Naresuan University Faculty of Pharmaceutical Sciences Lecture Notes (PDF)

Document Details

PersonalizedUnity9572

Uploaded by PersonalizedUnity9572

Naresuan University

สุภาวดี พาหิระ

Tags

cosmetics pharmaceutical science moisturizers skin care

Summary

These lecture notes from Naresuan University cover the topic of moisturizers, including emollients, humectants, and other moisturizers. The document discusses the different types of moisturizers, their mechanisms, and how they are used in cosmetics. It also includes information about skin anatomy and structure.

Full Transcript

สารเพิ่มความชุ่มชื้น (Emollients, Humectants and Moisturizers) วิชา 190101 วิชาบทนาสู่การตัง้ ตารับเครื่องสาอางและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ผศ.ดร.ภญ.สุภาวดี พาหิระ ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2 มกราคม 2568 ...

สารเพิ่มความชุ่มชื้น (Emollients, Humectants and Moisturizers) วิชา 190101 วิชาบทนาสู่การตัง้ ตารับเครื่องสาอางและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ผศ.ดร.ภญ.สุภาวดี พาหิระ ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2 มกราคม 2568 2 Course Learning Outcome (CLO) CLO3: อธิบายรูปแบบเครื่องสาอาง รวมทั้งลักษณะ ส่วนประกอบ และความ แตกต่างของผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางรูปแบบต่างๆ ได้ (understanding) CLO4: อธิบายข้อกาหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเครื่องสาอางและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติได้ (understanding) CLO5: เลือกใช้สารแต่งสี สารแต่งกลิ่น สารต้านออกซิชัน สารกันเสีย สารลดแรงตึงผิวและพอลิเมอร์ ให้เหมาะสมกับสูตรตารับได้ เลือกชนิดและคุณสมบัติของบรรจุภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ (applying) Expected Learning Outcome (ELOs) วิธีจดั การเรียนการสอน 3 บรรยายและใช้สื่อประสม ถาม-ตอบระหว่างอาจารย์กับผู้เรียน การประเมินผล คะแนน ร้อยละ 6.67 การสอบข้อเขียนกลางภาค multiple choices 5 ตัวเลือก 20 ข้อ หัวข้อการเรียนรู้ 1. บทนา: อิมัลชัน กายวิภาคของผิวหนัง 2. ความหมายของสารเพิ่มความชุ่มชืน้ ในตารับเครื่องสาอาง 3. กลไกการเพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่ผิวหนังของสารเพิ่มความชุ่มชืน้ ชนิดต่าง ๆ 4. ประเภทของสารเพิ่มความชุ่มชื้น I. Emollients II. Humectants III. Other moisturizers 5. ตัวอย่างของตารับเครื่องสาอางสาหรับบารุงผิว 4 1. บทนา : อิมัลชัน เครื่องสาอางบารุงผิวพรรณ (skin care products) มักอยู่ในรูปแบบอิมัลชัน เช่น ครีมหรือโลชันชนิดต่างๆ Water Oil ❖ อิมัลชัน = ของเหลวอย่างน้อย 2 ชนิด ซึ่ ง ไม่ เ ข้ า กั น หรื อ ไม่ ล ะลายในกั น และกั น Emulsifier เช่น น้าและน้ามัน ❖ ของเหลวทั้ง 2 ชนิดนี้จะถูกนามาผสมเข้า ด้วยกันโดยอาศัยตัวทาอิมัลชัน (emulsifier หรือ emulsifying agent) Emulsions (lotions, creams) 5 ลักษณะทั่วไปของอิมัลชัน Oil: internal phase Water: external phase Oil in water emulsions Water: internal phase Emulsions Oil: external phase Water in oil emulsions 6 องค์ประกอบพื้นฐานของอิมัลชัน สารเพิ่มความชุ่มชื้น Water phase Water Oil Humectants Oil phase Emulsifier Emollients ช่วยเพิ่มความคงตัวและป้อ งกันการแห้ งของ ผลิตภัณฑ์ ทาหน้าที่หล่อลื่นและทาให้ผิวหนังอ่อนนุ่ม Emulsions รวมทั้งรักษาความชุ่มชื้น และเพิ่มความยืดหยุ่น แก่ผิวหนัง 7 1. บทนา: กายวิภาคของผิวหนัง Reference: Retrieved on 30 October 2015, from www.seabuckthorn.com Updated on 18 August 2015. Retrieved on 30 October 2015, from http://www.pharmabeautycare.com/content/5588/ มอยเจอร์ไรเซอร์คอื อะไร-เลือกตัวไหนดี-บทความโดยเภสัชกร 8 สภาพของผิวปกติและผิวแห้ง เซลเรียงตัวชิดกัน เป็นระเบียบ เซลเรียงตัวหลวม ไม่เป็นระเบียบ inter cellular matrix สมบูรณ์ inter cellular matrix มีน้อย บนผิวหนังมี hydrolipid film เคลือบ บนผิวหนังมี hydrolipid film น้อย อยู่เพียงพอ น้าใต้ผิวระเหยออกได้มาก น้าใต้ผิวระเหยออกได้น้อย แบคทีเรีย สิ่งแปลกปลอม เข้าสู่ร่างกายได้ โดยง่าย Modified from http://www.pharmabeautycare.com/content/5588/มอยเจอร์ไรเซอร์คืออะไร-เลือกตัวไหนดี-บทความโดย เภสัชกร,Updated on 18 August 2015. Retrieved on 30 October 2015. 