1 วิทยาศาสตร์โลก 2567.pdf.crdownload

Document Details

AmpleBoston564

Uploaded by AmpleBoston564

มหาวิทยาลัยนเรศวร

2023

Tags

earth science geology earth structure

Full Transcript

วิทยาศาสตร์ โลก LOGO องค์ประกอบหลักของโลก 1. ส่วนที่เป็นพื้นดินและหิน หรือธรณีภาค (Lithosphere) 2. ส่วนที่เป็นพื้นน้้า หรืออุทกภาค (Hydrosphere)...

วิทยาศาสตร์ โลก LOGO องค์ประกอบหลักของโลก 1. ส่วนที่เป็นพื้นดินและหิน หรือธรณีภาค (Lithosphere) 2. ส่วนที่เป็นพื้นน้้า หรืออุทกภาค (Hydrosphere) 3. ส่วนที่เป็นบรรยากาศ (Atmosphere) คือ บรรยากาศ ชั้นโทรโปสเฟียร์ (Troposphere) 4. ส่วนที่เป็นชีวภาคหรือชีวมณฑล (Biosphere) คือ บริเวณที่มีสภาพพื้นดิน /หิน น้้า และบรรยากาศ เหมาะสมต่อการเกิดและด้ารงอยู่ของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืช สัตว์ รวมทั้งมนุษย์ โดยในแต่ละซีกโลกก็จะมีภูมิประเทศ ลักษณะทางอุทกวิทยา และภูมิอากาศที่แตกต่างกัน LOGO 2 Hydrosphere ส่วนของน้้า hydrosphere เป็นส่วนที่มี มากที่สุดบนโลกของเรา โดยน้้าส่วนใหญ่ ที่พบเป็นน้้าเค็มในปริมาณมาก มีแหล่งน้้า จืดเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่น้าจืดคือสิ่งที่ ร่างกายเราต้องการ LOGO 3 Lithosphere ส่วนพื้นดิน lithosphere คือส่วนที่มนุษย์ยืน อยู่ ทุ กวั น นี้ แ ละยั ง รวมถึง ส่ วนของพื้ น ทะเลที่ อยู่ ใ ต้ ระดั บ น้้ า ทะเล หรื อ แม้ แ ต่ น้ า จื ด ห้ ว ย หนอง คลอง บึงต่างๆ ด้วย แต่ส่วนที่อยู่ใต้น้านั้นมนุษย์ ไม่สามารถใช้ได้โดยทางตรง LOGO 4 Atmosphere ส่วนของบรรยากาศ คือส่วนที่ เรามองเห็นเลยใช้ประโยชน์ได้ มาก และมี ป ระโยชน์ กั บ เรา ม า ก เ ช่ น กั น ใ น ส่ ว น บรรยากาศนั้น มีส่ว นของก๊าซ โอโซน O3 ที่ช่วยในการ ปกป้องโลกจากแสง UV ของ ดวงอาทิตย์ ไม่ให้โลกเราร้อน จนเกิดไปและเย็นจนเกินไป องค์ประกอบส้าคัญของบรรยากาศ คือ แก๊สไนโตรเจนปริมาณร้อยละ 78.08 โดยปริมาตร แก๊ ส ออกซิ เ จนปริ ม าณร้ อ ยละ 20.95, แก๊ ส อาร์ ก อนปริ ม าณร้ อ ยละ 0.93, แก๊ ส คาร์บอนไดออกไซด์ปริมาณร้อยละ 0.03 และแก๊สอื่น ๆ ปริมาณร้อยละ 0.01 โดยปริมาตร LOGO 5 ชั้นบรรยากาศของโลก LOGO 6 การศึ กษา โครงสร้างของโลก LOGO การศึกษาโครงสร้างภายในของโลก ❖ โลกมีมวลสาร 6 x 1024 กิโลกรัม ❖ มี ค วามหนาแน่ น เฉลี่ ย 5.5 กรั ม ต่ อ ลู ก บาศก์ เ ซ็ น ติ เ มตร (หนาแน่นกว่าน้้า 5.5 เท่า) ❖ นักธรณีวิทยาท้าการศึกษาโครงสร้างภายในของโลก โดย ศึกษาการเดินทางของคลื่นไหวสะเทือน (Seismic waves) LOGO 8 