธะไอออนิก พันธะไอออนิกเกิดขึ้นเมื่อโลหะรวมตัวกับอโลหะ แล้วโลหะ ให้อิเล็กตรอนแก่อโลหะ เพื่อให้แต่ละอะตอมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 8 อะตอมจึ ง กลายเป็ นไอออนบวก ส่ ว นอะตอมของอโลหะรั บ อิเล็กตรอนกลายเป็ นไอออนลบ ไอออนทั้งสองมีประจุไฟฟ้ าต่างกัน จึงเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้ ายึดเหนี่ ยวอะตอมทั้งสอง หรื อมากกว่าสอง เข้าด้วยกัน (เกิดพันธะไอออนิก) เกิดเป็ นสารประกอบไอออนิก + - Na Cl พันธะไอออนิก Na = 2 8 1 Cl = 2 8 7 Na = 2 8 Cl = 2 8 8 สารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) - 2+ F F=28 F=27 Ca - F พันธะไอออนิก Ca = 2 8 8 2 F=27 Ca = 2 8 8 F=28 สารประกอบแคลเซียมฟลูออไรด์ (CaF2) การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก ตัวอย่ าง Na+ กับ Cl- 1. Na กับ Cl NaCl 1 1 รวมกันด้วยอัตราส่ วนอย่างต่าเป็ น 1:1 2. Mg กับ O Mg2+ กับ O2- MgO 2 2 · การอ่ านชื่อสารประกอบไอออนิก ให้ อ่านชื่อโลหะทีเ่ ป็ นไอออนบวก แล้วตามชื่ออโลหะทีเ่ ป็ นไอออนลบ โดยลงเสี ยง พยางค์ ท้ายด้ วย ไ-ด์ (-ide) เช่ น ไฮโดรเจน เป็ น ไฮไดรด์ (hydride) คลอรีน เป็ น คลอไรด์ (chloride) โบรมีน เป็ น โบรไมด์ (bromide) ตัวอย่าง NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์ (Sodium chloride) KBr อ่านว่า โพแทสเซี ยมโบรไมด์ (Potassium bromide) การอ่ านชื่อสารประกอบไอออนิก 2. กรณีธาตุ โลหะที่มีเลขออกซิ เดชั นหลายค่ ารวมกับอโลหะ ให้ อ่านชื่ อโลหะที่เป็ น ไอออนบวก แล้ วตามด้ วยค่ าประจุของโลหะนั้นโดยวงเล็บเป็ นเลขโรมัน แล้ วตามชื่ อ อโลหะทีเ่ ป็ นไอออนลบ และลงเสี ยงพยางค์ ท้ายด้ วย ไ-ด์ (-ide) เช่ น Fe มีเลขออกซิเดชัน 2 ค่ า เกิดไอออน 2 ชนิด คือ Fe2+ Fe3+ สารประกอบทีเ่ กิด ขึน้ กับ Fe เป็ น FeCl2 อ่านว่ า ไอร์ ออน (II) คลอไรด์ (Iron (II) chloride) FeCl3 อ่านว่ า ไอร์ ออน (III) คลอไรด์ (Iron (III) chloride) 1. จงเขียนสู ตรสารประกอบไอออนิกต่อไปนี้ ไอออน F- S2- NO3- SO42- PO43- Na+ Al3+ Cu2+ Cr3+ NH4+ 2. จงเขียนสูตรและอ่านชือ่ สารประกอบไอออนิกที่เกิดจากการ รวมตัวระหว่างธาตุตอ่ ไปนี้ 2.1 โพแทสเซียมกับคลอรีน 2.2 แคลเซียมกับไอโอดีน 2.3 สทรอนเซียมกับออกซิเจน 2.4 ซีเซียมกับซัลเฟอร์ การเปลี่ยนสถานะของสารประกอบไอออนิก เมือ่ สารประกอบไอออนิกเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็ นของเหลว หรือแก๊สต้องใช้พลังงานความร้อนสูงเพื่อทาลายพันธะไอออนิก (แข็งแรง มาก) ทาให้จดุ เดือดและจุดหลอมเหลวสูง สำรประกอบไอออนิก จุดหหลอมเหลว (oC) จุดเดือด (oC) NaCl 801 1465 MgCl2 704 1412 CaCl2 775 1936 MgO 2825 3600 ***จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสำรประกอบไอออนิกสูงกว่ำสำรโคเวเลนต์ เนื่อกจำกใช้พลังงำน ในกำรทำลำยพันธะไอออนิกซึ่งแข็งแรงมำกกว่ำแรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลก ุลของสำรโคเวเลนต์*** สมบัตขิ องสารประกอบไอออนิก 1. ไม่ มีสูตรโมเลกุลมีแต่ สูตรอย่ างง่ ายหรือสู ตรแอมพิริคลั / 2. เป็ นของแข็งทีอ่ ุณหภูมิห้อง เนื่องจากไอออนบวกและไอออนลบจัดเรียง ตัวสลับต่ อเนื่องกันไปใน 3 มิติ เกิดเป็ นโครงผลึก 3. แข็งแต่ เปราะ 4. จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสู