2. NS_PlanOct2018 หน้า 11_20.pdf
Document Details

Uploaded by SharperFife201
Chonradsadornumrung School
Tags
Full Transcript
การพัฒ นาระบบและปั จ จั ย ส่ งเสริ มต่ า ง ๆ ที่ เกี่ยวข้องไปพร้อ มกัน ทั้ งในส่ ว นของระบบการเรียนการสอน และการพัฒนาทักษะฝีมือที่สอดคล้องกันกับการพัฒนาของคนในแต่ละช่วงวัย ระบบบริการสาธารณะ โครงสร้าง พื้นฐาน รวมทั้งการให้ความสาคัญกับการส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยสามารถยกระดับ เป็น...
การพัฒ นาระบบและปั จ จั ย ส่ งเสริ มต่ า ง ๆ ที่ เกี่ยวข้องไปพร้อ มกัน ทั้ งในส่ ว นของระบบการเรียนการสอน และการพัฒนาทักษะฝีมือที่สอดคล้องกันกับการพัฒนาของคนในแต่ละช่วงวัย ระบบบริการสาธารณะ โครงสร้าง พื้นฐาน รวมทั้งการให้ความสาคัญกับการส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยสามารถยกระดับ เป็นเจ้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรมก้าวทันโลก จากการต่อยอดการพัฒนาบนพื้นฐานนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ ส่งผลให้เกิดการสร้างห่วงโซ่มูลค่าทางเศรษฐกิจในทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตร และภาคบริการ กระจาย ผลประโยชน์จากการพัฒนา ลดปัญหาความเหลื่อมล้า และนาไปสู่การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของประชาชน ทุกภาคส่วน นอกจากนี้ ประเทศไทยต้องให้ความสาคัญกับการสร้างสมดุลความมั่นคงด้านพลังงานและอาหาร รักษา ไว้ซึ่งความหลากหลายเชิงนิเวศ การส่งเสริมการดาเนินชีวิตและธุรกิจ และการพัฒนาและขยายความเป็นเมือง ที่เติบโตอย่างต่อเนื่องที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมกับการมีข้อกาหนดของรูปแบบและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวเนื่อง กับลักษณะการใช้พื้นที่ที่ชัดเจน ขณะที่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ กฎหมาย ระบบภาษี ต้องมีกลยุทธ์การพัฒนาที่สามารถอานวยความสะดวกและส่งเสริมให้ประเทศมีศักยภาพการแข่งขันที่สูงขึ้น และสามารถใช้จุดแข็งในเรื่องตาแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของประเทศให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ มากขึ้น รวมทั้งให้ความสาคัญของการรวมกลุ่มความร่วมมือกับนานาประเทศในระดับภูมิภาคและระดั บโลก เพื่อกระชับและสร้างสัมพันธไมตรี เสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการทูต ซึ่งจะก่อให้เกิดการสร้างพลังทางเศรษฐกิจ และรักษาความมั่นคงของประเทศ โดยจาเป็นต้องสร้างความพร้อมในการที่จะยกระดับมาตรฐานและมีการ ปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบกติกาสากลในด้านต่าง ๆ ขณะเดียวกันประเทศไทยจาเป็นต้องเร่งให้มีการปฏิรูป ระบบราชการและการเมืองเพื่อให้เกิดการบริหารราชการที่ดีและเสถียรภาพทางการเมือง มีการส่งเสริมคนใน ชาติให้ยึดมั่นสถาบันหลักเป็นศูนย์รวมจิตใจเพื่อให้เกิดความรักความสามัคคี และลดความขัดแย้งภายในประเทศ โดยที่นโยบายการพัฒนาต่าง ๆ จาเป็นต้องคานึงถึงความสอดคล้องกับโครงสร้างและลักษณะพฤติกรรมของ ประชากรที่อาจจะมีความแตกต่างจากปัจจุบันมากขึ้น ดังนั้น ภายใต้เงื่อนไขโครงสร้างประชากร โครงสร้างเศรษฐกิจ สภาพสังคม สภาพภูมิอากาศ สิ่งแวดล้อม และปัจจัยการพัฒนาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่ งผลให้ประเทศไทยจาเป็นต้องมีการวางแผนการพัฒนาที่รอบคอบ และครอบคลุม อย่างไรก็ตาม หลายประเด็นพัฒนาเป็นเรื่องที่ต้องใช้ระยะเวลาในการดาเนินงานเพื่อให้เกิด การปรับตัวซึ่งจะต้องหยั่งรากลึกลงไปถึงการเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสร้าง การขับเคลื่อนการพัฒนาให้ประเทศ เจริญก้าวหน้าไปในอนาคตจึงจาเป็นต้องกาหนดวิสัยทัศน์ในระยะยาวที่ต้องบรรลุ พร้อมทั้งแนวยุทธศาสตร์หลัก ในด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นกรอบในการขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างเป็นบูรณาการบนพื้นฐานประชารัฐเพื่อยกระดับจุด แข็งและจุดเด่นของประเทศ และปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนและจุดด้อยต่าง ๆ อย่า งเป็นระบบ โดยยุทธศาสตร์ชาติ จะเป็น เปูาหมายใหญ่ในการขับเคลื่ อนประเทศ และถ่ายทอดไปสู่แผนในระดับอื่น