9 2. ความหมายของสารเพิ่มความชุ่มชื้นในตารับเครื่องสาอาง มอยซ์เจอไรเซอร์ หมายถึง สารที่ทาให้เกิดความชุ่มน้าแก่ผิวหนัง ทาให้ผิวอ่อนนุ่มและมีความ ยืดหยุ่นดี อิมอลเลียนท์ หมายถึง สารที่ทาหน้าที่เป็นมอยซ์เจอไรเซอร์ โดยการเกิดเป็นฟิล์มบางเพื่อป้องกัน การระเหยของน้าออกไปจากผิวหนัง (occlusion) และทาหน้าที่หล่อลื่นผิว ลดความเสียดทาน ทา ให้ผิวเนียนนุ่ม ลื่นมือขณะสัมผัส สารบางอาจทาหน้าที่เป็นทั้งมอยซ์เจอไรเซอร์ และอิมอลเลียนท์ ฮิวเมคแตนท์ หมายถึง สารที่มีคุณสมบัติดึงน้าจากบรรยากาศเข้าหาตัวทาให้ผิวหนังได้รับน้า เพิ่มขึ้น จึงทาให้ผิวเนียนนุ่ม 10 3. กลไกการเพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่ผิวหนังของสารเพิ่ม ความชุ่มชื้นชนิดต่าง ๆ กลไกการทาให้ผิวชุ่มชื้นของมอยซ์เจอไรเซอร์ มี 3 วิธีคือ A. Occlusion คือ การป้องกันน้าระเหยออกจากผิวโดยเกิดเป็นฟิล์มบางที่ต่อเนื่อง ทาให้ผิวหนังเกิด ความชุ่มชื้นและนุ่ม มีความยืดหยุ่น B. Humectancy คือ การดูดน้าจากอากาศเข้าสู่ผิวหนังทาให้ผิวหนังมีลักษณะชุ่มน้า C. Restoration of deficient materials คือ การทดแทนสารที่ขาดไปของผิวหนัง เช่น การ ทดแทนสารรักษาความชื้นตามธรรมชาติในผิวหนัง (natural moisturizing factor; NMF) 11 A. Occlusion เป็นการก่อชั้นของฟิล์มบาง ๆ เคลือบผิวไว้ มีผลทาให้ป้องกันน้าระเหยออกจากผิว ทาให้ผิวหนังเกิดความชุ่มชื้นและนุ่ม มีความยืดหยุ่นดี สารที่ทาหน้าที่นี้คือ สารอิมอลเลียนท์ ตัวอย่างเช่น น้ามัน และไขมันชนิดต่างๆ Occlusive agent H2 O Skin H2 O H2 O H2 O Reference: Modified from “Monday Beauty Vocab” (Update 15 Oct 2015), retrieved on 19 October 2015, from http://www.xovain.com/skin/beauty-vocab-humectants-emollients-occlusive-agents-moisturizer 12 B. Humectancy เป็นการใช้สารที่มีคุณสมบัติดูดน้าเข้าหาตัวมาดูดน้าจากอากาศเข้าสู่ผิวหนัง ทาให้ผิวหนังมีลักษณะชุ่มน้า ตัวอย่างสารกลุ่มนี้ เช่น glycerin, propylene glycol และ sorbitol อย่างไรก็ตามการใช้สารนี้เป็นเวลานานอาจทาให้ชั้น hydro-lipid film เสียสมดุล ทาให้เกิด ภาวะผิวแห้งได้ H2 O H2 O H2 O H2 O Humectant H2O-lipid H2O-lipid H2O-lipid Hydro-lipid film Skin 13 C. Restoration of deficient materials เป็นการทดแทนสารที่ขาดไปของผิวหนัง เช่น การทดแทนสารรักษาความชื้นตามธรรมชาติในผิวหนัง (natural moisturizing factor; NMF) สารกลุ่ม NMF เป็นพวก lipoproteins นักวิจัยบางกลุ่มรายงานว่า mucoprotein complex หรือ lipomucopolysaccharide complex สามารถทดแทนสาร NMF ได้ Lipoprotiens ผิวหนังแห้ง และขาด ความชุ่มชืน้ 14 4. ประเภทของสารเพิ่มความชุ่มชื้น I. สารอิมอลเลียนท์ (Emollients) II. สารฮิวเมคแตนท์ (Humectants) III. สารเพิ่มความชุ่มชื้นอื่น ๆ (Other moisturizers) 15 I. สารอิมอลเลียนท์ (Emollients) น้ามัน ไขมัน ไขแข็งต่างๆ Petroleum jelly Wax มักเป็นองค์ประกอบในวัฏภาคน้ามัน แสดงดังตารางที่ 1 Oil 16 ตัวอย่างของสาร emollients 17 1. Hydrocarbons 1.1 Paraffin hydrocarbons ✓สารกลุ่มนี้ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และคงตัวดี ได้แก่ ❖ mineral oil ❖ Petrolatum ❖ paraffin wax ❖ ceresines ✓คุณสมบัติที่สาคัญคือ ทาให้เกิดฟิล์มกันน้า (water impermeable layer) บนผิวโดย ไม่แทรกซึมสู่ผิวหนัง 18 1. Hydrocarbons 1.1 Paraffin hydrocarbons ✓เหมาะสาหรับผลิตภัณฑ์ปกป้องผิว (protective preparations) และ ผลิตภัณฑ์ป้องกันแสงแดด ซึ่งไม่ต้องการให้มีการดูดซึมของสารสาคัญ ✓เหมาะสมที่จะใช้ในผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดผิวหนัง เช่น skin cleansing cream เพราะสามารถละลายไขมันต่างๆ ได้ดี ✓เหมาะกับผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางสาหรับผิวแห้งมาก และต้องการความชุ่มชื้น เป็นพิเศษเพราะสามารถป้องกันการระเหยของน้าออกจากผิวได้ดี 19 1. Hydrocarbons 1.1 Paraffin hydrocarbons ✓ไม่เหมาะกับผลิตภัณฑ์บารุงผิว (skin nourishing cream) เพราะไม่สามารถใช้ทดแทนไข ผิวหนัง และยังละลายส่วนประกอบของไขมันบนผิวหนังด้วย ✓สารในกลุ่มนี้จะนิยมใช้กันมาก เนื่องจากราคาถูก ❖ ข้อเสียของสารในกลุ่มนี้ คือ ❖ ให้ความรู้สึกเหนียวเหนอะหนะและรู้สึกร้อน ❖ เพราะเกิดชั้นปิดกั้นผิวหนัง และไม่มีการดูดซึม หรือดูดซึมน้อยมาก 20 ตัวอย่างของสารในกลุ่ม Paraffin hydrocarbons เช่น 1.1.1 Mineral oil เป็นน้ามันแร่เหลว มีความถ่วงจาเพาะตั้งแต่ 0.875 มีหลายเกรดขึ้นอยู่กับค่าความหนืด มีตั้งแต่ 15-100 CST ที่ 37.8ºC ชนิดที่ใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางจะเป็นชนิด white mineral oil โดยนิยมใช้ชนิด light mineral oil มากกว่า heavy mineral oil 21 ตัวอย่างของสารในกลุ่ม Paraffin hydrocarbons เช่น 1.1.2 Petrolatum เป็น amorphous compound ของไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวที่มีน้าหนักโมเลกุลสูง มีจุดหลอมเหลว 30-45ºC เกรดที่ใช้ในเครื่องสาอาง คือ white petrolatum มีคุณสมบัติในการป้องกันการระเหยของน้าจากผิวได้ดี ทาให้เกิดฟิล์มปิดกั้นบนผิว ไม่ทาให้เกิดการระคายเคือง ไม่ทาให้เกิดสิว (non-comedogenic) ราคาถูก นิยมใช้ในผลิตภัณฑ์ถนอมผิวและผลิตภัณฑ์สาหรับเส้นผม 22 ตัวอย่างของสารในกลุ่ม Paraffin hydrocarbons เช่น 1.1.3 Mineral waxes เป็นไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวที่มีน้าหนักโมเลกุลสูง ไม่ละลายในตัวทาละลายชนิดมีขั้ว (polar solvent) แบ่งออกเป็น 1.1.3.1 Macrocrystalline waxes ❖ ได้แก่ paraffin เป็นไขแข็งซึ่งเข้าไม่ได้กับน้ามันเหลว ❖ เป็นสารที่ทาให้เกิดคุณสมบัติการไหลแบบ thixotropic แก่ครีมได้ 1.1.3.2 Microcrystalline waxes ❖ ได้แก่ ozokerite, ceresine และ astrolatum เป็นไขแข็งซึ่งเข้ากันได้ดีกับน้ามัน เหลวโดยไม่เกิดการตกผลึก ❖ ช่วยเพิ่มความหนืดแก่ครีมโดยไม่ทาให้เกิดคุณสมบัติการไหลแบบ thixotropic 23 ตัวอย่างของสารในกลุ่ม Hydrocarbons 1.2 Squalene ✓ เป็นไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว ✓ พบได้ในไขของผิวหนังด้วย ✓ มีคุณสมบัติทาให้ผิวหนังชุ่มชื้น ✓ โดยเกิดฟิล์มบางเคลือบผิว ✓ ตัวอย่างชื่อการค้า คือ Robane อยู่ในรูปของ Squalane ซึ่งคงตัวกว่า squalane squalene 24 2. Fatty acids นิยมใช้กรดไขมันที่มีจานวนคาร์บอน 12-18 ตัว (C12-18) ในครีมสาหรับ ผิวหนัง เพื่อให้เกิดฟิล์มบางคลุมผิว ตัวอย่างของสาร fatty acids 2.1 Stearic acid (C18:0) จะนิยมใช้มากที่สุดทาให้ได้เนื้อครีมที่มีประกายมุก สามารถอุ้มน้าไว้ในโมเลกุล ทาให้เกิดความชุ่มชื้นแก่ผิวหนังได้มาก กรดไขมันตัวอื่นจะเกิดฟิล์มที่แห้งและไม่เป็นมัน 25 2.1 Stearic acid (C18:0) ปริมาณที่ใช้ตั้งแต่ 1-20% ขึ้นอยู่กับความหนืดของผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ Stearic acid สามารถทาปฏิกิริยากับด่าง เช่น triethanolamine เกิดสบู่ คือ triethanolamine stearate ซึ่งเป็นตัวทาอิมัลชันที่ดี Stearic acid ก็มีหลายเกรด ขึ้นอยู่กับความบริสุทธิ์ และวิธีการเตรียม C18H36O2 26 2.2 Oleic acid (C18:1) สามารถใช้เตรียมครีมที่มีประกายมุกได้ แต่ไม่นิยมใช้ เพราะเหม็นหืนได้ง่าย เนื่องจากเป็น polyunsaturated มักจะใช้ oleic acid 1-5% ร่วมกับ stearic acid เพื่อช่วยเพิ่มความหนืดของเนื้อ ครีม C18H34O2 27 2.3 Isostearic acid เป็นกรดไขมันที่เป็นของเหลวไม่มีสี เป็นสารที่ให้ความชุ่มชื้นดีและทาให้ผิวลื่น เหมาะกับผลิตภัณฑ์ที่ไม่ต้องการความหนืดสูง เช่น โลชัน หรือโลชันน้านม (milk lotion) C18H36O2 28 29 3. Fatty alcohols สารกลุ่มนี้ทาให้เกิดฟิล์มคลุมผิว สามารถดูดซึมสู่ผิวได้ ทาให้ผิวนุ่มนวล สามารถใช้เพิ่มความหนืดให้ผลิตภัณฑ์ ตัวที่นิยมใช้ คือ ✓ stearyl alcohol ✓ oleyl alcohol ✓ cetyl alcohol ✓ isostearyl alcohol ✓ cetostearyl alcohol ✓ myristyl alcohol ✓ cetearyl alcohol ✓ hexadecyl alcohol ✓ octyl dodecanol ซึ่งเป็นน้ามันเหลวที่นิยมใช้ในครีม โลชัน (ตัวอย่าง ชื่อการค้าคือ EutanolG ของ บริษัท Henkel) 30 ตัวอย่างของสารกลุ่ม Fatty alcohols Stearyl alcohol Cetyl alcohol Octyl dodecanol 31 4. Fatty acid esters ✓ เป็นสารสังเคราะห์ที่มีความหนืดต่า ✓ จะเคลือบผิวเกิดเป็นฟิล์มบาง ✓ ไม่เป็นมันและไม่เหนียวเหนอะหนะ ✓ ดูดซึมได้ดี ✓ นิยมใช้ความเข้มข้น 2-10% ✓ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 4.1 Ethyl ester 4.2 Liquid fatty acid esters 4.3 Polyol ester 32 ทบทวน Esterification 33 4.1 Ethyl ester ✓ เป็นน้ามันซึ่งใช้เป็นองค์ประกอบในผลิตภัณฑ์บารุงผิวหน้า ✓ เตรียมได้จากปฏิกิริยา esterification ของน้ามันจากธรรมชาติ หรือจากกรดไขมัน โดยตรง ✓ น้ามันเหล่านี้ถูกดูดซึมเข้าสู่ผิวหนังได้ง่ายและรวดเร็ว ✓ ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการพาตัวยา หรือสารสาคัญในผลิตภัณฑ์เข้าสู่ผิวหนัง ตัวอย่างโครงสร้างทางเคมีของ Ethyl oleate ซึ่งได้จากน้ามันมะกอก 34 ตัวอย่างของ ethyl ester เช่น ❖ Ethyl amygdalate ได้จาก sweet almond oil เป็นน้ามันที่ถูกดูดซึมเข้าผิวหนังได้ง่ายที่สุด ❖ Ethyl ketonate ได้จากน้ามันเต่า (turtle oil) ข้อดีคือ เข้ากันได้ดีกับตัวทาละลายชนิดต่างๆ เช่น alcohol น้ามันพืช ❖ Ethyl linoleate เป็น ester ของกรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งมีวิตามิน เอฟ เป็นองค์ประกอบสาคัญ ❖ Ethyl morrhuate ได้จากน้ามันตับปลา นิยมใช้ในผลิตภัณฑ์ลดริ้วรอย ❖ Ethyl oleate ได้จากน้ามันมะกอก ❖ Ethyl perseate ได้จากน้ามันอะโวกาโด อุดมไปด้วยวิตามินหลายชนิด นิยมใช้ในผลิตภัณฑ์บารุงผิว ❖ Ethyl lauroleate ได้จากผลของพืชตระกูล Lauro Nobilis น้ามันชนิดนี้สามารถดูดซึมเข้าสู่ผิวหนัง 35 4.2 Liquid fatty acid esters ✓ เป็น ester ของกรดไขมันผสม ✓ มีความหนืดต่า ✓ เคลือบผิวแล้วเกิดฟิล์มบางๆ ✓ ไม่เป็นมัน ✓ สามารถถูกดูดซึมเข้าสู่ผิวหนังได้ดี ✓ ไม่รู้สึกเหนียวเหนอะหนะ ✓ มีความคงตัวทางเคมีสูง ✓ ใช้เป็นตัวทาละลายที่ดีสาหรับน้ามันต่างๆ และวิตามิน 36 ตัวอย่างของ Liquid fatty acid esters a. Isopropyl myristate (IPM) เป็นน้ามันไม่มีสี มีความหนืดต่า เป็นตัวทาละลายที่ดีของ waxes และ resins บางชนิด ละลายและเข้ากันได้ดีกับน้ามันพืช น้ามันแร่ นิยมใช้มาก เนื่องจากไม่มีกลิ่นและดูดซึมดี b. Isopropyl stearate เป็นน้ามันเหลว ใช้แทน IPM ได้ดี ตัวอย่างชื่อการค้า คือ Cetiol 868 37 ตัวอย่างของ Liquid fatty acid esters c. Isopropyl palmitate เป็นน้ามันที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น คุณสมบัติคล้าย IPM แต่ดูดซึมเข้าสู่ผิวหนังได้ช้ากว่า นิยมใช้ในผลิตภัณฑ์ป้องกันแสงแดด และผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นกาย d. Di-isopropyl adipate เป็นน้ามันเหลวใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ละลายได้ดีใน ethanol, isopropanol และ hydroalcoholic solution ไม่ละลายน้า และ polyols e. Di-isopropyl sebacate มีคุณสมบัติคล้าย di-isopropyl adipate 38 ตัวอย่างของ Liquid fatty acid esters f. Butyl stearate เป็นของเหลวใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีคุณสมบัติช่วยหล่อลื่นผิวหนัง นิยมใช้เป็นสารแขวนลอยสาหรับ pigments ทั้งหลาย g. Oleyl oleate เป็นของเหลวใส สีเหลือง มีกลิ่นอ่อนๆ ใช้เป็นตัวทาละลายที่ดีของสารที่ละลายในน้ามัน ไม่ละลายน้า glycerol, propylene glycol, anhydrous ethanol และ 95% ethanol 39 4.3 Polyol ester เป็นสารกึ่งแข็ง นิยมใช้ในอิมัลชัน ความเข้มข้นที่ใช้สาหรับโลชันและครีม คือ 0.5-5% และ 1-10% ตามลาดับ ตัวอย่างชื่อการค้า คือ Cetiol HE เป็นน้ามันเหลวซึ่งเข้ากับ วัฏภาคน้าได้ ตัวอย่างเช่น ❖ glyceryl monostearate (GMS) ❖ propylene glycol monostearate ❖ ethylene glycol monostearate 40 ตัวอย่างโครงสร้างของสารกลุ่ม Polyol esters glyceryl monostearate ethylene glycol monostearate (GMS) propylene glycol monostearate 41 ในการเตรียมผลิตภัณฑ์ที่เป็นครีม นิยมใช้ polyethylene glycol esters ที่มีความยาว ของกรดไขมันแตกต่างกันมาใช้ร่วมกัน เพราะกรดไขมันสายยาวจะทาหน้าที่เป็นตัวทาอิมัลชันที่ดี ส่วนกรดไขมันสายสั้นจะทาหน้าที่เพิ่มความหนืดแก่เนื้อครีม ทาให้ครีมแข็งขึ้น และเป็น สารอิมอลเลียนท์ด้วย สารตัวอื่นๆ ในกลุ่มนี้ที่มีการนามาใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางเช่น hexadecyl stearate ❖ จะก่อให้เกิดฟิล์มบางๆ บนผิวที่ไม่เหนียว ❖ ให้ความรู้สึกลื่นมือ ❖ ให้คุณสมบัติเป็น light lotion 42 5. Fatty ethers เป็น ether ซึ่งเกิดจากกรดไขมันทาปฏิกิริยากับ ethylene oxide หรือ propylene oxide ใช้เป็นตัวทาอิมัลชัน มีคุณสมบัติเป็นสารอิมอลเลียนท์ด้วย ตัวอย่างของสารกลุ่มนี้ เช่น ❖ PEG-15 stearyl ether ❖ PPG-15 stearyl ether สารในกลุ่มนี้มีคุณสมบัติช่วยกระจายสีมิให้ตกตะกอน จึงมักนามาใช้ในผลิตภัณฑ์แต่งแต้มสีสัน ทั้งหลาย 43 6. Triglycerides 6.1 Vegetable and animal oils and fats น้ามันที่ได้จากพืชและสัตว์ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย triglycerides ของกรดไขมันสายตรง น้าหนักโมเลกุลสูง ทั้งชนิดอิ่มตัวและไม่อิ่มตัว และยังมีกลุ่ม ester ซึ่งชอบน้าบ้าง น้ามันเหล่านี้จึงไม่ละลายน้า แต่ก็ไม่ถึงกับไม่มีขั้ว (non-polar) เท่ากับน้ามันแร่ การดูดซึมสู่ผิวหนังและเส้นผมจึงดีกว่าน้ามันแร่ นิยมใช้เป็นสารอิมอลเลียนท์ ข้อดีของน้ามันจากพืชและสัตว์ คือ อุดมด้วยวิตามิน และสารอาหารอื่นๆ มักนามาใช้ในผลิตภัณฑ์ประเภทบารุงสารอาหารแก่ผิว (skin nourishing) ข้อควรระวังในการใช้น้ามันในกลุ่มนี้ในตารับอิมัลชันคือต้องไม่ใช้ความร้อนสูงเกินไป เพราะจะ ทาให้สลายตัวได้ ควรเติมสารต้านออกซิเดชันลงไปในตารับเพื่อป้องกันการเหม็นหืน เนื่องจากมีส่วนประกอบของ ไขมันที่ไม่อิ่มตัว 44 6.1.1 น้ำมันจำกพืช ที่นิยมใช้ ได้แก่ น้ามันมะกอก (olive oil) น้ามันละหุ่ง (castor oil) น้ามันงา (sesame oil) น้ามันเมล็ดท้อ (persic oil หรือ peach kernel oil) ส่วนใหญ่ประกอบด้วยกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว เช่น oleic acid, linoleic acid, palmitic acid และ stearic acid เกิดการเหม็นหืนได้ง่าย น้ ามั น จากพื ช ส่ ว นใหญ่ จ ะไม่ ร ะคายเคื อ งผิ ว หนั ง ช่ ว ยบ ารุ ง ผิ ว หนั ง ได้ ดี เ พราะอุ ด มด้ ว ย สารอาหาร 45 น้ำมันพืชที่อุดมด้วยวิตำมิน (vitamin rich oils) เช่น ✓ น้ามันจมูกข้าวสาลี (wheat germ oil) ❖ ประกอบด้วย vitamin A D E และ B บางตัว รวมทั้ง vitamin F, lecithin ❖ นิยมใช้ในเครื่องสาอางประเภท ครีมบารุงหล่อลื่นผิว ครีมลดริ้วรอย ✓ น้ามันอะโวกาโด (avocado oil) ❖ ประกอบด้วย vitamin A D E และ B บางตัว, linoleic acid, phytosterol และ lecithin ✓ น้ามันเมล็ดฝ้าย (cotton seed oil) ❖ เป็นแหล่งที่สาคัญของ vitamin E จากธรรมชาติ 46 ✓ น้ามันดอกพริมโรส (evening primrose oil) ❖ มี linolenic acid และ linoleic acid ในปริมาณสูง เหมาะสาหรับผิวแห้ง ✓ น้ามันดอกทานตะวัน (sunflower oil) ❖ มี vitamin E และกรดไขมันจาเป็น ✓ น้ามันโจโจบา (jojoba oil) ❖ เป็นน้ามันพืชที่มีความคงตัวทางเคมีสูง ไม่หืนง่าย ทนความร้อน ❖ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น นิยมนามาใช้ในการเตรียมผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางบารุงผิว ❖ เนื่องจากดูดซึมเข้าสู่ผิวหนังได้ง่ายและเร็ว เพิ่มความชุ่มชื้นแก่ผิวหนังได้ดี ไม่ทาให้ เหนียวเหนอะหนะ 47 6.1.2 น้ำมันจำกสัตว์ น้ามันจากสัตว์ที่นามาใช้ในเครื่องสาอางได้แก่ ❖ mink oil ❖ cod liver oil ❖ turtle oil เกิดการเหม็นหืนได้ง่าย สลายตัวโดยความร้อน ต้องระมัดระวังในการเตรียมผลิตภัณฑ์ 48 6.1.3 น้ำมันดัดแปลงจำกน้ำมันจำกพืชและสัตว์ นาน้ามันจากพืชและสัตว์มาทาปฏิกิริยา hydrogenation เพื่อเปลี่ยนไขมันที่ไม่อิ่มตัวให้เป็น ไขมันอิ่มตัว ลดการเหม็นหืนได้ แต่การทา hydrogenation จะทาให้น้ามันหรือไขมันมีจุดหลอมเหลวสูงขึ้น และวิตามินบาง ชนิดอาจถูกทาลายไป ตัวอย่างเช่น hydrogenated castor oil hydrogenated lanolin 49 6.2 Synthetic triglycerides เป็น triglycerides สังเคราะห์ที่มีความอิ่มตัวสูง เพื่อแก้ปัญหาเรื่องการเหม็นหืน มีข้อดีคือ เป็นสารที่เกาะติดผิว มีความคงตัว ไม่เกิดออกซิเดชันได้ง่าย มีทั้งรูปแบบที่เป็นของเหลวและของแข็ง ไม่ทาให้รูขุมขนอุดตัน สารที่นิยมใช้ได้แก่ isopropyl myristate isopropyl palmitate isopropyl laurate 50 7. Animal and vegetable waxes องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น high fatty acid ester ของ monohydric alcohols ที่มี น้าหนักโมเลกุลสูง อาจจะประกอบด้วยกรดไขมันอิสระ แอลกอฮอล์ และไฮโดรคาร์บอน มักอยู่ในรูปของแข็งหรือกึ่งแข็ง เช่น Spermaceti carnauba wax หรืออาจอยู่ในรูปของเหลว เช่น sperm oil สารกลุ่มนี้มีคุณสมบัติชอบน้ามากกว่าน้ามันและไขมันทั่วไป เพราะมีแอลกอฮอล์ และ กรดไขมันอิสระในปริมาณสูง จึงถูกดูดซึมเข้าสู่ผิวหนังได้ง่าย 51 8. Silicones โครงสร้างทางเคมี: polysiloxanes R * Si O * R n ตัวที่นิยมใช้คือ polydimethylsiloxanes ซึ่งมี R = CH3 สารในกลุ่มนี้อาจอยู่ในรูป cyclic molecules เช่น Cyclomethicone Phenyldimethicone 52 คุณสมบัติของ silicone มีความคงตัวทางเคมีสูง ทนความร้อนสูง กันน้าได้ดี มีแรงตึงผิวต่า เกาะติดผิวหนังได้ดีโดยไม่ทาให้รู้สึกเหนอะหนะ ดูดซึมได้ดี โดยเฉพาะการดูดซึมเข้าสู่รากผม ความหนืดคงที่ไม่เปลี่ยนตามอุณหภูมิ ไม่ระคายเคืองต่อผิวหนังและดวงตา มีคุณสมบัติเป็นสารต้านออกซิเดชัน การเติม silicone oils ลงในครีม 1-3% จะมีคุณสมบัติเป็นสารต้านฟอง จึงใช้ป้องกัน การเกิดฟองในการเตรียมอิมัลชันปริมาณมากๆ สาร silicones จะละลายในของเหลวที่ไม่มีขั้ว (non-polar liquids) 53 Silicone oils เป็นน้ามันที่มีความหนืดแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับจานวน siloxane unit (ค่า n) ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ค่าความหนืดของ silicone oils ค่า n ความหนืด (CST ที่ 20C) 50 60 110 140 280 680 400 1440 R * Si O * R n polydimethylsiloxanes ซึ่งมี R = CH3 54 9. Lanolin and derivatives Lanolin เป็นสารที่สกัดจากต่อมไขมันของแกะ มีส่วนประกอบเป็นสารเชิงซ้อนพวก esters, diesters, และ hydroxyesters ของ fatty acid และ fatty alcohols ที่มีน้าหนักโมเลกุลสูงผสมกันอยู่ lanolin ไม่มี triglycerides เหมือนกับไขมันจากสัตว์อื่นๆ lanolin เป็นสารที่ไม่ละลายน้า แต่อุ้มน้าไว้ในตัวเองได้ นิยมใช้ในเครื่องสาอางสาหรับผิวหนัง ทาให้หนังกาพร้าที่แห้งกลับคืนสภาพชุ่มชื้น และยืดหยุ่นได้โดยการเคลือบเป็นฟิล์ม (occlusive moisturizer) 55 lanolin ไม่ถูกดูดซึมเข้าสู่ผิวหนัง นิยมใช้ในผลิตภัณฑ์ปกป้องผิวหนัง ความเข้มข้นที่ใช้ไม่เกิน 5% ของตารับ เพื่อไม่ให้เกิดความรู้สึกเหนอะหนะผิว lanolin เป็นสารอิมอลเลียนท์ที่มีประสิทธิภาพดีมาก มีองค์ประกอบใกล้เคียงไขผิวหนัง มากที่สุด สามารถเพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่ผิวหนังได้ถึง 10-30% จึงนิยมใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง 56 ข้อเสียของ lanolin คือ มีกลิ่นแรง ทิ้งไว้นานสีจะเข้มขึ้น ผสมเข้ากับสารอื่นๆ ได้ยาก ให้ความรู้สึกเหนอะหนะ อาจก่อให้เกิดการแพ้ ทาให้ลดฟองของสารชาระล้าง จึงมีการดัดแปลงโครงสร้างของ lanolin เพื่อแก้ไขข้อเสีย เช่น การละลายน้า และการเข้ากันได้กับ สารอื่น เพื่อให้ความชุ่มชื้นมากขึ้นและเหนอะหนะน้อยลง ซึ่งอนุพันธ์ของ lanolin แสดงไว้ใน ตาราง ที่ 3 57 ตารางที่ 3 ส่วนประกอบและคุณสมบัติของอนุพันธ์ lanolin ที่นิยมใช้ อนุพันธ์ lanolin ชื่อการค้า ส่วนประกอบ 1. Liquid lanolin Lanogene, Lantrol, Viscolan, ประกอบด้วย lanolin ที่มีน้าหนักโมเลกุลต่า กับ Lanoil, Ritalan, Fluilan, lanolin alcohol Argonol ข้อดี คือ เหนอะหนะน้อยกว่า lanolin และ ละลายใน hydrocarbon ได้ดีกว่าแม้ที่อุณหภูมิ ต่า 2. Lanolin wax Waxolan, Lanfrax, Lanocerin, เกิดจากการนา lanolin มาขจัด ester ที่มีจุด Albalan หลอมเหลวต่าออกไป ข้อดี คือ สามารถใช้ได้ในความเข้มข้นต่า 58 ตารางที่ 3 ส่วนประกอบและคุณสมบัติของอนุพันธ์ lanolin ที่นิยมใช้ (ต่อ) อนุพันธ์ lanolin ชื่อการค้า ส่วนประกอบ 3. Lanolin alcohol 3.1 Solid wax Hartolans, Ceralan, Wool wax alcohol, เป็นของแข็งสีเหลืองอ่อนถึงสีอาพัน Argowaxed, Nimco wool wax alcohol 3.2 Liquid Amerchol L-101, Nimlesterol, Argobase Lanolin alcohol ผสมกับ mineral oil L-1 Amerchol absorption, Nimcolanbase 3.3 Unctuous base Alcolans, Forlans, Argobase, isocrenne, lanolin ผสมกับ petrolatum, Eucerin mineral oil และ paraffin 59 ตารางที่ 3 ส่วนประกอบและคุณสมบัติของอนุพันธ์ lanolin ที่นิยมใช้ (ต่อ) อนุพันธ์ lanolin ชื่อการค้า ส่วนประกอบ 4. Modified lanolin 4.1 Acylated lanolin Modulan, Lanacet Esterified กลุ่ม–OH ของ lanolin acetic anhydride ทาให้ใช้ได้โดยไม่ 4.2 Acetylated lanolin alcohol Acetol, Acetulan, Argonol เกิดการแพ้ และมีความชุ่มชื้นดี (ACE-2) 5. Polyoxyakylene lanolins Solulan 75, Solans, Laneto เกิดจาก lanolin ทาปฏิกิริยากับ 50 และ 100, Ethoxylan, ethylene oxide ทาให้การละลาย Lanfrax WS 55, Lantrol AWS, น้าดีขึ้น สามารถใช้เป็นตัวทาอิมัลชัน Lanogels, Aqualose LL 100, L ในตารับ O/W 30 และ L 75 60 ตารางที่ 3 ส่วนประกอบและคุณสมบัติของอนุพันธ์ lanolin ที่นิยมใช้ (ต่อ) อนุพันธ์ lanolin ชื่อการค้า ส่วนประกอบ 6. Ethoxylated Solulan 5, 16 และ 25, Ethoxylos, เกิดจาก lanolin alcohol ทาปฏิกิริยา lanolin alcohols Aqualose W 20, Polychols กับ ethylene oxide 7. Alcohol lanolin Isopropylan, Trisolan เกิดจาก esterified lanolin ด้วย isopropanol 8. Alcohol-lanolin Lanestas, Lanolates, Amerlate