ง เนื่องจากต้องใช้พลังงานความร้อนสูงเพื่อ สลายพันธะไอออนิกในผลึก 5. การน าไฟฟ้ า ไม่ น าไฟฟ้ าในสถานะ ของแข็ง แต่เมื่ อหลอมเหลวหรื อละลาย น้ าจะนาไฟฟ้ าได้ดี เรี ยกสารละลายที่นา ไฟฟ้ าได้วา่ สารละลายอิเล็กโทรไลต์ 6. การละลายนา้ สารประกอบไอออนิก บางชนิดละลายน้ า บางชนิดไม่ละลายน้ า กำรละลำยของสำรในน้ำ สำรละลำย คือ สารผสมที่เป็ นเนือ้ เดียว ประกอบด้วย ตัวทาละลาย และตัวถูกละลาย เช่น นา้ เกลือแร่ นา้ หวาน นา้ ส้มสายชู นา้ เกลือแร่ กำรละลำยของสำรในน้ำ การละลายของสารในนา้ เกิดขึ้นเมื่อโมเลกุลของนา้ เข้า ไปแทรกระหว่างโมเลกุล หรื อไอออนของตัวถูกละลายได้เป็ น สารละลาย การละลายของสารมี 2 ลักษณะ คือ การละลายแบบแตกตัว การละลายแบบไม่แตกตัว การละลายแบบแตกตัว กำรละลำยของเกลือแกงในน้ำ โมเลกุลของนา้ จะล้อมรอบและแยก โซเดียมไอออน (Na+) และ คลอไรด์ ไอออน (Cl-) ออกจากกัน H2O NaCl (s) → Na+ (aq) + Cl- (aq) · มื การละลายแบบแตกตัว กำรละลำยของเกลือแกงในน้ำ & เมือ่ ต่อวงวงจรไฟฟ้ าลงไปในสารละลาย ไอออนบวก ขัว้ ลบ ไอออนลบ ขัว้ บวก ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ าได้ และเรียก สารละลายที่นาไฟฟ้ าได้ว่า · ⑧ สำรละลำยอิเล็กโทรไลต์ % ⑤ การละลายแบบแตกตัว สารประกอบไอออนิก (ไอออนบวกและไอออนลบ) สารโคเวเลนต์ที่มีสมบัติเป็ นกรด-เบส เช่น แก๊สไฮโดรเจน คลอไรด์ (HCl) HCl (g) → H+ (aq) + Cl- (aq) การละลายแบบไม่แตกตัว กำรละลำยของเอทำนอลในน้ำ เอทานอลสามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนกับนา้ ได้ จึงละลายนา้ ได้ แต่โมเลกุลยังเหมือนเดิม การละลายแบบไม่แตกตัว สารโคเวเลนต์ที่มโี มเลกุลขนาดเล็ก เช่น O2 Cl2 สารโคเวเลนต์สามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนกับนา้ ได้ เช่น เอทำนอล สารละลายที่ไม่นาไฟฟ้ าเรียกว่า สำรละลำยนอนอิเล็กโทรไลต์ 3. พันธะโลหะ (Metallic bond) พันธะโลหะ คือ แรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกที่เรียงชิดกันกับ อิเล็กตรอนที่อยู่โดยรอบ กำรเกิดพันธะโลหะ เกิดจากโลหะเสียอิเล็กตรอนกลายเป็ นไอออนบวก แล้วอิเล็กตรอน ที่หลุดออกมาจะเคลื่อนที่ไปทัว่ ทัง้ ก้อนโลหะ ทาให้เกิดแรงยึดเหนีย่ วระหว่าง ไอออนบวกกับอิเล็กตรอนทัว่ ทุกตาแหน่งในก้อนโลหะ ได้แก่ โลหะทุกชนิด เช่น ทองแดง ทองคา เงิน แบบจำลองทะเลอิเล็กตรอน electron sea model พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ 1. นาไฟฟ้าและความร้ อนได้ ดี การที่อเิ ล็กตรอนสามารถเคลือ่ นที่ไปมาในโลหะได้ ทาให้ โลหะมีคุณสมบัตเิ ป็ นตัวนาความร้ อนและไฟฟ้าที่ดี พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ (ต่ อ) 2. สามารถตีเป็ นแผ่ นหรือดึงเป็ นเส้ นได้ พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ (ต่ อ) 3. มีผวิ เป็ นมันวาว ผิวหน้ าของโลหะเป็ นมันวาว เนื่องจากอิเล็กตรอนอยู่ ไม่ ประจาที่และเคลือ่ นทีไ่ ด้ อย่ างอิสระจะสามารถดูดกลืน และกระจายแสงได้ จึงทาให้ โลหะสามารถสะท้ อนแสงได้ พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ (ต่ อ) 4. มีจุดหลอมเหลวสู ง เนื่องจากพันธะโลหะเป็ นพันธะที่แข็งแรง เกิดจากแรง ยึดเหนี่ยวระหว่ างเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนอิสระทั้งหมดกับ ไอออนบวก

Use Quizgecko on...
Browser
Browser