ๆ เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติ ทั้งในระดับยุทธศาสตร์ ภารกิจ และพื้นที่ ซึ่งรวมถึงพื้นที่พิเศษต่าง ๆ อาทิ เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพื่อให้การพัฒนาประเทศสามารถดาเนินการได้อย่างมั่นคง มั่งคั่ง และ ยั่งยืน ๓. วิสัยทัศน์ประเทศไทย “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เพื่อสนองตอบ ต่อผลประโยชน์แห่งชาติ อันได้แก่ การมีเอกราช อธิปไตย การดารงอยู่อย่างมั่นคง และยั่งยืนของสถาบันหลัก ของชาติและประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ การอยู่ร่วมกันในชาติอย่างสันติสุขเป็นปึกแผ่น มีความมั่นคง ๔ ทางสั งคมท่ามกลางพหุ สั งคมและการมีเกียรติและศักดิ์ศรี ของความเป็ น มนุ ษย์ ความเจริ ญเติบ โตของชาติ ความเป็ น ธรรมและความอยู่ ดี มี สุ ข ของประชาชน ความยั่ ง ยื น ของฐานทรั พ ยากรธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้ อ ม ความมั่นคงทางพลังงานและอาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชน์ของชาติภายใต้การเปลี่ยนแปลง ของสภาวะแวดล้ อมระหว่างประเทศ และการอยู่ร่ ว มกันอย่างสั นติประสานสอดคล้ องกันด้านความมั่นคง ในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกอย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี ความมั่นคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและ ภายนอกประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือ น และปัจเจกบุคคล และมีความมั่นคง ในทุกมิติ ทั้งมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง เช่น ประเทศมีความมั่นคงในเอกราช และอธิ ป ไตย มีการปกครองระบบประชาธิป ไตยที่มีพระมหากษั ตริย์ท รงเป็น ประมุข สถาบั น ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์มีความเข้มแข็งเป็นศูนย์ กลางและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน มีระบบการเมืองที่มั่นคง เป็นกลไกที่นาไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเนื่องและโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล สังคมมีความปรองดองและ ความสามัคคี สามารถผนึกกาลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชน มีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคงพอเพียงกับการดารงชีวิต มีการออมสาหรับวัยเกษียณ ความมั่นคง ของอาหาร พลังงาน และน้า มีที่อยู่อาศัย และความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน ความมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืนจนเข้าสู่ กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุขได้รับผลประโยชน์จากการ พั ฒ นาอย่ า งเท่ า เที ย มกั น มากขึ้ น และมี ก ารพั ฒ นาอย่ า งทั่ ว ถึ ง ทุ ก ภาคส่ ว น มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ตามมาตรฐาน ขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีป ระชาชนที่อยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจในประเทศมีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่าง ๆ ทั้งในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศ เพื่อให้สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่ง อนาคตเพื่อให้สอดรับกับบริบทการพัฒนาที่เปลี่ยนแปลงไป และประเทศไทยมีบทบาทที่สาคัญในเวทีโลก และมี ความสั ม พั น ธ์ ท างเศรษฐกิ จ และการค้ า อย่ า งแน่ น แฟู น กั บ ประเทศในภู มิ ภ าคเอเชี ย เป็ น จุ ด ส าคั ญ ของ การเชื่อมโยงในภูมิภาค ทั้งการคมนาคมขนส่ ง การผลิ ต การค้า การลงทุน และการทาธุรกิจ เพื่อ ให้ เป็นพลั ง ในการพัฒนา นอกจากนี้ ยังมีความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่องไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิ ตของประชาชน ให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักการใช้ การรักษาและการฟื้นฟูฐาน ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมจนเกิน ความสามารถในการรองรั บ และเยี ย วยาของระบบนิเ วศ การผลิ ตและการบริ โ ภคเป็น มิต รกั บสิ่ งแวดล้ อ ม และสอดคล้องกับเปูาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้นและสิ่งแวดล้อม มีคุณภาพดีขึ้น