การทดลองระเบิ ด นิ ว เ ค ลี ย ร์ แ ล ะ ต ร ว จ วั ด เ ว ล า เดิ น ทางของคลื่ น เพื่อค้านวณ ความ ลึก LOGO 9 โครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี เมื่อพิจารณาองค์ประกอบทางเคมีบริเวณส่วนต่าง ๆ ภายใน โครงสร้ า งโลก สามารถแบ่ ง โครงสร้ า งโลกออกเป็ น 3 ส่วน ได้แก่ เปลือกโลก เนื้อโลก และแก่นโลก LOGO 10 ส่วนประกอบทางเคมีโลก LOGO 11 ส่วนประกอบทางเคมีของชั้นเปลือกโลก LOGO 12 โครงสร้างโลก 1. เปลือกโลก 2. เนื้อโลก 3. แก่นโลก LOGO 13 ลักษณะโครงสร้างโลก 1. เปลือกโลก (Crust) 1.1 เปลือกโลกทวีป (continental crust) มีความหนาประมาณ 25-70 กิโลเมตร ประกอบด้วยแร่ซิลกิ า (silica) และอะลูมินา (alumina) เป็นส่วนใหญ่ 1.2 เปลือกโลกมหาสมุทร (Oceanic crust) มีความหนา ประมาณ 4-11 กิโลเมตร ประกอบด้วยแร่ซิลกิ า (silica) และแมกนีเซีย (magnesia) เป็นส่วนใหญ่ LOGO 14 ลักษณะโครงสร้างโลก 2. เนื้อโลก (Mantle) 2.1 เนื้อโลกตอนบน (Upper Mantle) มีความหนาประมาณ 665- 695 กิโลเมตร ส่วนประกอบหลักส่วนใหญ่เป็นแมกนีเซียมและเหล็ก เกือบ ทั้งหมดมีสถานะเป็นของแข็งยกเว้นที่ความลึกประมาณ 100-250 กิโลเมตร เรียกว่า ฐานธรณีภาค (asthenosphere) ในชั้นนี้มีการหลอมละลายของ หินและแร่บางส่วนหลอมละลายเป็นแมกมา (magma) 2.2 เนื้อโลกตอนล่าง (Lower Mantle) มีความหนาประมาณ 2,190- 2,220 กิโลเมตร มีสภาพเป็นของแข็ง ส่วนใหญ่ประกอบด้วยซิลิเกตและ ออกไซด์ของเหล็กและแมกนีเซียม LOGO 15 ลักษณะโครงสร้างโลก 3. แก่นโลก (Core) 3.1 แก่นโลกชั้นนอก (Outer Core) มีความหนาประมาณ 2,270 กิโลเมตร ในชั้นนี้เป็นโลหะเหลวที่ประกอบด้วยธาตุเหล็กและนิกเกิลซึ่ง ไหลวนไปในทิศทางเดียวกัน ท้าให้นักวิทยาศาสตร์ตั้งสมมติฐานว่า การ ไหลของโลหะเหลวเป็นสาเหตุที่ท้าให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก 3.2 แก่นโลกชั้นใน (inner Core) มีความหนาประมาณ 1,200 กิโลเมตร อุณหภูมิสูงถึง 7,500 องศาเซลเซียส ประกอบด้วยธาตุเหล็ก ธาตุนิกเกิล และธาตุที่มีความถ่วงจ้าเพาะสูงมาก ๆ LOGO 16 ลักษณะโครงสร้างโลก จากการศึ ก ษาโครงสร้ า งโลกจากคลื่ น ไหวสะเทื อ น พบว่ า ความเร็วของคลื่นที่เคลื่อนผ่านเปลือกโลกและส่วนบนสุดของ เนื้อโลก มีความเร็วเท่ากัน ซึ่งแสดงว่ามีลักษณะทางกายภาพ เ ห มื อ น กั น ร ว ม เ รี ย ก ทั้ ง ส อ ง ส่ ว น นี้ ว่ า ธ ร ณี ภ า ค (lithosphere) มีลักษณะเป็นของแข็ง ลึกจากผิวโลกประมาณ 100 กิโลเมตร LOGO 17 ลักษณะโครงสร้างโลก เนื้อโลกตอนบนที่ระดับลึกจากผิวโลก 100-250 กิโลเมตร เรียกว่า ฐานธรณีภาค (asthenosphere) มีการหลอมเหลว ของหิ น เป็ น บางส่ ว นซึ่ ง เป็ น แหล่ ง ก้ า เนิ ด ของ แมกมา (magma) ซึ่งมีลักษณะเป็นของเหลวหนืด LOGO 18 ลักษณะโครงสร้างโลก LOGO 19 แผ่นธรณี (plate) จากการศึกษาโครงสร้างโลกพบว่า ธรณีภาค มีลักษณะแตก ออกเป็นแผ่น แต่ละแผ่นเรียกว่า แผ่นธรณี (plate) ซึ่งแผ่น ธรณีของโลกมีหลายแผ่ นเรียงต่อกันและสามารถเคลื่อนที่ใน ลักษณะต่างๆได้ LOGO 20 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี LOGO การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐานเป็นทฤษฎีที่ ใช้ อ ธิ บ ายการเคลื่ อ นที่ ข องแผ่ น เปลือกโลก ในอดีตแผ่นเปลือกโลก ทั้ ง หมดอยู่ ติ ด เป็ น แผ่ น เดี ย วกั น เรียกว่า พันเจี ย หลังจากนั้นแผ่น เปลือกโลกมีการเคลื่อนที่อย่างช้า ๆ จนแยกออกเป็ น ทวี ป ต่ า ง ๆ ใน ปัจจุบันตามสมมติฐาน ทวีปเลื่อน LOGO ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน (plate tectonics theory) ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน (plate tectonics theory) คือ ทฤษฎีที่ใช้อธิบายการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก ที่ท้าให้เกิด การเปลี่ ย นแปลงทางธรณี วิท ยาลั กษณะต่ าง ๆ เช่ น การเกิ ด เทือกเขา รอยเลื่อน แนวภูเขาไฟ รวมถึงการเกิด แผ่นดินไหว โลกประกอบด้ วยแผ่ นเปลือกโลกประมาณ 15 แผ่ น ซึ่ง มีการ เคลื่อนที่อย่างช้า ๆ และต่อเนื่อง ในปัจจุบัน แผ่นเปลือกโลกมี ลักษณะแตกต่างจากแผ่นเปลือกโลกในอดีตอย่างมาก LOGO ทวีปเลือ่ น อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Alfred Wegener) นักธรณีฟิสิกส์และนัก อุตุนิยมวิทยาชาวเยอรมันได้เสนอสมมติฐาน ทวีปเลื่อน เมื่อ ค.ศ. 1912 ซึ่งเป็นรากฐานของทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน โดยกล่าวว่า “เมื่อ 225 ล้าน ปีก่อน ผืนแผ่นดินทั้งหมดบนโลกอยู่ติดเป็นแผ่นเดียวกัน เรียกว่า พันเจีย (Pangea) หลังจากนั้น แผ่นดินแต่ละส่วนจึงค่อย ๆ เคลื่อนที่ออกจาก กันจนมีลักษณะดังปัจจุบัน ” พันเจียประกอบด้วยแผ่นดินใหญ่ 2 ส่วน คือ แผ่นดินลอเรเซีย (laurasia plate) อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรและ แผ่นดินกอนด์วานา (gondwana plate) อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร โดยมี มหาสมุทรพันทาลัสซา (panthalassa) ล้อมรอบอยู่ LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO แผ่นธรณีในปั จจุบนั LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO LOGO

Use Quizgecko on...
Browser
Browser