P เกิดจากการนา hydroxy acid lanolin acid ester มาทาปฏิกิริยากับ isopropanol 9. Lanolin fatty Amerlate LFA, Skliro, Lanacid เกิดจากการนา lanolin มา acids saponified และขจัดกลิ่นออก 61 10. Sterols 10.1 Cholesterol เป็นสารที่นิยมใช้ เพราะทาให้ผิวหนังชุ่มชื้น มักนามาใช้ในการรักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากการระคายเคือง ใช้ทดแทนไขมันธรรมชาติของผิวที่ถูกขจัดออกโดยสบู่ เนื่องจากไขมันที่ผิวหนังประกอบด้วย wax และ cholesterol ประมาณ 5% ดังนั้น cholesterol ที่เติมลงไปในผลิตภัณฑ์สาหรับผิวหนัง จึงสามารถทดแทน ไขมันตามธรรมชาติได้ 62 10.2 Ethoxylated cholesterol ชื่อทางการค้า คือ Solulan C-24 สารตัวนี้สามารถละลายน้าได้ดี สามารถใช้แทน cholesterol เหมาะสาหรับสูตรตารับรูปแบบโลชันซึ่งมีปริมาณน้าในสูตรมาก 63 11. Phospholipids เช่น Lecithin ซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อน ระหว่าง fatty acids, glycerol, nitrogenous base และ phosphoric acid สามารถละลายได้ดีในไขมัน สารนี้พบในเซลล์สิ่งมีชีวิตสูงถึง 2.6% และพบในน้ามันจากพืชและสัตว์ มีคุณสมบัติดูดเก็บความชื้นและกระจายได้ดีบนผิวหนัง จัดเป็นสารในกลุ่ม Natural Moisturizing Factor นิยมนามาผสมลงในผลิตภัณฑ์บารุงผิว ความเข้มข้นที่นิยมใช้ 1-2% ชื่อทางการค้า Alcolec 64 II. Humectants สารฮิวเมคแทนท์เป็นสารที่สามารถดูดเก็บความชื้นจากบรรยากาศรอบข้าง ทาหน้าที่ป้องกันการสูญเสียน้าจากเนื้อครีม ทาให้เนื้อครีมไม่แห้งเมื่อเก็บไว้นาน เป็นการช่วยรักษาความคงตัวให้กับผลิตภัณฑ์ ฟิล์มของสารฮิวเมคแทนท์ที่เคลือบอยู่บนผิวจะช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นแก่ผิว สารเหล่านี้จะอยูใ่ นวัฏภาคน้า ตัวอย่างสารฮิวเมคแทนท์ เช่น propylene glycol glycerin sorbitol 65 คุณสมบัติของสารฮิวเมคแตนท์ที่ดี 1. ดูดเก็บความชื้นจากบรรยากาศได้ดี 2. มีความหนืดต่า เพื่อละลายหรือผสมได้ง่ายกับองค์ประกอบอื่นและความหนืดคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ 3. ไม่ระเหยง่าย ไม่ตกผลึก หรือแข็งตัวภายใต้สภาวะอุณหภูมิปกติ 4. มีฤทธิ์เป็นกลาง เข้าได้ดีกับสารอื่นในสูตรตารับ และไม่กัดกร่อนภาชนะที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ 5. ไม่ระคายเคืองผิวหนังหรือไม่เป็นพิษ 6. ไม่ควรมีสี ไม่มีกลิ่นและรส 7. หาได้ง่ายและราคาถูก 66 ประเภทของสารฮิวเมคแตนท์ แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 3.1) สารอนินทรีย์ 3.2) สารอินทรีย์โลหะ 3.3) สารอินทรีย์ 3.1 สำรอนินทรีย์ (Inorganic humectants) ✓ เช่น calcium chloride ✓ สารนี้สามารถดูดความชื้นได้ดี ✓ แต่มีฤทธิ์กัดกร่อน ✓ เข้ากับสารอื่นได้ยาก ✓ จึงไม่นิยมใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง 67 3.2 สำรอินทรีย์โลหะ (Metal organic humectants) ✓ เช่น sodium lactate ✓ สามารถดูดความชื้นได้ดีกว่า glycerin ✓ แต่มีฤทธิ์กัดกร่อน มีกลิ่นฉุน เปลี่ยนสีง่าย ✓ เข้ากับสารอื่นได้ยาก ✓ ไม่นิยมใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง ยกเว้นครีมสาหรับผิวหนัง เนื่องจาก lactate เป็น สารที่พบในผิวหนังตามธรรมชาติอยู่แล้ว ✓ มักใช้ร่วมกับ lactic acid เพื่อเป็น buffer โดยปรับ pH ให้อยู่ระหว่าง 7.1 และ 2.2 ✓ นิยมใช้ส่วนผสมของ lactate กับ lactic acid ในความเข้มข้น 5% ในตารับ 68 3.3 สำรอินทรีย์ (Organic humectants) ได้แก่สาร polyhydric alcohols ในรูปอนุพันธ์ ethers หรือ esters ตัวอย่างเช่น ✓ propylene glycol ✓ glycerol (trihydroxypropane) ✓ polyethylene glycol ✓ sorbitol (hexahydrohexane) ✓ 1,3-butylene glycol ✓ Glucose derivatives เช่น glucose syrup, invert sugar และ honey 69 ในปัจจุบันมีการสังเคราะห์อนุพันธ์ของ glucose ซึ่งนามาใช้เป็นสารฮิวเมคแตนท์ที่มีประสิทธิภาพ ใกล้เคียงกับ glycerol เช่น PPG-20 methyl glycose methyl gluceth-10 (methyl glycoside alkoxylates ต่อกับ ethylene oxide 10 หน่วย) methyl gluceth-20 (methyl glycoside alkoxylates ต่อกับ ethylene oxide 20 หน่วย) ✓ ตัวที่นิยมใช้มากที่สุด คือ propylene glycol, glycerin และ sorbitol ✓ เนื่องจากมีความปลอดภัยต่อผิวหนังและไม่เป็นพิษ ✓ ใช้ในความเข้มข้น 2-20% ✓ สารในกลุ่ม organic humectant ถ้าใช้มากเกินไป จะดูดความชื้นจากผิวหนังทาให้ ผิวแห้ง