คนมีความรั บผิ ดชอบต่อสั งคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐ บาล มีนโยบายที่มุ่งประโยชน์ส่ วนรวมอย่างยั่งยืน และให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชน และทุกภาค ส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่างสมดุล มีเสถียรภาพ และยั่งยืน ๕ ๖ โดยมีเปูาหมายการพัฒนาประเทศ คื อ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนา อย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลาย มิติ พั ฒ นาคนในทุก มิติ แ ละในทุก ช่ ว งวัย ให้ เ ป็น คนดี เก่ง และมี คุณ ภาพ สร้ า งโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย ๑) ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย ๒) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ ๓) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ๔) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม ๕) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ ๖) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ ๔. ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อให้ ประเทศไทยสามารถยกระดับ การพัฒนาให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเปูาหมาย การพัฒนาประเทศข้างต้น จึงจาเป็นต้องกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศระยะยาวที่จะทาให้ประเทศไทย มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยภายในและภายนอกประเทศ ในทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของประเทศได้รับการ พัฒนายกระดับ ไปสู่ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสร้างมูล ค่าเพิ่ม และพัฒ นากลไกที่สาคัญในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ใหม่ที่จะสร้างและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ เพื่อยกระดับฐานรายได้ของ ประชาชนในภาพรวมและกระจายผลประโยชน์ไปสู่ภาคส่วนต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม คนไทยได้รับการพัฒนา ให้ เป็น คนดี เก่ง มีวินัย คานึ งถึงผลประโยชน์ ส่ วนรวม และมีศักยภาพในการคิดวิเคราะห์ สามารถ “รู้ รับ ปรับใช้” เทคโนโลยีใหม่ได้อย่างต่อเนื่อง สามารถเข้าถึงบริการพื้นฐาน ระบบสวัสดิการ และกระบวนการยุติธรรม ได้อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่มีใครถูกทิ้งไว้ข้างหลัง การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนา ความมั่น คง เศรษฐกิจ สั งคม และสิ่ ง แวดล้ อม โดยการมีส่ ว นร่ว มของทุกภาคส่ ว นในรูป แบบ“ประชารัฐ ” โดยประกอบด้ ว ย ๖ ยุ ท ธศาสตร์ ได้ แ ก่ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ด้ า นความมั่ น คง ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ด้ า นการสร้ า ง ความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยแต่ละยุทธศาสตร์มีเปูาหมายและประเด็นการพัฒนา ดังนี้ ๔.๑ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ด้ า นความมั่ น คง มี เ ปู า หมายการพั ฒ นาที่ ส าคั ญ คื อ ประเทศชาติ มั่ น คง ประชาชนมี ความสุ ข เน้ นการบริ หารจั ดการสภาวะแวดล้ อมของประเทศให้ มี ความมั่นคง ปลอดภั ย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เครื่องมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้ อ มู ล ขนาดใหญ่ ใ ห้ มี ค วามพร้ อ มสามารถรั บ มื อ กั บ ภั ย คุ ก คามและภั ย พิ บั ติ ได้ ทุ กรู ป แบบ และทุ กระดั บ ความรุ น แรง ควบคู่ ไปกั บการปูอ งกั นและแก้ ไ ขปั ญ หาด้ า นความมั่ น คงที่ มี อ ยู่ ในปัจจุบัน และที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทั้งกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ๗ ประชาสั งคม และองค์กรที่ไม่ใช่รั ฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้ านและมิตรประเทศทั่ว โลกบนพื้นฐานของหลั ก ธรรมาภิบาล เพื่อเอื้ออานวยประโยชน์ต่อการดาเนินการของยุทธศาสตร์ชาติด้านอื่น ๆ ให้สามารถขับเคลื่อน ไปได้ตามทิศทางและเปูาหมายที่กาหนด ๔.๒ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเปูาหมายการพัฒนาที่มุ่งเน้น การยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด ๓ ประการ ได้แก่ (๑) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากร ธรรมชาติ ที่ ห ลากหลาย รวมทั้ งความได้ เ ปรี ย บเชิง เปรีย บเทีย บของประเทศในด้ า นอื่ น ๆ นามาประยุ ก ต์ ผสมผสานกั บ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม เพื่ อ ให้ ส อดรั บ กั บ บริ บ ทของเศรษฐกิ จ และสั ง คมโลกสมั ย ใหม่ (๒) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในมิติต่าง ๆ ทั้งโครงข่าย ระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อม ให้ เอื้อต่อการพัฒ นาอุตสาหกรรมและบริ การอนาคต และ (๓) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้ว ยการเพิ่ม ศักยภาพของผู้ ป ระกอบการ พัฒ นาคนรุ่ น ใหม่ รวมถึง ปรับ รูป แบบธุร กิ จ เพื่อ ตอบสนองต่ อความต้องการ ของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคต บนพื้นฐานของการต่ อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้ง การส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐให้ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาส ทางการค้าและการลงทุนในเวทีโ ลก ควบคู่ไปกับ การยกระดับ รายได้และการกิน ดีอยู่ดี รวมถึงการเพิ่มขึ้น ของคนชั้นกลาง และลดความเหลื่อมล้าของคนในประเทศได้ในคราวเดียวกัน ๔.๓ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเปูาหมายการพัฒนา ที่สาคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้ง กาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะรับผิดชอบต่อสังคม และผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ สามและอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัย รักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอื่น ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง ๔.๔ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเปูาหมายการพัฒนา ที่ส าคัญที่ให้ ความส าคัญ กับการดึงเอาพลังของภาคส่ ว นต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสั งคม ชุมชนท้องถิ่น มาร่วมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิดร่วมทาเพื่อส่วนรวม การกระจาย อานาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริห ารราชการแผ่นดินในระดับ ท้องถิ่น การเสริ มสร้างความเข้มแข็ง ของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและทาประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และ สังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและสวัสดิการที่มีคุณภาพอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง ๔.๕ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีเปูาหมาย การพั ฒ นาที่ ส าคั ญ เพื่ อ น าไปสู่ ก ารบรรลุ เ ปู า หมายการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ในทุ ก มิ ติ ทั้ ง ด้ า นสั ง คม เศรษฐกิ จ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่าง บูรณาการ ใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งในการกาหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝุายที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วม ในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเป็นการดาเนินการบนพื้นฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็น ทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสาคัญกับการสร้างสมดุลทั้ง ๓ ด้าน อันจะนาไปสู่ ความยั่งยืนเพื่อคนรุ่นต่อไปอย่างแท้จริง ๘ ๔.๖ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเปูาหมาย การพั ฒ นาที่ ส าคัญ เพื่อ ปรั บ เปลี่ ย นภาครัฐ ที่ ยึด หลั ก “ภาครั ฐ ของประชาชนเพื่ อประชาชนและประโยชน์ ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐที่ทาหน้าที่ ในการก ากั บ หรื อ ในการให้ บ ริ ก ารในระบบเศรษฐกิ จ ที่ มี ก ารแข่ ง ขั น มี ส มรรถนะสู ง ยึ ด หลั ก ธรรมาภิ บ าล ปรับวัฒนธรรมการทางานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัว ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทางานที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุ กต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้ง มีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการ ของประชาชนได้ อ ย่ า งสะดวก รวดเร็ ว และโปร่ ง ใส โดยทุ ก ภาคส่ ว นในสั ง คมต้ อ งร่ ว มกั น ปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย ม ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ความมั ธ ยั ส ถ์ และสร้ า งจิ ต ส านึ ก ในการปฏิ เ สธไม่ ย อมรั บ การทุ จ ริ ต ประพฤติ มิ ช อบ อย่างสิ้นเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จาเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนาไปสู่การลดความเหลื่อมล้าและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหาร ที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และการอานวยความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม ๙ ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นความมัน่ คง ๑. บทนา ความมั่นคงถือเป็นเปูาหมายสาคัญสูงสุดของทุกสังคมในทุกยุคทุกสมัย โดยกรอบแนวคิดความมั่นคง ให้น้าหนักความสาคัญกับมิติที่เกี่ยวข้อง ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการทหาร แตกต่างกันไปตาม บริบทแวดล้อมของแต่ละห้วงเวลา ปัจจุบันในโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ส่งผลให้สังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดดและพลิกผัน ได้ ทาให้มิติทั้งปวงถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน อย่างไม่อาจแบ่งแยกได้ ด้วยเหตุนี้ กรอบแนวคิดความมั่นคงแบบเดิมจึงถูกปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม เป็นกรอบ แนวคิดใหม่ที่เรียกว่า “ความมั่นคงแบบองค์รวม” ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคงจึงมีเปูาหมายสาคัญเพื่อ บริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน ไปจนถึงระดับความมั่นคงของมนุษย์ และทุกมิติ ให้มีความพร้อมสามารถรับมือ กับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกั บการปูองกันและแก้ไขปัญหาด้าน ความมั่นคงที่มีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทั้งกับส่วน ราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศทั่วโลก บนพื้นฐานของหลัก ธรรมาภิบ าล เพื่อมุ่ง ที่จ ะเอื้ออานวยประโยชน์ต่อ การดาเนิน การของยุทธศาสตร์ช าติ ด้านอื่น ๆ ให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ตามทิศทางและเปูาหมายที่กาหนด เพื่อให้บรรลุเปูาหมายดังกล่าวข้างต้น ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคงจึงได้กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ให้ความสาคัญกับการรั กษาความสงบภายในประเทศ เพื่อปรับสภาพแวดล้อมด้านความมั่นคงให้ประเทศ มีความสงบเรี ย บร้ อยและสั น ติสุ ข ในขณะเดีย วกันก็จะต้องมีการปูองกันและแก้ไขปัญหาที่มีผ ลกระทบต่อ ความมั่นคงที่มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาการค้ามนุษย์ ปัญหาการขาดเสถียรภาพทางการเมือง ปั ญ หาความไม่ ส งบในบางพื้ น ที่ รวมทั้ ง ปู อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ หาใหม่ เช่ น ปั ญ หาที่ เ กิ ด จากความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยีแ ละนวั ตกรรมแบบพลิ ก ผั น ปั ญ หาการแข่ง ขัน ทางการค้ าและการย้ ายถิ่ นของทุ นข้ า มชาติ นอกจากนี้ เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น การดัง กล่ า วสามารถบรรลุ ผ ลที่เ ป็ น รู ป ธรรมทั้ ง ปัจ จุ บั น และในอนาคต จึ ง มี ความจาเป็นที่จะต้องพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ ด้วยการยกระดับขีดความสามารถของกองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง รวมทั้งภาครัฐและภาคประชาชน ให้มีความพร้อมและเพียงพอในการปูองกันและรักษาอธิปไตยของประเทศ รวมทั้งสามารถติดตาม ปูองกัน แก้ไข และรับมือกับปัญหาความมั่นคงและภัยพิบัติทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับ อย่างบูรณาการทั้งภายในประเทศ ตลอดจนบูรณาการความร่ว มมือด้านความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองค์กรภาครัฐและที่มิใช่ ภาครัฐ เพื่อเสริมสร้างความสงบ สันติสุข ความมั่นคง และความเจริญก้าวหน้า ให้กับประเทศชาติ ภูมิภาค และ โลก อย่างยั่งยืน ทั้งนี้ การดาเนินการดังกล่าวจะประสบผลสาเร็จได้จะต้องมีการพัฒนาปรับปรุงกลไกการบริหาร จัดการความมั่นคงแบบองค์รวม ให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุผลสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม เป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านต่าง ๆ ให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ตามทิศทางและเปูาหมาย ที่กาหนดอย่างแท้จริง ๑๐ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคงมีเปูาหมายสาคัญในภาพรวมระยะ ๒๐ ปีที่เป็นรูปธรรมชัดเจน คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข ” โดยเร่งเสริมสร้างความเข้มแข็งและความรักความสามัคคีปรองดอง ของคนในชาติ ตลอดถึงการปลุกจิตสานึกด้านความมั่นคงให้เกิดขึ้นในประชาชนทุกระดับ การพัฒนาระบบงาน ด้านการข่าวให้มุ่งเน้นการบูรณาการข้อมูลข่าวสารด้านความมั่นคงอย่างเป็นระบบ การพัฒนาปรับปรุงกลไก การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง และกลไกในการปูองกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงให้มี เอกภาพ มีป ระสิท ธิภ าพ และมีการบูร ณาการการดาเนิน งานอย่า งแท้จ ริง โดยปัญ หาความมั่น คงเร่ง ด่ว น ที่จะต้อง ดาเนิน การแก้ไข ประกอบด้ว ย ปัญหาความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปัญหายาเสพติด ปัญหา ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัญหาอาชญากรรมทางไซเบอร์ และปัญหาการทุจริตในระบบราชการ ๒. เป้าหมาย ๒.๑ ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุข ๒.๒ บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ ๒.๓ กองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีความพร้อมในการ ปูองกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง ๒.๔ ประเทศไทยมีบทบาทด้านความมั่นคงเป็นที่ชื่นชมและได้รับการยอมรับโดยประชาคมระหว่าง ประเทศ ๒.๕ การบริหารจัดการความมั่นคงมีผลสาเร็จที่เป็นรูปธรรมอย่างมีประสิทธิภาพ ๓. ตัวชี้วัด ๓.๑ ความสุขของประชากรไทย ๓.๒ ความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ๓.๓ ความพร้อมของกองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง และการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการปูองกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง ๓.๔ บทบาทและการยอมรับในด้านความมั่นคงของไทยในประชาคมระหว่างประเทศ ๓.๕ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม ๔. ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ๔.๑ การรักษาความสงบภายในประเทศ เพื่อสร้างเสริมความสงบเรียบร้อยและสันติสุขให้เกิดขึ้นกับ ประเทศชาติบ้านเมือง ให้สถาบันหลักมีความมั่นคง เป็นจุดศูนย์รวมจิตใจอย่างยั่งยืน ประชาชนอยู่ดีมีสุข มีความ มั่นคงปลอดภัยทั้งในชีวิตและทรัพย์สิน สังคมมีความเข้มแข็ง สามัคคีปรองดอง และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันพร้อมที่จะ ร่วมแก้ไขปัญหาของชาติ ๔.๑.๑ การพัฒนาและเสริมสร้างคนในทุกภาคส่วนให้มีความเข้มแข็ง มีความพร้อมตระหนัก ในเรื่องความมั่นคง และมีส่วนร่วมในการแก้ไ ขปัญหา เพื่อให้ คนไทยทุกคนในทุกภาคส่ว น มีความมั่นคง ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีอาชีพการงานและรายได้ที่เพียงพอ ได้รับ โอกาสและความเสมอภาคอย่าง เท่าเทียม มีความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงในทุกมิติ มีจิตสาธารณะ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เข้าใจปัญหา ๑๑ สาคัญของสังคม มีความรักความสามัคคี ตระหนักและให้ความสาคัญกับความมั่นคงของชาติ และพร้อมเข้า มีส ่ว นร่ว มแก้ไ ขปัญ หาและพัฒ นาประเทศ ตลอดจนช่ว ยเหลือ ประชาชน โดยการอานวยความปลอดภัย อย่างกว้างขวางและครอบคลุม ปลูกฝังจิตสานึกและคุณสมบัติพื้นฐานคนไทยที่ดีให้บังเกิดผลเป็นรูป ธรรม สร้า งเสริม ความรัก ความสามัค คี ความตระหนัก ถึงหน้า ที่รับ ผิด ชอบต่อ สัง คมและประเทศชาติ ตลอดจน การมีส่วนในการแก้ไขปัญหาความมั่นคงและพัฒนาประเทศ ให้กับทุกภาคส่วนทั้งประชาชน ตารวจ ทหาร และ หน่วยงานด้านความมั่นคงอื่น ๆ ผ่านทางโครงการ กิจกรรม และการรณรงค์ต่าง ๆ ตลอดไปจนถึงการดาเนินการ อื่นทุกวิถีทางที่เหมาะสม อย่างต่อเนื่องและจริงจังจนประสบผลสาเร็จเป็นที่ยอมรับอย่างชัดเจน ๔.