รวมทั้งทาให้ผลิตภัณฑ์เสียความคงตัวทางกายภาพ 70 ความแตกต่างของ organic humectants ที่นิยมใช้ ❖ Propylene glycol มีน้าหนักโมเลกุลต่า ความหนืดต่า แต่ระเหยได้ ❖ Glycerin มีน้าหนักโมเลกุลปานกลาง ความหนืดปานกลาง ระเหยได้ ปานกลาง ❖ Sorbitol มีน้าหนักโมเลกุลสูง ความหนืดสูง แต่ไม่ระเหย ❖ 1,3-butylene glycol เป็นของเหลวใส หนืด มีคุณสมบัติในการดูดความชื้นได้ ใกล้เคียงกับ propylene glycol และเป็นตัวทาละลายน้าหอมที่ดี และที่สาคัญคือ จัดเป็นสารประเภท hypo-allergenic 71 III. Other Moisturizers สาร Natural Moisturizing Factor (NMF) สารที่ทาหน้าที่ป้องกันการสูญเสียน้าจากผิวและรักษาความชุ่มชื้นให้แก่ผิวหนังตามธรรมชาติ ตัวอย่างของสารในกลุ่มนี้ประกอบด้วย ❖ Amino acid ❖ Sodium pyrrolidone carboxylic acid ❖ Polypeptide ❖ Urea ❖ Lactate ดังนั้นจึงนิยมนาสารในกลุ่มนี้มาเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง เพื่อให้ความชุ่มชื้น แก่ผิวหนัง 72 ความสาคัญของ Natural Moisturizing Factor Retrieved on 2 November 2015, from https://www.ajinomoto.com/features/amino/how/beauty/ 73 ตัวอย่างของสารกลุ่ม Natural Moisturizing Factor ที่นิยมใช้ ❖ Urea ✓ สามารถซึมผ่านผิวหนังได้ ✓ ทาให้ผิวมีความยืดหยุ่น ✓ นิยมใช้ในความเข้มข้น 5-10% ✓ ในตารับ ต้องทาให้มี pH เป็นกรด (ประมาณ 3) เพื่อป้องกันการสลายตัวเป็นแอมโมเนีย 74 ตัวอย่างของสารกลุ่ม Natural Moisturizing Factor ที่นิยมใช้ ❖ Sodium pyrrolidone carboxylic acid ✓ Synonyms: sodium PCA, Sodium L-pyroglutamate, L-pyrrolidone-5-carboxylic acid sodium salt ✓ ดูดความชื้นได้ดีกว่า glycerin ✓ ทาหน้าที่เป็นทั้ง NMF และสารฮิวเมคแตนท์ในผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางหลายชนิด ✓ สามารถใช้ที่ความเข้มข้น 0.5-10 % ✓ ในเครื่องสาอางนิยมใช้ประมาณ 2% 75 ตัวอย่างของสารกลุ่ม Natural Moisturizing Factor ที่นิยมใช้ ❖ Lactic acid และ sodium lactate ✓ ดูดความชื้นได้ดี ✓ มีฤทธิ์เร่งการหลุดลอกเซลล์ผิวหนัง เป็นหนึ่งใน AHAs ✓ ช่วยระงับการเกิดของเอนไซม์ไทโรซิเนสทาให้ผิวขาวขึ้น ✓ ช่วยรักษาความชุ่มชื้นให้กับผิว และสามารถเพิ่มระดับของเซราไมด์ (ceramide) Lactic acid Sodium lactate 76 ตัวอย่างของสารกลุ่ม Natural Moisturizing Factor ที่นิยมใช้ ❖ Amino acids ✓ ช่วยรักษาน้าในชั้น stratum corneum ที่พบในผิวหนัง ✓ เช่น threonine, serine, citrulline, glycine, alanine, histidine และ arginine glycine threonine serine 77 ตัวอย่างเครื่องสาอางที่มีส่วนประกอบของ NMF 78 5. ตัวอย่างของตารับเครื่องสาอางสาหรับบารุงผิว 79 80 สรุปเนื้อหาการบรรยาย 1. ทบทวนความหมายของคาว่า Emollients, Humectants และ Moisturizers 2. ทบทวนกลไกการเพิ่มความชุ่มชืน้ ของสารแต่ละกลุ่ม Occlusion, humectancy, restoration 3. ยกตัวอย่างของสาร Emollients, Humectants และ Moisturizers 81 บรรณานุกรม Wilkinson JB, Moore RJ. 1982. Humectants. In: Harry’s Cosmeticology 7th ed. London: George Godwin, pp 641-652. Draelos ZD. 1995. Moisturizers. In: Cosmetics in Dermatology 2nd ed. New York: Churchill Livingstone Inc., pp 83- 95. Schueller R, Romanowski P. 1999. Conditioning Agents for Hair and Skin. New York: Marcel Dekker. Loden M, Maibach HI. 2000. Dry Skin and Moisturizers. New York: CRC Press. Loden M. 2001. Hydrating substances. In: Handbook of Cosmetic Sciences and Technology, Barel AO, Paye M, Maibach HI (eds.). New York: Marcel Dekker, pp 347-360. อโณทัย ตั้งสาราญจิต (2557) เอกสารประกอบการสอนหัวข้อ “สารเพิ่มความชุ่มชื้น” วิชาบทนาสู่การตั้งตารับเครื่องสาอาง, คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, จ. พิษณุโลก. พิมพร ลีลาพรพิสิฐ. 2536. องค์ประกอบของอิมัลชันทางเครื่องสาอาง. ใน อิมัลชันทาง เครื่องสาอาง. เชียงใหม่: งานส่งเสริมการวิจัยและ ตารา กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, หน้า 99-150. พิมพร ลีลาพรพิสิฐ. 2544. ผลิตภัณฑ์ประอรผิว. ใน เครื่องสาอางสาหรับผิวหนัง (ฉบับปรับปรุง). เชียงใหม่: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, หน้า 21-65. 82 Thank you for your attention. All comments and questions are welcome.

Use Quizgecko on...
Browser
Browser