๑.๒ การพัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ เพื่อให้คนในชาติ มีจิตสานึกรักและหวงแหน มุ่งจงรักภักดี พร้อมธารงรักษาไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ให้เป็น สิ่งยึดเหนี่ยวและศูนย์รวมจิตใจหนึ่งเดียวกันของคนทั้งชาติ โดยปลูกฝังและสร้างความตระหนักรู้ถึงความสาคัญ ของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและภาคภูมิใจในความเป็นคนไทยและชาติไทย ผ่านทาง กลไกต่าง ๆ รวมถึงการศึกษาประวัติศาสตร์ในเชิงสร้างสรรค์ น้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดาริต่าง ๆ ให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และนาไปประยุกต์ ปฏิบัติใช้อย่างกว้างขวาง จัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติและพระราชกรณียกิจอย่างสม่าเสมอ ตลอดจนส่งเสริม ให้ยึดถือหลักคาสอนซึ่งเป็นแก่นแท้หรือคาสอนที่ถูกต้องของศาสนามาเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต อุปถัมภ์ และคุ้มครองพระพุทธศาสนาอันเป็นศาสนาที่ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่นับถือมาช้านาน โดยการส่งเสริม และ สนับสนุนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมของพระพุทธศาสนาที่จะช่วยพัฒนาทั้งจิตใจและปัญญา รวมทั้งต้อง จัดให้มีมาตรการและกลไกในการปูองกันมิให้มีการบ่อนทาลายพระพุทธศาสนาไม่ว่าในรูปแบบใด การส่งเสริมให้ พุทธศาสนิกชนมีส่วนร่วมในการดาเนินมาตรการหรื อกลไกดังกล่าวด้วย ตลอดจนอุปถัมภ์ค้าจุนศาสนาอื่นให้ มุ่ง เน้ น การสั่ ง สอนคนให้ เ ป็ น คนดี รั กความสงบสั น ติ สุ ข พร้อ มทั้ งมี ส่ ว นร่ ว มในการสร้ างความมั่น คงให้ กั บ ประเทศชาติบ้ านเมือง และช่ว ยเสริ มสร้ างการอยู่ร่ว มกันของคนต่ างศาสนาอย่า งปรองดอง ไม่ให้ เกิดการ แบ่งแยกแตกต่าง ๔.๑.๓ การพัฒนาและเสริ มสร้า งการเมืองในระบอบประชาธิ ปไตยอัน มีพระมหากษัตริ ย์ ทรงเป็น ประมุขที่มีเ สถียรภาพและมีธ รรมาภิบาล เห็นแก่ประโยชน์ของประเทศชาติมากกว่า ประโยชน์ ส่ ว นตน เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารจั ด การบ้ า นเมื อ งและการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริ ย์ ทรงเป็ น ประมุข ที่ส อดคล้ องกั บ บริ บทของไทย เอื้ออ านวยต่อ การพัฒ นาประเทศให้ เจริ ญ ก้าวหน้ าได้อย่ างยั่ งยื น ตามเปู าหมายที่กาหนด รวมทั้งได้ผู้ นาและนักการเมืองที่เป็นคนดี คนเก่ง มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรมสูง และกล้าตัดสินใจ โดยปลูกฝังให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วม อย่างถูกต้ องกั บ การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยอัน มี พระมหากษัต ริย์ท รงเป็น ประมุ ขในบริบ ทของไทย ส่งเสริมให้นักการเมืองมีคุณภาพ เป็นคนดีมีคุณธรรม มีความรู้ความสามารถ เห็นประโยชน์ของประเทศชาติ มากกว่าประโยชน์ส่วนตัวและของพรรคพวกเพื่อนพ้อง เสริมสร้างพรรคการเมืองและสถาบันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้มีนโยบาย แนวคิด และการบริหารจัดการที่ดีมีประสิทธิภ าพตามหลักธรรมาภิบาลสากล ไปจนถึงพัฒนา ปรับปรุงระบบการเลือกตั้งให้มีประสิทธิภาพ สามารถจั ดการเลือกตั้งได้อย่างสุจริตและเที่ยงธรรม มีกลไกแก้ไข ปัญหาความขัดแย้งและสร้างความสามัคคีปรองดอง จนสามารถคัดกรองคนดี คนเก่ง มีความรู้ความสามารถ และกล้าตัดสินใจ เข้ามาบริหารประเทศให้มุ่งไปสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ที่ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงและสอดคล้องเหมาะสมกับสังคมไทย ๑๒ ๔.๑.๔ การพัฒนาและเสริมสร้างกลไกที่สามารถป้องกันและขจัดสาเหตุของประเด็น ปัญหา ความมั่นคงที่สาคัญ เพื่อให้ ประเทศชาติมีกลไกเฉพาะเจาะจงที่มีประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขต้นเหตุที่เป็น รากเหง้าของปัญหาภายในประเทศทั้งปวงให้หมดไป มีการปูองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ อย่ า งจริ ง จั ง และท าให้ เ กิด ความเชื่อ มั่น ในกระบวนการยุติธ รรม โดยพั ฒ นาปรั บปรุง กลไกและหน่ ว ยงาน ด้านความมั่นคงที่มีอยู่เดิม เช่น กองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ศูนย์ประสานการปฏิบัติ ในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล เป็นต้น หรือที่ต้องออกแบบใหม่ให้มีประสิทธิภาพ พร้อมรองรับ ปัญหาความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ได้ทุกมิติ กาหนดและเสริมสร้ างบทบาทของหน่วยงาน องค์กร หรือคณะกรรมการที่รับผิดชอบอย่างชัดเจน สามารถตรวจสอบวิธีการดาเนินงาน การบูรณาการการปฏิบัติ ให้สอดคล้อง เกื้อกูล และต่อเนื่องกัน ตลอดไปจนถึงสามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่สาเหตุได้อย่างแท้จริง ๔.๒ การป้องกัน และแก้ไ ขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่น คง เพื่อแก้ไขปัญหาเดิมที่มีอยู่อย่าง ตรงประเด็นจนหมดไปอย่างรวดเร็ว และปูองกันไม่ให้ปัญหาใหม่เกิดขึ้นอันจะส่งผลให้การบริหารจัดการและการ พัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน ดาเนินการไปได้อย่างต่อเนื่องและราบรื่นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นกุญแจสาคัญที่จะนาไปสู่การบรรลุเปูาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ๔.๒.๑ การแก้ ไ ขปั ญ หาความมั่ น คงในปั จ จุ บั น เพื่ อ ให้ ปั ญ หาเดิ ม ที่ มี อ ยู่ ไ ด้ รั บ การแก้ ไ ข อย่ างจริ งจั ง จนยุ ติล ง หรื อไม่ส่ งผลกระทบต่อประเทศชาติ รวมทั้งให้ การบริห ารและการพัฒ นาบ้านเมือง เดินหน้าไปได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภ าพ โดยผลักดันการวิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาของ ทุกภาคส่วนในทุกประเด็นอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมการหารือ วางแผน และยกระดับวิธีการแก้ไขปัญหาที่อาศัย การผนึกกาลังคนและทรัพยากรให้มีส่วนร่วมแบบบูรณาการอย่างแท้จริง เสริมสร้างความร่วมมือกันระหว่าง หน่วยงานหลักและรองในการปูองกัน แก้ไขปัญหา และช่วยเหลือประชาชน ทั้งจากภัยคุกคามและปัญหาที่ส่งผล ต่อความมั่นคงต่าง ๆ เช่น การก่อการร้าย อาชญากรรมทางไซเบอร์ การฟอกเงิน การค้ามนุษย์ การหลบหนี เข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย การลักลอบค้าสินค้าเถื่อน การค้าและการแพร่ระบาดของยาเสพติด การขยายอานาจ หรื อ แข่ ง ขั น กั น ทางเศรษฐกิ จ อย่ า งรุ น แรง รวมไปถึ ง ปั ญ หาการรุ ก เข้ า มาอย่ า งรวดเร็ ว ของทุ น ขนาดใหญ่ เทคโนโลยี ยุ คใหม่ การย้ ายถิ่น ของทุนและแรงงานข้ ามชาติ ที่จะส่ งผลกระทบต่อความมั่น คงของชาติและ ความมั่น คงของมนุ ษย์ ปั ญหาภัยพิบั ติส าคัญ ที่ทาให้ จาเป็น ต้องมีการบริห ารจัดการความมั่น คง รวมไปถึง การส่ งเสริ มผลักดันหลั กการ นโยบาย ยุทธศาสตร์ ตลอดถึงโครงการสาคัญของประเทศให้บรรลุ ผลส าเร็จ ตามเปูาหมายที่กาหนด ๔.๒.๒ การติ ด ตาม เฝ้ า ระวั ง ป้ องกั น และแก้ไ ขปั ญ หาที่ อ าจอุ บั ติ ขึ้น ใหม่ เพื่ อ ให้ ท ราบ สถานการณ์ล่ ว งหน้ า และสามารถแก้ไขปัญหาและภัยคุกคามในอนาคตได้ทันท่ว งทีก่อนที่จะลุ กลามต่อไป รวมทั้งปูองกันไม่ให้ส่งผลกระทบต่อการบริหารและพัฒนาประเทศ โดยเสริมสร้างศักยภาพและความพร้อม ในทุกด้าน ทั้งคน เครื่องมือ ยุทโธปกรณ์ แผน งบประมาณ ระบบควบคุมบังคับบัญชา ระบบงานด้านการข่าวกรอง เทคโนโลยี ข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบเฝูาตรวจและแจ้งเตือนต่าง ๆ ของหน่วยงานหลักและหน่วยงานรอง ตั้งแต่ขั้น การติดตาม เฝูาระวัง แจ้งเตือน วิเคราะห์ กาหนดแนวทางปูองกัน ไปจนถึงขั้นการลงมือแก้ไขปัญหาความมั่นคง ที่ส าคั ญ ต่า ง ๆ รวมทั้ งการติ ดตามและประเมิ น ผลอย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในทุก ขั้ นตอน เสริม สร้า งพลั งของ ประชาชนและชุมชนให้ร่วมกับกาลังตารวจ ทหาร และหน่วยงานด้านความมั่นคงอื่น ๆ ในการเฝูาระวัง ปูองกัน และแก้ไขปัญหาสาคัญต่าง ๆ อาทิ ภัยคุกคามทางไซเบอร์ การก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ การแผ่ อิทธิพลทางเศรษฐกิจของมหาอานาจ และการย้ายถิ่นของทุนข้ามชาติที่อาจกระทบต่อความมั่นคง ไปจนถึง ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานของส่วนราชการต่าง ๆ ให้ดาเนินการไปตามเปูาหมายการบริหารจัดการและ พัฒนาประเทศที่กาหนดอย่างราบรื่น ๑๓